SlideShare a Scribd company logo
: รายวิชา ประวัติศาสตร์ไทย รหัสวิชา ส.32103
โดยอรรถพล พลวัฒน์
 คาว่า “ประวัติศาสตร์” หรือ “History” เป็นศัพท์ภาษาอังกฤษ มาจาก
ภาษากรีกเดิมว่า “Historeo” คาว่า “Histor” หมายถึง พยาน ผู้
ตัดสินหรือใครก็ได้ที่รู้เห็น ส่วนคาว่า “Historeo” “แปลว่า การ
สอบสวน การค้นคว้า ไต่ถามหาความจริง
 การศึกษาประวัติศาสตร์จึงเป็นเรื่องของการแสวงหาข้อเท็จจริงเกี่ยวกับ
ชีวิตมนุษย์ที่ผ่านมาในอดีต
 ที่มีความสาคัญในช่วงระยะเวลาใดเวลาหนึ่งหรือสมัยใดสมัยหนึ่ง
 ซึ่งจะต้องอธิบายเหตุการณ์ ต่างๆที่เกิดขึ้นนั้นได้อย่าง มีเหตุผลและ
ถูกต้องตามความเป็นจริง โดยผ่านกระบวนการ ไต่สวน ค้นคว้า
พิจารณา วิเคราะห์อย่างละเอียดถี่ถ้วน และไม่มีอคติ
การนับเวลาและการเทียบศักราช
 เฮโรโดตัส (HERODOTUS)นักปราชญ์
ชาวกรีก ได้รับการยกย่องให้เป็นเป็นบิดา
แห่งวิชาประวัติศาสตร์
การนับเวลาและการเทียบศักราช
สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระ
ยาดารงราชานุภาพ ถือได้ว่าเป็นบิดา
แห่งประวัติศาสตร์ไทย
 เวลาเป็นสิ่งเชื่อมโยงอดีตกับปัจจุบัน เนื่องจากยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ของ
มนุษยชาติมีพัฒนาการมาอย่างยาวนานหลายพันปี การศึกษาความต่อเนื่อง
ระหว่างยุคสมัยในประวัติศาสตร์ช่วงต่าง ๆ จึงต้องอาศัยเวลาที่ปรากฏอยู่ใน
หลักฐานทางประวัติศาสตร์ประเภทต่าง ๆ ในการลาดับเหตุการณ์ เพื่อสามารถ
เชื่อมโยงถึงปัจจุบัน ดังนั้นเวลาจึงมีความสาคัญต่อการศึกษาประวัติศาสตร์
อย่างมาก
 การนับเวลาของประเทศไทยในปัจจุบัน นิยมใช้การนับเวลา
ด้วยกัน 2 แบบ คือ
◦การนับเวลาแบบสุริยคติ
◦การนับเวลาแบบจันทรคติ
 การนับเวลาแบบสุริยคติ สุริยคติ คือ การนับโดยถือเอาตาแหน่งดวงอาทิตย์เป็น
หลัก
◦ วันทางสุริยคติคือวันที่ 1,2,3...30 หรือ 31
◦ เดือนทางสุริยคติมี 12 เดือนใน 1 ปี คือ มกราคม กุมภาพันธ์ มีนาคม
เมษายน พฤษภาคม มิถุนายน กรกฎาคม สิงหาคม กันยายน ตุลาคม
พฤศจิกายน และธันวาคม
◦ 1 ปีมี 365 วัน เป็นปีปกติเรียกว่า ปีปกติสุรทิน ถ้าปีใดมี 366 วันคือเพิ่ม 1
วันในเดือน กุมภาพันธ์จาก 28 วัน เป็น 29 วัน ซึ่งทุก 4 ปีจะมีครั้ง เรียกว่าปี
อธิกสุทิน
 จันทรคติหมายถึง การนับโดยถือเอาดวงจันทร์เป็นหลัก วันทางจันทรคติ นับเป็นวันขึ้นกี่ค่า
และแรมกี่ค่า มีชื่อเรียกว่า “การนับดิถี” การนับแบบนี้เกิดจากคนในสมัยโบราณสังเกต
ดวงจันทร์ที่มองเห็นในแต่ละคืนว่าเปลี่ยนไปจากคืนก่อนอย่างไร
◦ วันขึ้น...ค่า เริ่มจากเห็นดวงจันทร์เป็นเสี้ยวเล็กๆจนเห็นเต็มดวงในวันขึ้น 15 ค่า
◦ วันแรม...ค่า เริ่มจากเห็นดวงจันทร์เต็มค่อยๆแหว่งหายไปจนไม่เห็นเลยในแรม 14-
15 ค่า
◦ เดือนทางจันทรคติ มี 12 เดือน เรียกเดือนอ้าย เดือนยี่ เดือน 3,4...ไปจนถึงเดือน
12 เริ่มต้นเดือนวันขึ้น 1 ค่า แต่วันสิ้นเดือนจะแตกต่างกันเป็น 2 แบบ ดังนี้
◦ เดือนคี่ คือ เดือนอ้าย, เดือน 3,5,7,9,11 สิ้นเดือนวันแรม 14 ค่า
◦ เดือนคู่ คือ เดือนยี่ เดือน 4,6,8,10,12 สิ้นเดือนวันแรม 15 ค่า
 พุทธศักราช(พ.ศ.) ในประเทศไทยเริ่ม
นับเมื่อพระพุทธเจ้าปรินิพพานแล้ว 1 ปี
พุทธศักราชเข้าสู่ดินแดนประเทศไทย
พร้อมกับพระพุทธศาสนาจากอินเดีย
 สันนิษฐานว่าคงเริ่มตั้งแต่เมื่อพระเจ้า
อโศกมหาราชแห่งแคว้นมคธส่งพระเถระ
เข้ามาเผยแผ่พระพุทธศาสนาในภูมิภาค
นี้
 จุลศักราช (จ.ศ.) จัดตั้งขึ้นโดยสังฆราชมนุโสรหัน แห่งอาณาจักรพุกาม เมื่อปี
พุทธศักราช 1181 โดยไทยรับเอาวิธีการนับเวลานี้มาใช้ในสมัยอยุธยา เพื่อการ
คานวณทาง โหราศาสตร์ ใช้บอกเวลาในจารึก ตานาน พระราชพงศาวดาร
จดหมายเหตุ ต่างๆ จนมาถึงสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
(รัชกาลที่5 ) จึงเลิกใช้
 มหาศักราช(ม.ศ.) การนับศักราชนี้จะพบในหลักฐานทางประวัติศาสตร์ในสมัย
สุโขทัย และอยุธยาตอนต้น โดยคิดขึ้นจากกษัตริย์ของอินเดีย (พระเจ้ากนิษกะ)
ซึ่งพ่อค้าอินเดียและพวกพราหมณ์นาเข้ามาเผยแพร่ในขณะติดต่อการค้ากับไทย
จะมีปรากฏในศิลาจารึกเพื่อบันทึกเรื่องราว เหตุการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้น ซึ่งถือว่าปี
มหาศักราชที่ 1 จะตรงกับปีพุทธศักราช 621
 รัตนโกสินทร์ศก (ร.ศ) การนับเวลาแบบนี้
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
(รัชกาลที่ 5) ทรงตั้งขึ้นในปีพุทธศักราช
2432 โดยกาหนดให้กาหนดให้นับปีที่
พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก
มหาราช สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์ เมื่อปี
พุทธศักราช 2325 เป็นรัตนโกสินทร์ศกที่
1 และให้เริ่มใช้ศักราชนี้ในทางราชการ
ตั้งแต่วันที่ 1 เมษายน ร.ศ.108
(พ.ศ.2432) เป็นต้นมา
 คริสต์ศักราช (ค.ศ.) ซึ่งเป็นศักราชของ
คริสต์ศาสนา เริ่มนับเมื่อพระเยซูประสูติ (25
ธันวาคม) หลังพุทธศักราช 543 ปี ซึ่งพระ
เยซู เป็นศาสดาของคริสต์ศาสนา เริ่ม
นับเป็นคริสต์ศักราช 1 (ค.ศ.1) หรือ A.D.1
ย่อมาจากคาว่า “Anno Domini” การนับ
ศักราช ก่อนที่ พระเยซูประสูติ เรียกว่า
before christ เขียนย่อ ๆ ว่า B.C.
ตัวอย่าง 1,000 ปี ก่อนคริสต์ศักราช เขียนว่
า 1,000 B.C. หมายความว่า เป็นช่วงเวลา
1,000 ปี ก่อนพระเยซูประสูติ
นครเมกกะ ประเทศซาอุดิอาระเบีย
 ฮิจญ์เราะหฺศักราช (ฮ.ศ.) เริ่มตั้งแต่ พ.ศ. 1165 เมื่อ
ปีที่ ท่านนบีมุฮัมมัด อพยพจากเมืองเมกกะ (มัก
กะหฺ) ไปยังเมืองเมดีนา (มะดีนะหฺ) โดย ฮ.ศ. 1 ตรง
กับ พ.ศ. 1165 แต่การเทียบรอบปี ของ ฮ.ศ. กับ
พ.ศ. มีความคลาดเคลื่อนไม่ตรงกัน โดยทุก ๆ 32 ปี
ครึ่ง ของ ฮ.ศ. จะเพิ่มขึ้น 1ปี เมื่อเทียบกับ พ.ศ.
ปัจจุบัน ฮ.ศ. น้อยกว่า พ.ศ. 1122 ปีและน้อยกว่า
ค.ศ. 579 ปี ฮิจญ์เราะหฺศักราช (ฮ.ศ.) นิยมใช้ใน
ประเทศที่นับถือศาสนาอิสลาม ชาวไทยมุสลิมตั้งแต่
อดีตจนถึงปัจจุบันใช้ฮิจญ์เราะหฺศักราชเพื่อประกอบ
ศาสนกิจ โดยฟังประกาศจากสานักจุฬาราชมนตรี
ตารางการเปรียบเทียบศักราช
จากศักราชอื่นเปลี่ยนมาเป็น พ.ศ. จาก พ.ศ. เปลี่ยนเป็นศักราชอื่น
ร.ศ. + 2324 = พ.ศ. พ.ศ. - 2324 = ร.ศ.
จ.ศ. + 1181 = พ.ศ. พ.ศ. - 1181 = จ.ศ.
ม.ศ. + 621 = พ.ศ. พ.ศ. - 621 = ม.ศ.
ค.ศ. + 543 = พ.ศ. พ.ศ. – 543 = ค.ศ.
ฮ.ศ. + 1122 = พ.ศ. พ.ศ. – 1122 = ฮ.ศ.

More Related Content

What's hot

ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์Princess Chulabhon's College Chonburi
 
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาThongsawan Seeha
 
การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
พัน พัน
 
อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีนอารยธรรมจีน
อารยธรรมจีน
Infinity FonFn
 
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)
พัน พัน
 
Key of sheet 8 56x
Key of sheet 8 56xKey of sheet 8 56x
Key of sheet 8 56x
Pracha Wongsrida
 
ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง พัฒนาการทางเศรษฐกิจสมัยอยุธยา
ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง พัฒนาการทางเศรษฐกิจสมัยอยุธยาใบความรู้ที่ 3 เรื่อง พัฒนาการทางเศรษฐกิจสมัยอยุธยา
ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง พัฒนาการทางเศรษฐกิจสมัยอยุธยาPrincess Chulabhon's College Chonburi
 
งานนำเสนอ อารยธรรมจีน
งานนำเสนอ อารยธรรมจีนงานนำเสนอ อารยธรรมจีน
งานนำเสนอ อารยธรรมจีนSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์1
หลักฐานทางประวัติศาสตร์1หลักฐานทางประวัติศาสตร์1
หลักฐานทางประวัติศาสตร์1montira
 
ศาสนาสากล
ศาสนาสากลศาสนาสากล
ศาสนาสากล
ThanaponSuwan
 
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
เพ็ญลักษณ์ สุวรรณาโชติ
 
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาแผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
Thongsawan Seeha
 
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีSivagon Soontong
 
Ptt อาณาจักรสูโขทัย
Ptt อาณาจักรสูโขทัยPtt อาณาจักรสูโขทัย
Ptt อาณาจักรสูโขทัย
Yim Wiphawan
 
แบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆแบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆNaphachol Aon
 
ประวัติศาสตร์จีน
ประวัติศาสตร์จีนประวัติศาสตร์จีน
ประวัติศาสตร์จีน
Kittayaporn Changpan
 

What's hot (20)

ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
 
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
 
การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
 
ใบงาน อเมริกาเหนือ
ใบงาน อเมริกาเหนือใบงาน อเมริกาเหนือ
ใบงาน อเมริกาเหนือ
 
อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีนอารยธรรมจีน
อารยธรรมจีน
 
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)
 
Key of sheet 8 56x
Key of sheet 8 56xKey of sheet 8 56x
Key of sheet 8 56x
 
ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง พัฒนาการทางเศรษฐกิจสมัยอยุธยา
ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง พัฒนาการทางเศรษฐกิจสมัยอยุธยาใบความรู้ที่ 3 เรื่อง พัฒนาการทางเศรษฐกิจสมัยอยุธยา
ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง พัฒนาการทางเศรษฐกิจสมัยอยุธยา
 
งานนำเสนอ อารยธรรมจีน
งานนำเสนอ อารยธรรมจีนงานนำเสนอ อารยธรรมจีน
งานนำเสนอ อารยธรรมจีน
 
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม1
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม1เอกสารประกอบการเรียนเล่ม1
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม1
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์1
หลักฐานทางประวัติศาสตร์1หลักฐานทางประวัติศาสตร์1
หลักฐานทางประวัติศาสตร์1
 
ศาสนาสากล
ศาสนาสากลศาสนาสากล
ศาสนาสากล
 
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
 
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาแผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
 
การเมืองการปกครองของไทย
การเมืองการปกครองของไทยการเมืองการปกครองของไทย
การเมืองการปกครองของไทย
 
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
 
Ptt อาณาจักรสูโขทัย
Ptt อาณาจักรสูโขทัยPtt อาณาจักรสูโขทัย
Ptt อาณาจักรสูโขทัย
 
แบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆแบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆ
 
ประวัติศาสตร์จีน
ประวัติศาสตร์จีนประวัติศาสตร์จีน
ประวัติศาสตร์จีน
 
แผนการจัดการเรียนรู้ หน้าที่พลเมือง ม.1
แผนการจัดการเรียนรู้  หน้าที่พลเมือง ม.1แผนการจัดการเรียนรู้  หน้าที่พลเมือง ม.1
แผนการจัดการเรียนรู้ หน้าที่พลเมือง ม.1
 

Viewers also liked

เรื่องที่ 1 การนับเวลาและการเทียบศักราช
เรื่องที่ 1 การนับเวลาและการเทียบศักราชเรื่องที่ 1 การนับเวลาและการเทียบศักราช
เรื่องที่ 1 การนับเวลาและการเทียบศักราชnumattapon
 
การนับเวลาทางประวัติศาสตร์.1
การนับเวลาทางประวัติศาสตร์.1การนับเวลาทางประวัติศาสตร์.1
การนับเวลาทางประวัติศาสตร์.1วรรณา ไชยศรี
 
ประวัติศาสตร์ ม.2
ประวัติศาสตร์ ม.2ประวัติศาสตร์ ม.2
ประวัติศาสตร์ ม.2Krusangworn
 
010+hisp3+dltv54+540601+a+ใบความรู้ การนับเวลาแบบสุริยคติ (1หน้า)
010+hisp3+dltv54+540601+a+ใบความรู้ การนับเวลาแบบสุริยคติ (1หน้า)010+hisp3+dltv54+540601+a+ใบความรู้ การนับเวลาแบบสุริยคติ (1หน้า)
010+hisp3+dltv54+540601+a+ใบความรู้ การนับเวลาแบบสุริยคติ (1หน้า)
Prachoom Rangkasikorn
 
เรื่องที่ 2 ยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
เรื่องที่ 2 ยุคสมัยทางประวัติศาสตร์เรื่องที่ 2 ยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
เรื่องที่ 2 ยุคสมัยทางประวัติศาสตร์numattapon
 
03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย
03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย
03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทยJulPcc CR
 
อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง ม.6.1
อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง ม.6.1อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง ม.6.1
อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง ม.6.1
Omm Suwannavisut
 
ประวัติศาสตร์สากล
ประวัติศาสตร์สากลประวัติศาสตร์สากล
ประวัติศาสตร์สากลSompak3111
 
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...Kobwit Piriyawat
 
ประวัติศาสตร์ ม.2
ประวัติศาสตร์ ม.2ประวัติศาสตร์ ม.2
ประวัติศาสตร์ ม.2Arom Chumchoengkarn
 
ประวัติศาสตร์กรุงรัตนโกสินทร์ ม.3
ประวัติศาสตร์กรุงรัตนโกสินทร์ ม.3ประวัติศาสตร์กรุงรัตนโกสินทร์ ม.3
ประวัติศาสตร์กรุงรัตนโกสินทร์ ม.3
Oae Butrawong Skr
 
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
Sherry Srwchrp
 
สรุป การแบ่งยุคทางประวัติศาสตร์สากล
สรุป การแบ่งยุคทางประวัติศาสตร์สากลสรุป การแบ่งยุคทางประวัติศาสตร์สากล
สรุป การแบ่งยุคทางประวัติศาสตร์สากลKittayaporn Changpan
 
ข้อสอบม.2
ข้อสอบม.2ข้อสอบม.2
ข้อสอบม.2kuraek1530
 
สรุปวิชาประวัติศาสตร์
สรุปวิชาประวัติศาสตร์สรุปวิชาประวัติศาสตร์
สรุปวิชาประวัติศาสตร์
บอสคุง ฉึกฉึก
 

Viewers also liked (20)

เรื่องที่ 1 การนับเวลาและการเทียบศักราช
เรื่องที่ 1 การนับเวลาและการเทียบศักราชเรื่องที่ 1 การนับเวลาและการเทียบศักราช
เรื่องที่ 1 การนับเวลาและการเทียบศักราช
 
การนับเวลาทางประวัติศาสตร์.1
การนับเวลาทางประวัติศาสตร์.1การนับเวลาทางประวัติศาสตร์.1
การนับเวลาทางประวัติศาสตร์.1
 
ประวัติศาสตร์ ม.2
ประวัติศาสตร์ ม.2ประวัติศาสตร์ ม.2
ประวัติศาสตร์ ม.2
 
010+hisp3+dltv54+540601+a+ใบความรู้ การนับเวลาแบบสุริยคติ (1หน้า)
010+hisp3+dltv54+540601+a+ใบความรู้ การนับเวลาแบบสุริยคติ (1หน้า)010+hisp3+dltv54+540601+a+ใบความรู้ การนับเวลาแบบสุริยคติ (1หน้า)
010+hisp3+dltv54+540601+a+ใบความรู้ การนับเวลาแบบสุริยคติ (1หน้า)
 
เรื่องที่ 2 ยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
เรื่องที่ 2 ยุคสมัยทางประวัติศาสตร์เรื่องที่ 2 ยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
เรื่องที่ 2 ยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
 
03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย
03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย
03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย
 
อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง ม.6.1
อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง ม.6.1อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง ม.6.1
อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง ม.6.1
 
ประวัติศาสตร์สากล
ประวัติศาสตร์สากลประวัติศาสตร์สากล
ประวัติศาสตร์สากล
 
เฉลยใบงาน 6.1
เฉลยใบงาน 6.1เฉลยใบงาน 6.1
เฉลยใบงาน 6.1
 
แบบทดสอบทวีปยุโรป
แบบทดสอบทวีปยุโรปแบบทดสอบทวีปยุโรป
แบบทดสอบทวีปยุโรป
 
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...
 
หน่วย 3
หน่วย 3 หน่วย 3
หน่วย 3
 
หน่วย 2
หน่วย 2หน่วย 2
หน่วย 2
 
ประวัติศาสตร์ ม.2
ประวัติศาสตร์ ม.2ประวัติศาสตร์ ม.2
ประวัติศาสตร์ ม.2
 
ประวัติศาสตร์กรุงรัตนโกสินทร์ ม.3
ประวัติศาสตร์กรุงรัตนโกสินทร์ ม.3ประวัติศาสตร์กรุงรัตนโกสินทร์ ม.3
ประวัติศาสตร์กรุงรัตนโกสินทร์ ม.3
 
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
 
สรุป การแบ่งยุคทางประวัติศาสตร์สากล
สรุป การแบ่งยุคทางประวัติศาสตร์สากลสรุป การแบ่งยุคทางประวัติศาสตร์สากล
สรุป การแบ่งยุคทางประวัติศาสตร์สากล
 
ข้อสอบม.2
ข้อสอบม.2ข้อสอบม.2
ข้อสอบม.2
 
หน่วย 1
หน่วย 1หน่วย 1
หน่วย 1
 
สรุปวิชาประวัติศาสตร์
สรุปวิชาประวัติศาสตร์สรุปวิชาประวัติศาสตร์
สรุปวิชาประวัติศาสตร์
 

Similar to เรื่องที่ 1 การนับเวลาและการเทียบศักราช

ธนบุรี 2
ธนบุรี 2ธนบุรี 2
ธนบุรี 2sangworn
 
การนับเวลาทางประวัติศาสตร์.1
การนับเวลาทางประวัติศาสตร์.1การนับเวลาทางประวัติศาสตร์.1
การนับเวลาทางประวัติศาสตร์.1วรรณา ไชยศรี
 
Unit1 e0b980e0b8a7e0b8a5e0b8b2e0b981e0b8a5e0b8b0e0b8a2e0b8b8e0b884e0b8aae0b8a...
Unit1 e0b980e0b8a7e0b8a5e0b8b2e0b981e0b8a5e0b8b0e0b8a2e0b8b8e0b884e0b8aae0b8a...Unit1 e0b980e0b8a7e0b8a5e0b8b2e0b981e0b8a5e0b8b0e0b8a2e0b8b8e0b884e0b8aae0b8a...
Unit1 e0b980e0b8a7e0b8a5e0b8b2e0b981e0b8a5e0b8b0e0b8a2e0b8b8e0b884e0b8aae0b8a...krunrita
 
9789740329756
97897403297569789740329756
9789740329756
CUPress
 
ประวัติ2
ประวัติ2ประวัติ2
ประวัติ2sangworn
 
1.2 ประวัติศาสตร์ (รวม) new
1.2 ประวัติศาสตร์ (รวม) new 1.2 ประวัติศาสตร์ (รวม) new
1.2 ประวัติศาสตร์ (รวม) new Jitjaree Lertwilaiwittaya
 
1.2 หลักฐานทางปวศ.
1.2 หลักฐานทางปวศ.1.2 หลักฐานทางปวศ.
1.2 หลักฐานทางปวศ.Jitjaree Lertwilaiwittaya
 
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.1
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.1วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.1
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.1วรรณา ไชยศรี
 
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.1.1
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.1.1วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.1.1
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.1.1วรรณา ไชยศรี
 
01ความหมายประวัติศาสตร์
01ความหมายประวัติศาสตร์01ความหมายประวัติศาสตร์
01ความหมายประวัติศาสตร์JulPcc CR
 
01ความหมายประวัติศาสตร์
01ความหมายประวัติศาสตร์01ความหมายประวัติศาสตร์
01ความหมายประวัติศาสตร์JulPcc CR
 
จารึกอักษรบนกระดองเต่า
จารึกอักษรบนกระดองเต่าจารึกอักษรบนกระดองเต่า
จารึกอักษรบนกระดองเต่าSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
ใครสร้างศิลาจารึกหลักที่ 1
ใครสร้างศิลาจารึกหลักที่ 1ใครสร้างศิลาจารึกหลักที่ 1
ใครสร้างศิลาจารึกหลักที่ 1Chinnakorn Pawannay
 
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
มุมมองของมนุษย์เกี่ยวกับดาราศาสตร์มีอิทธิพลต่อวัฒนธรรม
มุมมองของมนุษย์เกี่ยวกับดาราศาสตร์มีอิทธิพลต่อวัฒนธรรมมุมมองของมนุษย์เกี่ยวกับดาราศาสตร์มีอิทธิพลต่อวัฒนธรรม
มุมมองของมนุษย์เกี่ยวกับดาราศาสตร์มีอิทธิพลต่อวัฒนธรรม
Visanu Euarchukiati
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ 6.1
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์  6.1การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์  6.1
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ 6.1
Noo Suthina
 
Brands so(o net)
Brands so(o net)Brands so(o net)

Similar to เรื่องที่ 1 การนับเวลาและการเทียบศักราช (20)

History 1
History 1History 1
History 1
 
ธนบุรี 2
ธนบุรี 2ธนบุรี 2
ธนบุรี 2
 
การนับเวลาทางประวัติศาสตร์.1
การนับเวลาทางประวัติศาสตร์.1การนับเวลาทางประวัติศาสตร์.1
การนับเวลาทางประวัติศาสตร์.1
 
Unit1 e0b980e0b8a7e0b8a5e0b8b2e0b981e0b8a5e0b8b0e0b8a2e0b8b8e0b884e0b8aae0b8a...
Unit1 e0b980e0b8a7e0b8a5e0b8b2e0b981e0b8a5e0b8b0e0b8a2e0b8b8e0b884e0b8aae0b8a...Unit1 e0b980e0b8a7e0b8a5e0b8b2e0b981e0b8a5e0b8b0e0b8a2e0b8b8e0b884e0b8aae0b8a...
Unit1 e0b980e0b8a7e0b8a5e0b8b2e0b981e0b8a5e0b8b0e0b8a2e0b8b8e0b884e0b8aae0b8a...
 
9789740329756
97897403297569789740329756
9789740329756
 
ประวัติ2
ประวัติ2ประวัติ2
ประวัติ2
 
1.2 ประวัติศาสตร์ (รวม) new
1.2 ประวัติศาสตร์ (รวม) new 1.2 ประวัติศาสตร์ (รวม) new
1.2 ประวัติศาสตร์ (รวม) new
 
1.2 หลักฐานทางปวศ.
1.2 หลักฐานทางปวศ.1.2 หลักฐานทางปวศ.
1.2 หลักฐานทางปวศ.
 
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.1
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.1วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.1
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.1
 
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.1.1
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.1.1วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.1.1
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.1.1
 
01ความหมายประวัติศาสตร์
01ความหมายประวัติศาสตร์01ความหมายประวัติศาสตร์
01ความหมายประวัติศาสตร์
 
01ความหมายประวัติศาสตร์
01ความหมายประวัติศาสตร์01ความหมายประวัติศาสตร์
01ความหมายประวัติศาสตร์
 
จารึกอักษรบนกระดองเต่า
จารึกอักษรบนกระดองเต่าจารึกอักษรบนกระดองเต่า
จารึกอักษรบนกระดองเต่า
 
ใครสร้างศิลาจารึกหลักที่ 1
ใครสร้างศิลาจารึกหลักที่ 1ใครสร้างศิลาจารึกหลักที่ 1
ใครสร้างศิลาจารึกหลักที่ 1
 
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
 
มุมมองของมนุษย์เกี่ยวกับดาราศาสตร์มีอิทธิพลต่อวัฒนธรรม
มุมมองของมนุษย์เกี่ยวกับดาราศาสตร์มีอิทธิพลต่อวัฒนธรรมมุมมองของมนุษย์เกี่ยวกับดาราศาสตร์มีอิทธิพลต่อวัฒนธรรม
มุมมองของมนุษย์เกี่ยวกับดาราศาสตร์มีอิทธิพลต่อวัฒนธรรม
 
Ppt16 (1)
Ppt16 (1)Ppt16 (1)
Ppt16 (1)
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ 6.1
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์  6.1การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์  6.1
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ 6.1
 
Brands so(o net)
Brands so(o net)Brands so(o net)
Brands so(o net)
 
เนื้อหา
เนื้อหาเนื้อหา
เนื้อหา
 

เรื่องที่ 1 การนับเวลาและการเทียบศักราช

  • 1. : รายวิชา ประวัติศาสตร์ไทย รหัสวิชา ส.32103 โดยอรรถพล พลวัฒน์
  • 2.  คาว่า “ประวัติศาสตร์” หรือ “History” เป็นศัพท์ภาษาอังกฤษ มาจาก ภาษากรีกเดิมว่า “Historeo” คาว่า “Histor” หมายถึง พยาน ผู้ ตัดสินหรือใครก็ได้ที่รู้เห็น ส่วนคาว่า “Historeo” “แปลว่า การ สอบสวน การค้นคว้า ไต่ถามหาความจริง
  • 3.  การศึกษาประวัติศาสตร์จึงเป็นเรื่องของการแสวงหาข้อเท็จจริงเกี่ยวกับ ชีวิตมนุษย์ที่ผ่านมาในอดีต  ที่มีความสาคัญในช่วงระยะเวลาใดเวลาหนึ่งหรือสมัยใดสมัยหนึ่ง  ซึ่งจะต้องอธิบายเหตุการณ์ ต่างๆที่เกิดขึ้นนั้นได้อย่าง มีเหตุผลและ ถูกต้องตามความเป็นจริง โดยผ่านกระบวนการ ไต่สวน ค้นคว้า พิจารณา วิเคราะห์อย่างละเอียดถี่ถ้วน และไม่มีอคติ
  • 4. การนับเวลาและการเทียบศักราช  เฮโรโดตัส (HERODOTUS)นักปราชญ์ ชาวกรีก ได้รับการยกย่องให้เป็นเป็นบิดา แห่งวิชาประวัติศาสตร์ การนับเวลาและการเทียบศักราช สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระ ยาดารงราชานุภาพ ถือได้ว่าเป็นบิดา แห่งประวัติศาสตร์ไทย
  • 5.  เวลาเป็นสิ่งเชื่อมโยงอดีตกับปัจจุบัน เนื่องจากยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ของ มนุษยชาติมีพัฒนาการมาอย่างยาวนานหลายพันปี การศึกษาความต่อเนื่อง ระหว่างยุคสมัยในประวัติศาสตร์ช่วงต่าง ๆ จึงต้องอาศัยเวลาที่ปรากฏอยู่ใน หลักฐานทางประวัติศาสตร์ประเภทต่าง ๆ ในการลาดับเหตุการณ์ เพื่อสามารถ เชื่อมโยงถึงปัจจุบัน ดังนั้นเวลาจึงมีความสาคัญต่อการศึกษาประวัติศาสตร์ อย่างมาก
  • 6.  การนับเวลาของประเทศไทยในปัจจุบัน นิยมใช้การนับเวลา ด้วยกัน 2 แบบ คือ ◦การนับเวลาแบบสุริยคติ ◦การนับเวลาแบบจันทรคติ
  • 7.  การนับเวลาแบบสุริยคติ สุริยคติ คือ การนับโดยถือเอาตาแหน่งดวงอาทิตย์เป็น หลัก ◦ วันทางสุริยคติคือวันที่ 1,2,3...30 หรือ 31 ◦ เดือนทางสุริยคติมี 12 เดือนใน 1 ปี คือ มกราคม กุมภาพันธ์ มีนาคม เมษายน พฤษภาคม มิถุนายน กรกฎาคม สิงหาคม กันยายน ตุลาคม พฤศจิกายน และธันวาคม ◦ 1 ปีมี 365 วัน เป็นปีปกติเรียกว่า ปีปกติสุรทิน ถ้าปีใดมี 366 วันคือเพิ่ม 1 วันในเดือน กุมภาพันธ์จาก 28 วัน เป็น 29 วัน ซึ่งทุก 4 ปีจะมีครั้ง เรียกว่าปี อธิกสุทิน
  • 8.  จันทรคติหมายถึง การนับโดยถือเอาดวงจันทร์เป็นหลัก วันทางจันทรคติ นับเป็นวันขึ้นกี่ค่า และแรมกี่ค่า มีชื่อเรียกว่า “การนับดิถี” การนับแบบนี้เกิดจากคนในสมัยโบราณสังเกต ดวงจันทร์ที่มองเห็นในแต่ละคืนว่าเปลี่ยนไปจากคืนก่อนอย่างไร ◦ วันขึ้น...ค่า เริ่มจากเห็นดวงจันทร์เป็นเสี้ยวเล็กๆจนเห็นเต็มดวงในวันขึ้น 15 ค่า ◦ วันแรม...ค่า เริ่มจากเห็นดวงจันทร์เต็มค่อยๆแหว่งหายไปจนไม่เห็นเลยในแรม 14- 15 ค่า ◦ เดือนทางจันทรคติ มี 12 เดือน เรียกเดือนอ้าย เดือนยี่ เดือน 3,4...ไปจนถึงเดือน 12 เริ่มต้นเดือนวันขึ้น 1 ค่า แต่วันสิ้นเดือนจะแตกต่างกันเป็น 2 แบบ ดังนี้ ◦ เดือนคี่ คือ เดือนอ้าย, เดือน 3,5,7,9,11 สิ้นเดือนวันแรม 14 ค่า ◦ เดือนคู่ คือ เดือนยี่ เดือน 4,6,8,10,12 สิ้นเดือนวันแรม 15 ค่า
  • 9.
  • 10.
  • 11.  พุทธศักราช(พ.ศ.) ในประเทศไทยเริ่ม นับเมื่อพระพุทธเจ้าปรินิพพานแล้ว 1 ปี พุทธศักราชเข้าสู่ดินแดนประเทศไทย พร้อมกับพระพุทธศาสนาจากอินเดีย  สันนิษฐานว่าคงเริ่มตั้งแต่เมื่อพระเจ้า อโศกมหาราชแห่งแคว้นมคธส่งพระเถระ เข้ามาเผยแผ่พระพุทธศาสนาในภูมิภาค นี้
  • 12.  จุลศักราช (จ.ศ.) จัดตั้งขึ้นโดยสังฆราชมนุโสรหัน แห่งอาณาจักรพุกาม เมื่อปี พุทธศักราช 1181 โดยไทยรับเอาวิธีการนับเวลานี้มาใช้ในสมัยอยุธยา เพื่อการ คานวณทาง โหราศาสตร์ ใช้บอกเวลาในจารึก ตานาน พระราชพงศาวดาร จดหมายเหตุ ต่างๆ จนมาถึงสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่5 ) จึงเลิกใช้  มหาศักราช(ม.ศ.) การนับศักราชนี้จะพบในหลักฐานทางประวัติศาสตร์ในสมัย สุโขทัย และอยุธยาตอนต้น โดยคิดขึ้นจากกษัตริย์ของอินเดีย (พระเจ้ากนิษกะ) ซึ่งพ่อค้าอินเดียและพวกพราหมณ์นาเข้ามาเผยแพร่ในขณะติดต่อการค้ากับไทย จะมีปรากฏในศิลาจารึกเพื่อบันทึกเรื่องราว เหตุการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้น ซึ่งถือว่าปี มหาศักราชที่ 1 จะตรงกับปีพุทธศักราช 621
  • 13.  รัตนโกสินทร์ศก (ร.ศ) การนับเวลาแบบนี้ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 5) ทรงตั้งขึ้นในปีพุทธศักราช 2432 โดยกาหนดให้กาหนดให้นับปีที่ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก มหาราช สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์ เมื่อปี พุทธศักราช 2325 เป็นรัตนโกสินทร์ศกที่ 1 และให้เริ่มใช้ศักราชนี้ในทางราชการ ตั้งแต่วันที่ 1 เมษายน ร.ศ.108 (พ.ศ.2432) เป็นต้นมา
  • 14.  คริสต์ศักราช (ค.ศ.) ซึ่งเป็นศักราชของ คริสต์ศาสนา เริ่มนับเมื่อพระเยซูประสูติ (25 ธันวาคม) หลังพุทธศักราช 543 ปี ซึ่งพระ เยซู เป็นศาสดาของคริสต์ศาสนา เริ่ม นับเป็นคริสต์ศักราช 1 (ค.ศ.1) หรือ A.D.1 ย่อมาจากคาว่า “Anno Domini” การนับ ศักราช ก่อนที่ พระเยซูประสูติ เรียกว่า before christ เขียนย่อ ๆ ว่า B.C. ตัวอย่าง 1,000 ปี ก่อนคริสต์ศักราช เขียนว่ า 1,000 B.C. หมายความว่า เป็นช่วงเวลา 1,000 ปี ก่อนพระเยซูประสูติ
  • 15. นครเมกกะ ประเทศซาอุดิอาระเบีย  ฮิจญ์เราะหฺศักราช (ฮ.ศ.) เริ่มตั้งแต่ พ.ศ. 1165 เมื่อ ปีที่ ท่านนบีมุฮัมมัด อพยพจากเมืองเมกกะ (มัก กะหฺ) ไปยังเมืองเมดีนา (มะดีนะหฺ) โดย ฮ.ศ. 1 ตรง กับ พ.ศ. 1165 แต่การเทียบรอบปี ของ ฮ.ศ. กับ พ.ศ. มีความคลาดเคลื่อนไม่ตรงกัน โดยทุก ๆ 32 ปี ครึ่ง ของ ฮ.ศ. จะเพิ่มขึ้น 1ปี เมื่อเทียบกับ พ.ศ. ปัจจุบัน ฮ.ศ. น้อยกว่า พ.ศ. 1122 ปีและน้อยกว่า ค.ศ. 579 ปี ฮิจญ์เราะหฺศักราช (ฮ.ศ.) นิยมใช้ใน ประเทศที่นับถือศาสนาอิสลาม ชาวไทยมุสลิมตั้งแต่ อดีตจนถึงปัจจุบันใช้ฮิจญ์เราะหฺศักราชเพื่อประกอบ ศาสนกิจ โดยฟังประกาศจากสานักจุฬาราชมนตรี
  • 16. ตารางการเปรียบเทียบศักราช จากศักราชอื่นเปลี่ยนมาเป็น พ.ศ. จาก พ.ศ. เปลี่ยนเป็นศักราชอื่น ร.ศ. + 2324 = พ.ศ. พ.ศ. - 2324 = ร.ศ. จ.ศ. + 1181 = พ.ศ. พ.ศ. - 1181 = จ.ศ. ม.ศ. + 621 = พ.ศ. พ.ศ. - 621 = ม.ศ. ค.ศ. + 543 = พ.ศ. พ.ศ. – 543 = ค.ศ. ฮ.ศ. + 1122 = พ.ศ. พ.ศ. – 1122 = ฮ.ศ.