SlideShare a Scribd company logo
-พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ปราบดาภิเษกเป็นปฐมกษัตริย์
แห่งราชวงศ์จักรี เมื่อวันที่ ๖ เมษายน ๒๓๒๕
-กรุงรัตนโกสินทร์ตั้งอยู่บนฝั่งตะวันออกของแม่น้าเจ้าพระยา
-ยึดแบบอย่างมาจากกรุงศรีอยุธยา
-พระราชทานนามว่า กรุงเทพมหานคร บวรรัตนโกสินทร์ (ในสมัยรัชกาลที่ ๔
เปลี่ยนจาก “บวร” เป็น “อมร”
๑. พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช (๒๓๒๕-๒๓๕๒)
๒. พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย (๒๓๕๒-๒๓๖๗)
๓. พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว (๒๓๖๗-๒๓๙๔)
๔. พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (๒๓๙๔-๒๔๑๑)
๕. พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (๒๔๑๑-๒๔๕๓)
๖. พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว (๒๔๕๓-๒๔๖๘)
๗. พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว (๒๔๖๘-๒๔๗๗)
๘. พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล (๒๔๗๗-๒๔๘๙)
๙. พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช (๒๔๘๙-ปัจจุบัน)
-ก่อตั้งกรุงรัตนโกสินทร์
-สังคายนาพระไตรปิฎกที่วัดมหาธาตุ
-สงครามเก้าทัพ ๒๓๒๘
-ร่างกฎหมายตราสามดวง
-ยุคทองแห่งวรรณคดี (สุนทรภู่รับราชการในยุคนี้)
-จัดพระราชพิธีวิสาขบูชา
-ออกกฎหมายห้ามค้า ขาย หรือเสพฝิ่น
-ลดการเข้าเวรของไพร่จาก ๖ เดือน เป็น ๔ เดือน
-อังกฤษส่งจอห์น ครอว์เฟิร์ด มาเจรจาการค้ากับไทย
-แต่งสาเภาหลวงไปค้าขายกับจีน
-หมอบรัดเลย์ออกหนังสือพิมพ์ฉบับแรกของไทย (บางกอกรีคอร์เดอร์)
-ทาสงครามกับญวนแย่งชิงอิทธิพลในเขมร นาน ๑๔ ปี (อันนัมสยามยุทธ)
-แฝดสยาม อิน-จัน ไปแสดงตัวที่สหรัฐอเมริกา
-ปรับปรุงประเทศให้ทันสมัยตามแบบตะวันตก
-ยกเลิกประเพณีล้าสมัย เช่น ห้ามมองหน้ากษัตริย์
-ให้ขุนนางสวมเสื้อเวลาเข้าเฝ้า
-ให้ถวายฎีการ้องทุกข์ได้อย่างเสรี (กลองวินิจฉัยเภรี)
-ทาสนธิสัญญาเบาว์ริง กับอังกฤษ พ.ศ.๒๓๙๘
-ตัดถนนแบบตะวันตกแห่งแรกในกรุงเทพ (เจริญกรุง)
-ทานายสุริยุปราคาที่หว้ากอ ๑๘ สิงหาคม ๒๔๑๑
ภาพถ่ายสุริยุปราคาเต็มดวง วันที่ ๑๘ สิงหาคม ๒๔๑๑ ที่ตาบลหว้ากอ อาเภอคลองวาฬ
จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ถ่ายโดยนายฟรานซิส จิตร
-เลิกทาส พ.ศ.๒๔๔๘
-ปฏิรูปการปกครองส่วนกลางและภูมิภาค
-ปฏิรูปการศาลและกฎหมาย มาใช้แบบตะวันตก
-เสียดินแดนให้ฝรั่งเศส ๕ ครั้ง และอังกฤษ ๒ ครั้ง
-ประพาสยุโรป ๒ ครั้ง (เจริญสัมพันธไมตรีกับประเทศมหาอานาจ)
-ตั้งหอรัษฎากรพิพัฒน์ เก็บภาษีอากร
-ก่อตั้งกองเสือป่า และกองลูกเสือ ๑ กรกฎาคม ๒๔๕๔
-เปลี่ยนธงชาติจากธงช้างเผือก เป็นธงไตรรงค์
-ก่อตั้งกองบินทหารบก (กองทัพอากาศในปัจจุบัน)
-เข้าร่วมสงครามโลกครั้งที่ ๑ กับฝ่ายสัมพันธมิตร ๒๒ กรกฎาคม ๒๔๖๐
-แต่งเพลงและละครปลุกใจ
การสวนสนามฉลองชัยชนะของกองทัพสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่ ๑ ที่กรุงปารีส
ประเทศฝรั่งเศส ในภาพคือกองทัพไทยจานวน ๑,๒๓๑ นายที่รอดชีวิต (เสียชีวิต ๑๙ นาย
จาก ๑,๒๕๐ นาย)
ชัพน์ บุนนาค ลูกเสือคนแรกของไทย และของเอเชีย
-พระมหากษัตริย์องค์สุดท้ายในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์
-ปฏิวัติ ๒๔ มิถุนายน ๒๔๗๕ โดยคณะราษฎร
-พระราชทานรัฐธรรมนูญฉบับแรกของไทย
-เป็นพระมหากษัตริย์องค์เดียวในราชวงศ์จักรีที่สละราชสมบัติ และสวรรคตในต่าง
แดน
รถถังเดนลอยด์ ๓ คัน จอดหน้าพระที่นั่งอนันตสมาคม ๒๔ มิถุนายน ๒๔๗๕
ลงพระปรมาภิไธยในรัฐธรรมนูญฉบับถาวรฉบับแรกของไทย ๑๐ ธันวาคม ๒๔๗๕
-ยังไม่บรรลุนิติภาวะขณะที่ได้เป็นกษัตริย์
-ทาสงครามอินโดจีนกับฝรั่งเศส พ.ย. ๒๔๘๓ – ม.ค. ๒๔๘๔
-ญี่ปุ่นบุกไทย ๘ ธันวาคม ๒๔๘๔
-ประกาศสงครามกับอังกฤษและสหรัฐอเมริกา ๒๕ ม.ค. ๒๔๘๕
-ประกาศสันติภาพ ๑๖ ส.ค. ๒๔๘๘ และให้การประกาศสงครามเป็นโมฆะ
-รัชกาลที่ ๘ ได้เสด็จนิวัติประเทศไทย และถูกลอบปลงพระชนม์ ขณะมีพระชนมายุ
เพียง ๒๑ พรรษา
ภาพวาดขณะที่กองทัพไทยปะทะกับกองทัพญี่ปุ่น ที่สนามบินกองบินน้อยที่ ๕ อ่าวมะนาว
จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ทหารไทยเสียชีวิตที่นี่ ๔๒ คน ขณะที่ฝ่ายญี่ปุ่น ๒๑๗-๔๐๐ คน
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล และพลเรือเอกลอร์ด หลุยส์ เมาท์แบตเทน
ขณะรับการสวนสนามของฝ่ายสัมพันธมิตรในประเทศไทย
-โครงการฝนหลวง (บรรเทาความแห้งแล้ง)
-โครงการแก้มลิง (ป้องกันน้าท่วม)
-โครงการแกล้งดิน (ป้องกันดินเปรี้ยว)
-โครงการชัยพัฒนา (แก้ปัญหาน้าเสีย)
ม.๓๐๑ เลขที่ ๙ โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยรังสิต

More Related Content

What's hot

อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
O'Orh ChatmaNee
 
บทบาทของผู้ผลิต
บทบาทของผู้ผลิตบทบาทของผู้ผลิต
บทบาทของผู้ผลิต
Thanawut Rattanadon
 
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทย
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทยประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทย
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทย
Padvee Academy
 
ชุดการสอนอเมริกาใต้.
ชุดการสอนอเมริกาใต้.ชุดการสอนอเมริกาใต้.
ชุดการสอนอเมริกาใต้.suchinmam
 
Key of 2 อาณาจักรโบราณ-57
Key of 2 อาณาจักรโบราณ-57Key of 2 อาณาจักรโบราณ-57
Key of 2 อาณาจักรโบราณ-57Pracha Wongsrida
 
Key of sheet 8 56x
Key of sheet 8 56xKey of sheet 8 56x
Key of sheet 8 56x
Pracha Wongsrida
 
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นNattha Namm
 
ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์Princess Chulabhon's College Chonburi
 
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทยหน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
Paew Tongpanya
 
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้(ครูพิณทิพย์)
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้(ครูพิณทิพย์)เอเชียตะวันออกเฉียงใต้(ครูพิณทิพย์)
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้(ครูพิณทิพย์)
Kornnicha Wonglai
 
พัฒนาการยุโรปสมัยกลาง
พัฒนาการยุโรปสมัยกลางพัฒนาการยุโรปสมัยกลาง
พัฒนาการยุโรปสมัยกลาง
Pannaray Kaewmarueang
 
สรุปรัตนโกสินทร์ตอนต้น
สรุปรัตนโกสินทร์ตอนต้นสรุปรัตนโกสินทร์ตอนต้น
สรุปรัตนโกสินทร์ตอนต้นKunnai- เบ้
 
รายงานนิราศนรินทร์คำโคลง กลุ่ม 4 ม.4/2
รายงานนิราศนรินทร์คำโคลง กลุ่ม 4 ม.4/2รายงานนิราศนรินทร์คำโคลง กลุ่ม 4 ม.4/2
รายงานนิราศนรินทร์คำโคลง กลุ่ม 4 ม.4/2
Chalermsak Sornchai
 
Ptt อาณาจักรสูโขทัย
Ptt อาณาจักรสูโขทัยPtt อาณาจักรสูโขทัย
Ptt อาณาจักรสูโขทัย
Yim Wiphawan
 
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6
Thanawut Rattanadon
 
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
Sherry Srwchrp
 
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นPrincess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
เล่มที่ 9 ชาวบ้านบางระจัน
เล่มที่ 9  ชาวบ้านบางระจันเล่มที่ 9  ชาวบ้านบางระจัน
เล่มที่ 9 ชาวบ้านบางระจัน
Choengchai Rattanachai
 

What's hot (20)

อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
 
บทบาทของผู้ผลิต
บทบาทของผู้ผลิตบทบาทของผู้ผลิต
บทบาทของผู้ผลิต
 
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทย
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทยประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทย
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทย
 
ชุดการสอนอเมริกาใต้.
ชุดการสอนอเมริกาใต้.ชุดการสอนอเมริกาใต้.
ชุดการสอนอเมริกาใต้.
 
Key of 2 อาณาจักรโบราณ-57
Key of 2 อาณาจักรโบราณ-57Key of 2 อาณาจักรโบราณ-57
Key of 2 อาณาจักรโบราณ-57
 
Key of sheet 8 56x
Key of sheet 8 56xKey of sheet 8 56x
Key of sheet 8 56x
 
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
 
ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
 
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทยหน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
 
อาณาจักรอยุธยา
อาณาจักรอยุธยาอาณาจักรอยุธยา
อาณาจักรอยุธยา
 
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้(ครูพิณทิพย์)
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้(ครูพิณทิพย์)เอเชียตะวันออกเฉียงใต้(ครูพิณทิพย์)
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้(ครูพิณทิพย์)
 
พัฒนาการยุโรปสมัยกลาง
พัฒนาการยุโรปสมัยกลางพัฒนาการยุโรปสมัยกลาง
พัฒนาการยุโรปสมัยกลาง
 
สรุปรัตนโกสินทร์ตอนต้น
สรุปรัตนโกสินทร์ตอนต้นสรุปรัตนโกสินทร์ตอนต้น
สรุปรัตนโกสินทร์ตอนต้น
 
รายงานนิราศนรินทร์คำโคลง กลุ่ม 4 ม.4/2
รายงานนิราศนรินทร์คำโคลง กลุ่ม 4 ม.4/2รายงานนิราศนรินทร์คำโคลง กลุ่ม 4 ม.4/2
รายงานนิราศนรินทร์คำโคลง กลุ่ม 4 ม.4/2
 
Ptt อาณาจักรสูโขทัย
Ptt อาณาจักรสูโขทัยPtt อาณาจักรสูโขทัย
Ptt อาณาจักรสูโขทัย
 
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6
 
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
 
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
 
สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์
สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์
สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์
 
เล่มที่ 9 ชาวบ้านบางระจัน
เล่มที่ 9  ชาวบ้านบางระจันเล่มที่ 9  ชาวบ้านบางระจัน
เล่มที่ 9 ชาวบ้านบางระจัน
 

ประวัติศาสตร์กรุงรัตนโกสินทร์ ม.3

Editor's Notes

  1. ชื่อเต็มของกรุงเทพ คือ “กรุงเทพมหานคร อมรรรัตนโกสินทร์ มหินทรายุธยา มหาดิลกภพ นพรัตนราชธานีบุรีรมย์ อุดมราชนิเวศมหาสถาน อมรพิมานอวตารสถิต สักกะทัตติยวิษณุกรรมประสิทธิ์”
  2. รัชกาลที่ 7 – สละราชสมบัติ 2 มีนาคม 2477, สวรรคตที่ประเทศอังกฤษ 2484 รัชกาลที่ 8 – ถูกลอบปลงพระชนม์ในพระที่นั่งบรมพิมาน 9 มิถุนายน 2489
  3. กฎหมายตราสามดวง ประกอบไปด้วย ๑.ตราราชสีห์ – ตราประจำสมุหนายก ๒.ตราคชสีห์ – ตราประจำสมุหกลาโหม ๓.ตราบัวแก้ว - ตราประจำโกษาธิบดี
  4. รัชกาลที่ ๓ ได้นำเงินที่เป็นรายได้ส่วนพระองค์จากการค้าขาย มาใส่ในถุงแดงไว้ใช้ในยามฉุกเฉิน เรียกว่า “เงินถุงแดง” ซึ่งได้นำมาใช้ในสมัยรัชกาลที่ ๕ ขณะเกิดวิกฤตการณ์ ร.ศ.๑๑๒
  5. รัชกาลที่ ๔ เสด็จสวรรคตจากโรคมาเลเรีย ซึ่งเป็นผลมาจากการเดินทางผ่านที่กันดารขณะเสด็จไปหว้ากอนั่นเอง
  6. ในช่วงที่รัชกาลที่ ๕ สวรรคต ไม่มีรายงานการเกิดโจรผู้ร้ายขึ้นเลยในช่วง ๗ วันในทุกหัวเมือง
  7. กองทัพไทยที่ส่งไปยุโรปนั้น ประกอบด้วย ๑.กองทหารบกรถยนต์ จำนวน ๘๕๐ นาย นำโดย หลวงรามฤทธิรงค์ ๒.กองบินทหารบก จำนวน ๔๐๐ นาย นำโดย พระยาทะยานพิฆาต ทั้งหมดนำโดย พระยาเฉลิมอากาศ (สุณี สุวรรณประทีป)
  8. ขณะเกิดการปฏิวัติ ๒๔๗๕ นั้น รัชกาลที่ ๗ ประทับอยู่ที่พระราชวังไกลกังวล อ.หัวหิน จึงถูกยึดอำนาจได้โดยง่าย
  9. ญี่ปุ่นยกพลขึ้นบกในภาคใต้ของไทยในวันที่ ๘ ธันวาคม ๒๔๘๔ เพื่อใช้เป็นทางผ่านเข้าโจมตีกองทัพอังกฤษในพม่าและมลายู