SlideShare a Scribd company logo
1 of 38
คือการศึกษาประวัติความเป็นมาของสิ่งใดสิ่งหนึ่ง จากการที่ได้ บันทึกเก็บไว้ หรือประสบการณ์จากผู้มีอาวุโส  ( อังกฤษ :  History ) ประวัติศาสตร์
อารฺ .  จี .  คอลลิงวูด ( R. G. Collingwood)   อธิบายว่า ประวัติศาสตร์คือวิธีการวิจัยหรือการไต่สวน  โดยมีจุดมุ่งหมาย จะศึกษาเกี่ยวกับ  ...  พฤติการณ์ของมนุษยชาติที่เกิดขึ้นในอดีต  ( history is a kind of research or inquiry ... action  of human beings that have   been done in the past.) ประวัติศาสตร์
อี . เอช คาร์  ( E. H. Carr)   อธิบายว่าประวัติศาสตร์นั้น ก็คือ กระบวนการอันต่อเนื่องของการปฏิสัมพันธ์ระหว่าง นักประวัติศาสตร์กับข้อมูลของเขา ประวัติศาสตร์คือบทสนทนา อันไม่มีที่สิ้นสุดระหว่างปัจจุบันกับอดีต  ( What is   history?, is that it is a continuous process of interaction between the present   and the past.) ประวัติศาสตร์
ศ . ดร . ธงชัย วินิจจะกุล  นักวิชาการด้านประวัติศาสตร์ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ในสหรัฐอเมริกาอธิบายถึง คำว่าประวัติศาสตร์และเตือนผู้ศึกษา / อ่านประวัติศาสตร์ไว้ น่าสนใจ ดังนี้  " การเข้าใจอดีตนั้นคือประวัติศาสตร์  ...  เราต้องเข้าใจว่าความรู้เกี่ยวกับอดีตนั้นสร้างใหม่ได้เรื่อยๆ  เพราะทัศนะมุมมองของสมัยที่เขียนประวัติศาสตร์นั้น เปลี่ยนอยู่เสมอ  ..." ประวัติศาสตร์
เกิดจากการสมาสคำศัพท์ภาษาบาลี  " ประวัติ " ( ปวตฺติ )  ซึ่งหมายถึง เรื่องราวความเป็นไป  และคำศัพท์ภาษาสันสกฤต  " ศาสตร์ " ( ศาสฺตฺร )  ซึ่งแปลว่า ความรู้ สำหรับศัพท์   " ประวัติศาสตร์ " ประวัติศาสตร์
สำหรับศัพท์   " ประวัติศาสตร์ "  ในภาษาไทยถูกบัญญัติขึ้น   โดยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว  เพื่อเทียบเคียงกับคำว่า  " History"  และเพื่อให้มีความหมายครอบคลุมมากกว่าคำว่า   " พงศาวดาร " ( Chronicle)  ที่ใช้กันมาแต่เดิม ประวัติศาสตร์
คือกระบวนการศึกษาประวัติศาสตร์ เพื่อให้ได้ความรู้และ คำตอบที่เชื่อว่าสะท้อนข้อเท็จจริงเกี่ยวกับอดีตได้ถูกต้องมากที่สุด  ซึ่งไม่มีใครสามารถตอบได้ว่าข้อเท็จจริงที่ถูกต้องคืออะไร    ดังนั้น จึงต้องมีกระบวนการศึกษา และการใช้เหตุผลใน การตรวจสอบความถูกต้องของหลักฐาน   และนำไปใช้อย่างถูกต้อง  ทำให้การศึกษาประวัติศาสตร์เป็นศาสตร์ที่สะท้อนข้อเท็จจริง ที่แตกต่างจากนิทาน นิยาย หรือเรื่องบอกเล่าที่เลื่อนลอย ประวัติศาสตร์
การศึกษาประวัติศาสตร์เริ่มจากการตั้งคำถามพื้นฐานหลัก คือ What  :  เกิดเหตุการณ์อะไรขึ้นในอดีต When  :  เหตุการณ์นั้นเกิดขึ้นเมื่อไหร่ Where :  เหตุการณ์นั้นเกิดขึ้นที่ไหน Why  :  ทำไมจึงเกิดเหตุการณ์นั้นขึ้น Who  :   มีใครบ้างที่เกี่ยวข้อง  ? How   :  เหตุการณ์นั้นเกิดขึ้นได้อย่างไรด้ 6W1H
ประโยชน์ของการศึกษาประวัติศาสตร์ 1  จะช่วยให้มนุษย์เกิดสำนึกในการค้นคว้า    และสืบค้นข้อมูลที่ เชื่อมโยงอดีตและปัจจุบัน อันสร้างความภูมิใจและกระตุ้น ความรู้สึกนิยมในชาติหรือเผ่าพันธุ์    2  ตระหนักถึงคุณค่าของมรดกทางวัฒนธรรมที่บรรพบุรุษ สั่งสมไว้
3  ช่วยให้เกิดการเรียนรู้จากอดีต    เพื่อเป็นบทเรียนสำหรับ ปัจจุบัน องค์ความรู้ที่ได้จากการศึกษาทำให้เข้าใจถึงปัญหา     สาเหตุของปัญหา และผลกระทบจากปัญหา 4   ก่อให้เกิดองค์ความรู้ที่หลากหลาย ซึ่งสามารถนำความรู้ เหล่านั้นไปกำหนดยุทธศาสตร์ในการดำเนินนโยบาย    ให้เป็นประโยชน์ต่อทั้งปัจจุบันและอนาคต , ประโยชน์ของการศึกษาประวัติศาสตร์
5.  การศึกษาประวัติศาสตร์ทำให้ผู้ศึกษาสั่งสมประสบการณ์ และทักษะในการวิเคราะห์ ไต่สวน และแก้ปัญหา ซึ่งสามารถ นำไปประยุกต์ใช้กับการศึกษาศาสตร์แขนงอื่นๆ คุณสมบัตินี้ นับเป็นองค์ประกอบสำคัญของการพัฒนาคุณภาพประชากร ในสังคมที่เจริญก้าวหน้าและมีพัฒนาการสูง   ประโยชน์ของการศึกษาประวัติศาสตร์
แบบฝึกหัด  ใบงานที่  2.1 เรื่อง  บันทึกประวัติศาสตร์ ให้นักเรียนสืบค้นเหตุการณ์ในประวัติศาสตร์ด้วย  6  W1H
1.  พุทธศักราช เริ่มนับตั้งแต่พระพุทธเจ้าเสด็จดับขันปรินิพพาน คือ  ปีมะเส็ง เป็นศักราช  0 2 .  คริสต์ศักราช   เริ่มนับตั้งแต่พระเยซู คริสต์ประสูติ ศักราชและการเทียบศักราช
เมกกะ เยรูซาเล็ม เมดินะ
เริ่มที่ท่านนบีมูฮัมหมัด กระทำฮิจเราะห์  ตรงกับ ค . ศ .  622 หรือ พ . ศ . 1165   เป็นศักราชที่พระเจ้ากนิษกะได้ตั้งขึ้นเมื่อ พ . ศ .  622 4 .   มหาศักราช   3.  ฮิจเราะห์ศักราช
เมกกะ เมดินะ
จัดตั้งขึ้นโดยสังฆราชมนุโสรหัน พ . ศ . 1181  เริ่มตั้งแต่พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก ทรงสถาปนากรุงเทพมหานคร เมื่อ พ . ศ . 2325  5.  รัตนโกสินทร์ศก 6.  จุลศักราช
ในระบบการเรียกศกตามเลขท้ายปีจุลศักราช นิยมเรียก ด้วยศัพท์บาลี ดังนี้ ปีจุลศักราชที่ลงท้ายเลข  1  เรียก  " เอกศก " ปีจุลศักราชที่ลงท้ายเลข  2  เรียก  " โทศก " ปีจุลศักราชที่ลงท้ายเลข  3  เรียก  " ตรีศก " ปีจุลศักราชที่ลงท้ายเลข  4  เรียก  " จัตวาศก " ปีจุลศักราชที่ลงท้ายเลข  5  เรียก  " เบญจศก "
ปีจุลศักราชที่ลงท้ายเลข  0  เรียก  " สัมฤทธิศก " ปีจุลศักราชที่ลงท้ายเลข  6  เรียก  " ฉศก " ปีจุลศักราชที่ลงท้ายเลข  7  เรียก  " สัปตศก " ปีจุลศักราชที่ลงท้ายเลข  8  เรียก  " อัฐศก " ปีจุลศักราชที่ลงท้ายเลข  9  เรียก  " นพศก "
และนิยมระบุนักษัตร นักษัตรเป็นชื่อบอกรอบเวลา  12  ปี  แต่ละปีมีสัญลักษณ์เป็นรูปสัตว์  คือ  1  ชวด หนู
2  ฉลู  วัว 3  ขาล เสือ
5  มะโรง 4.  เถาะ กระต่าย งูใหญ่
6  มะเส็ง 7  มะเมีย ม้า งูเล็ก
8  มะแม แพะ 9  วอก ลิง
ไก่ 10  ระกา สุนัข 11  จอ
12  กุน หมู
การเปรียบเทียบศักราช ม . ศ . + 621  =  พ . ศ .  พ . ศ . - 621  =  ม . ศ จ . ศ . +  11 81 =  พ . ศ .  พ . ศ . - 1181 =  จ . ศ ร . ศ . + 2324 =  พ . ศ .  พ . ศ . - 2324 =  ร . ศ ค . ศ . + 543  =  พ . ศ .  พ . ศ . - 543  =  ค . ศ ฮ . ศ . + 621  =  ค . ศ .  ค . ศ . - 621  =  ฮ . ศ . ฮ . ศ . + 1164  =  พ . ศ  พ . ศ .- 1164 =  ฮ . ศ
การแบ่งช่วงเวลาทางประวัติศาสตร์ไทย 1.  สมัยก่อนประวัติศาสตร์ 1.1  แบ่งตามเครื่องมือเครื่องใช้ -  ยุคหิน -  ยุคโลหะ
2.1   สมัยก่อนประวัติศาสตร์ในประเทศไทย  หินเก่า 3.  อาชีพ 2. ลักษณะเครื่องมือเครื่องใช้ 1. ระยะเวลา เหล็ก สำริด หินใหม่ หินกลาง ยุคสมัย
2.1   สมัยก่อนประวัติศาสตร์ในประเทศไทย  ( ต่อ )  สำริด 5.  แหล่งพบในประเทศไทย 4. ที่อยู่อาศัย เหล็ก หินใหม่ หินกลาง หินเก่า ยุคสมัย
2 .  แบ่งตามราชธานีหรือราชธานี  5 .  แบ่งตามลักษณะการปกครอง 1 .  แบ่งตามอาณาจักร 2.  สมัยประวัติศาสตร์ 3 .  แบ่งตามราชวงศ์ 4 .  แบ่งตามรัชกาล 6 .  แบ่งตามการบริหารประเทศ
แบบฝึกหัด  ให้สืบค้นยุคสมัยประวัติศาสตร์ของไทยมาแล้ว จัดทำผังมโนทัศน์  แบบ   Branching diagrams  ตกแต่งให้สวยงาม  และนำเสนอหน้าชั้น ใบงานที่  2.2
ตัวอย่าง  แบบ   Branching diagrams
 
 
 
 
สวัสดีจ้า

More Related Content

What's hot

ธนบุรี 2
ธนบุรี 2ธนบุรี 2
ธนบุรี 2sangworn
 
เรื่องที่ 2 ยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
เรื่องที่ 2 ยุคสมัยทางประวัติศาสตร์เรื่องที่ 2 ยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
เรื่องที่ 2 ยุคสมัยทางประวัติศาสตร์numattapon
 
ประวัติศาสตร์ ม.2
ประวัติศาสตร์ ม.2ประวัติศาสตร์ ม.2
ประวัติศาสตร์ ม.2Krusangworn
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์Pannaray Kaewmarueang
 
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.1.1
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.1.1วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.1.1
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.1.1วรรณา ไชยศรี
 
ประวัติศาสตร์ ม.1
ประวัติศาสตร์ ม.1ประวัติศาสตร์ ม.1
ประวัติศาสตร์ ม.1school
 
ข้อสอบม.2
ข้อสอบม.2ข้อสอบม.2
ข้อสอบม.2kuraek1530
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์ponderingg
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์Gob_duangkamon
 
ประวัติศาสตร์ ม.2
ประวัติศาสตร์ ม.2ประวัติศาสตร์ ม.2
ประวัติศาสตร์ ม.2Arom Chumchoengkarn
 
1.2 หลักฐานทางปวศ.
1.2 หลักฐานทางปวศ.1.2 หลักฐานทางปวศ.
1.2 หลักฐานทางปวศ.Jitjaree Lertwilaiwittaya
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์Sununtha Sukarayothin
 
ประวัติศาสตร์ไทย (อาณาจักรสุโขทัย)
ประวัติศาสตร์ไทย (อาณาจักรสุโขทัย)ประวัติศาสตร์ไทย (อาณาจักรสุโขทัย)
ประวัติศาสตร์ไทย (อาณาจักรสุโขทัย)พัน พัน
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่4,10
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่4,10การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่4,10
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่4,10mintmint2540
 
03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย
03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย
03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทยJulPcc CR
 
จารึกอักษรบนกระดองเต่า
จารึกอักษรบนกระดองเต่าจารึกอักษรบนกระดองเต่า
จารึกอักษรบนกระดองเต่าSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์sw110
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ 1
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ 1การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ 1
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ 1จารุ โสภาคะยัง
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7(4,10)
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7(4,10)การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7(4,10)
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7(4,10)mintmint2540
 

What's hot (20)

ธนบุรี 2
ธนบุรี 2ธนบุรี 2
ธนบุรี 2
 
เรื่องที่ 2 ยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
เรื่องที่ 2 ยุคสมัยทางประวัติศาสตร์เรื่องที่ 2 ยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
เรื่องที่ 2 ยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
 
ประวัติศาสตร์ ม.2
ประวัติศาสตร์ ม.2ประวัติศาสตร์ ม.2
ประวัติศาสตร์ ม.2
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
 
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.1.1
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.1.1วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.1.1
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.1.1
 
ประวัติศาสตร์ ม.1
ประวัติศาสตร์ ม.1ประวัติศาสตร์ ม.1
ประวัติศาสตร์ ม.1
 
ข้อสอบม.2
ข้อสอบม.2ข้อสอบม.2
ข้อสอบม.2
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
 
ประวัติศาสตร์ ม.2
ประวัติศาสตร์ ม.2ประวัติศาสตร์ ม.2
ประวัติศาสตร์ ม.2
 
Ppt16 (1)
Ppt16 (1)Ppt16 (1)
Ppt16 (1)
 
1.2 หลักฐานทางปวศ.
1.2 หลักฐานทางปวศ.1.2 หลักฐานทางปวศ.
1.2 หลักฐานทางปวศ.
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
 
ประวัติศาสตร์ไทย (อาณาจักรสุโขทัย)
ประวัติศาสตร์ไทย (อาณาจักรสุโขทัย)ประวัติศาสตร์ไทย (อาณาจักรสุโขทัย)
ประวัติศาสตร์ไทย (อาณาจักรสุโขทัย)
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่4,10
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่4,10การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่4,10
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่4,10
 
03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย
03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย
03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย
 
จารึกอักษรบนกระดองเต่า
จารึกอักษรบนกระดองเต่าจารึกอักษรบนกระดองเต่า
จารึกอักษรบนกระดองเต่า
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ 1
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ 1การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ 1
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ 1
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7(4,10)
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7(4,10)การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7(4,10)
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7(4,10)
 

Similar to การนับเวลาทางประวัติศาสตร์.1

Unit1 e0b980e0b8a7e0b8a5e0b8b2e0b981e0b8a5e0b8b0e0b8a2e0b8b8e0b884e0b8aae0b8a...
Unit1 e0b980e0b8a7e0b8a5e0b8b2e0b981e0b8a5e0b8b0e0b8a2e0b8b8e0b884e0b8aae0b8a...Unit1 e0b980e0b8a7e0b8a5e0b8b2e0b981e0b8a5e0b8b0e0b8a2e0b8b8e0b884e0b8aae0b8a...
Unit1 e0b980e0b8a7e0b8a5e0b8b2e0b981e0b8a5e0b8b0e0b8a2e0b8b8e0b884e0b8aae0b8a...krunrita
 
บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์ และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์  และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์  และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์ และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์krunumc
 
ขั้นตอนของวิธีการทางประวัติศาสตร์
ขั้นตอนของวิธีการทางประวัติศาสตร์ขั้นตอนของวิธีการทางประวัติศาสตร์
ขั้นตอนของวิธีการทางประวัติศาสตร์Kruorawan Kongpila
 
01+hisp5+dltv54+ แผนการจัดการเรียนรู้เรื่อง ประวัติศาสตร์น่ารู้
01+hisp5+dltv54+ แผนการจัดการเรียนรู้เรื่อง ประวัติศาสตร์น่ารู้01+hisp5+dltv54+ แผนการจัดการเรียนรู้เรื่อง ประวัติศาสตร์น่ารู้
01+hisp5+dltv54+ แผนการจัดการเรียนรู้เรื่อง ประวัติศาสตร์น่ารู้Prachoom Rangkasikorn
 
แผนการสอนประวัติศาสตร์ป.4-6+562+T1 p4 6-u01-his
แผนการสอนประวัติศาสตร์ป.4-6+562+T1 p4 6-u01-hisแผนการสอนประวัติศาสตร์ป.4-6+562+T1 p4 6-u01-his
แผนการสอนประวัติศาสตร์ป.4-6+562+T1 p4 6-u01-hisPrachoom Rangkasikorn
 
01+hisp6+dltv54+แผนการจัดการเรียนรู้เรื่อง ประวัติศาสตร์น่ารู้
01+hisp6+dltv54+แผนการจัดการเรียนรู้เรื่อง ประวัติศาสตร์น่ารู้01+hisp6+dltv54+แผนการจัดการเรียนรู้เรื่อง ประวัติศาสตร์น่ารู้
01+hisp6+dltv54+แผนการจัดการเรียนรู้เรื่อง ประวัติศาสตร์น่ารู้Prachoom Rangkasikorn
 
แผนการจัดการเรียนรู้เรื่องประวัติศาสตร์+579+dltvhisp5+T1 p4 6-u01-his
แผนการจัดการเรียนรู้เรื่องประวัติศาสตร์+579+dltvhisp5+T1 p4 6-u01-hisแผนการจัดการเรียนรู้เรื่องประวัติศาสตร์+579+dltvhisp5+T1 p4 6-u01-his
แผนการจัดการเรียนรู้เรื่องประวัติศาสตร์+579+dltvhisp5+T1 p4 6-u01-hisPrachoom Rangkasikorn
 
01+hisp4+dltv54+แผนการจัดการเรียนรู้เรื่อง ประวัติศาสตร์น่ารู้
01+hisp4+dltv54+แผนการจัดการเรียนรู้เรื่อง ประวัติศาสตร์น่ารู้01+hisp4+dltv54+แผนการจัดการเรียนรู้เรื่อง ประวัติศาสตร์น่ารู้
01+hisp4+dltv54+แผนการจัดการเรียนรู้เรื่อง ประวัติศาสตร์น่ารู้Prachoom Rangkasikorn
 
แผนการจัดการเรียนรู้สังคม ป.5+579+T1 p4 6-u01-his
แผนการจัดการเรียนรู้สังคม ป.5+579+T1 p4 6-u01-hisแผนการจัดการเรียนรู้สังคม ป.5+579+T1 p4 6-u01-his
แผนการจัดการเรียนรู้สังคม ป.5+579+T1 p4 6-u01-hisPrachoom Rangkasikorn
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์.pptx
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์.pptxการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์.pptx
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์.pptxNualmorakot Taweethong
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์Gob_duangkamon
 
วิธีการทางประวัติศาสตร์
วิธีการทางประวัติศาสตร์วิธีการทางประวัติศาสตร์
วิธีการทางประวัติศาสตร์jeeraporn
 
1.1 การแบ่งยุคสมัยปวศ.
1.1 การแบ่งยุคสมัยปวศ.1.1 การแบ่งยุคสมัยปวศ.
1.1 การแบ่งยุคสมัยปวศ.Jitjaree Lertwilaiwittaya
 
กลุ่มพอนะ พอนะ --เชื้อโรค ปืน เหล็กกล้า
กลุ่มพอนะ พอนะ  --เชื้อโรค ปืน เหล็กกล้ากลุ่มพอนะ พอนะ  --เชื้อโรค ปืน เหล็กกล้า
กลุ่มพอนะ พอนะ --เชื้อโรค ปืน เหล็กกล้าfreelance
 
01ความหมายประวัติศาสตร์
01ความหมายประวัติศาสตร์01ความหมายประวัติศาสตร์
01ความหมายประวัติศาสตร์JulPcc CR
 
01ความหมายประวัติศาสตร์
01ความหมายประวัติศาสตร์01ความหมายประวัติศาสตร์
01ความหมายประวัติศาสตร์JulPcc CR
 
นักโบราณคดีและนักวิจัยทั่วโลกต่างทำงานหนักเพื่อขุดค้นหลักฐานใหม่ๆ ที่ทำให้เรา...
นักโบราณคดีและนักวิจัยทั่วโลกต่างทำงานหนักเพื่อขุดค้นหลักฐานใหม่ๆ ที่ทำให้เรา...นักโบราณคดีและนักวิจัยทั่วโลกต่างทำงานหนักเพื่อขุดค้นหลักฐานใหม่ๆ ที่ทำให้เรา...
นักโบราณคดีและนักวิจัยทั่วโลกต่างทำงานหนักเพื่อขุดค้นหลักฐานใหม่ๆ ที่ทำให้เรา...Fah Philip
 
9789740329756
97897403297569789740329756
9789740329756CUPress
 

Similar to การนับเวลาทางประวัติศาสตร์.1 (20)

Unit1 e0b980e0b8a7e0b8a5e0b8b2e0b981e0b8a5e0b8b0e0b8a2e0b8b8e0b884e0b8aae0b8a...
Unit1 e0b980e0b8a7e0b8a5e0b8b2e0b981e0b8a5e0b8b0e0b8a2e0b8b8e0b884e0b8aae0b8a...Unit1 e0b980e0b8a7e0b8a5e0b8b2e0b981e0b8a5e0b8b0e0b8a2e0b8b8e0b884e0b8aae0b8a...
Unit1 e0b980e0b8a7e0b8a5e0b8b2e0b981e0b8a5e0b8b0e0b8a2e0b8b8e0b884e0b8aae0b8a...
 
บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์ และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์  และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์  และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์ และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
 
ขั้นตอนของวิธีการทางประวัติศาสตร์
ขั้นตอนของวิธีการทางประวัติศาสตร์ขั้นตอนของวิธีการทางประวัติศาสตร์
ขั้นตอนของวิธีการทางประวัติศาสตร์
 
ภูมิปัญญาบางกอก
ภูมิปัญญาบางกอกภูมิปัญญาบางกอก
ภูมิปัญญาบางกอก
 
ภูมิปัญญาบางกอก
ภูมิปัญญาบางกอกภูมิปัญญาบางกอก
ภูมิปัญญาบางกอก
 
01+hisp5+dltv54+ แผนการจัดการเรียนรู้เรื่อง ประวัติศาสตร์น่ารู้
01+hisp5+dltv54+ แผนการจัดการเรียนรู้เรื่อง ประวัติศาสตร์น่ารู้01+hisp5+dltv54+ แผนการจัดการเรียนรู้เรื่อง ประวัติศาสตร์น่ารู้
01+hisp5+dltv54+ แผนการจัดการเรียนรู้เรื่อง ประวัติศาสตร์น่ารู้
 
แผนการสอนประวัติศาสตร์ป.4-6+562+T1 p4 6-u01-his
แผนการสอนประวัติศาสตร์ป.4-6+562+T1 p4 6-u01-hisแผนการสอนประวัติศาสตร์ป.4-6+562+T1 p4 6-u01-his
แผนการสอนประวัติศาสตร์ป.4-6+562+T1 p4 6-u01-his
 
01+hisp6+dltv54+แผนการจัดการเรียนรู้เรื่อง ประวัติศาสตร์น่ารู้
01+hisp6+dltv54+แผนการจัดการเรียนรู้เรื่อง ประวัติศาสตร์น่ารู้01+hisp6+dltv54+แผนการจัดการเรียนรู้เรื่อง ประวัติศาสตร์น่ารู้
01+hisp6+dltv54+แผนการจัดการเรียนรู้เรื่อง ประวัติศาสตร์น่ารู้
 
แผนการจัดการเรียนรู้เรื่องประวัติศาสตร์+579+dltvhisp5+T1 p4 6-u01-his
แผนการจัดการเรียนรู้เรื่องประวัติศาสตร์+579+dltvhisp5+T1 p4 6-u01-hisแผนการจัดการเรียนรู้เรื่องประวัติศาสตร์+579+dltvhisp5+T1 p4 6-u01-his
แผนการจัดการเรียนรู้เรื่องประวัติศาสตร์+579+dltvhisp5+T1 p4 6-u01-his
 
01+hisp4+dltv54+แผนการจัดการเรียนรู้เรื่อง ประวัติศาสตร์น่ารู้
01+hisp4+dltv54+แผนการจัดการเรียนรู้เรื่อง ประวัติศาสตร์น่ารู้01+hisp4+dltv54+แผนการจัดการเรียนรู้เรื่อง ประวัติศาสตร์น่ารู้
01+hisp4+dltv54+แผนการจัดการเรียนรู้เรื่อง ประวัติศาสตร์น่ารู้
 
แผนการจัดการเรียนรู้สังคม ป.5+579+T1 p4 6-u01-his
แผนการจัดการเรียนรู้สังคม ป.5+579+T1 p4 6-u01-hisแผนการจัดการเรียนรู้สังคม ป.5+579+T1 p4 6-u01-his
แผนการจัดการเรียนรู้สังคม ป.5+579+T1 p4 6-u01-his
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์.pptx
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์.pptxการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์.pptx
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์.pptx
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
 
วิธีการทางประวัติศาสตร์
วิธีการทางประวัติศาสตร์วิธีการทางประวัติศาสตร์
วิธีการทางประวัติศาสตร์
 
1.1 การแบ่งยุคสมัยปวศ.
1.1 การแบ่งยุคสมัยปวศ.1.1 การแบ่งยุคสมัยปวศ.
1.1 การแบ่งยุคสมัยปวศ.
 
กลุ่มพอนะ พอนะ --เชื้อโรค ปืน เหล็กกล้า
กลุ่มพอนะ พอนะ  --เชื้อโรค ปืน เหล็กกล้ากลุ่มพอนะ พอนะ  --เชื้อโรค ปืน เหล็กกล้า
กลุ่มพอนะ พอนะ --เชื้อโรค ปืน เหล็กกล้า
 
01ความหมายประวัติศาสตร์
01ความหมายประวัติศาสตร์01ความหมายประวัติศาสตร์
01ความหมายประวัติศาสตร์
 
01ความหมายประวัติศาสตร์
01ความหมายประวัติศาสตร์01ความหมายประวัติศาสตร์
01ความหมายประวัติศาสตร์
 
นักโบราณคดีและนักวิจัยทั่วโลกต่างทำงานหนักเพื่อขุดค้นหลักฐานใหม่ๆ ที่ทำให้เรา...
นักโบราณคดีและนักวิจัยทั่วโลกต่างทำงานหนักเพื่อขุดค้นหลักฐานใหม่ๆ ที่ทำให้เรา...นักโบราณคดีและนักวิจัยทั่วโลกต่างทำงานหนักเพื่อขุดค้นหลักฐานใหม่ๆ ที่ทำให้เรา...
นักโบราณคดีและนักวิจัยทั่วโลกต่างทำงานหนักเพื่อขุดค้นหลักฐานใหม่ๆ ที่ทำให้เรา...
 
9789740329756
97897403297569789740329756
9789740329756
 

More from วรรณา ไชยศรี (15)

Supavadee chumnak
Supavadee  chumnakSupavadee  chumnak
Supavadee chumnak
 
Prapipun
PrapipunPrapipun
Prapipun
 
Vanida
VanidaVanida
Vanida
 
Aerial photogeaph
Aerial  photogeaphAerial  photogeaph
Aerial photogeaph
 
El nino
El ninoEl nino
El nino
 
Melting of glaciers
Melting of glaciersMelting of glaciers
Melting of glaciers
 
Remote sensing
Remote sensingRemote sensing
Remote sensing
 
Gis
GisGis
Gis
 
Map
MapMap
Map
 
ความรู้เบื้องต้นเศรษฐศาสตร์
ความรู้เบื้องต้นเศรษฐศาสตร์ความรู้เบื้องต้นเศรษฐศาสตร์
ความรู้เบื้องต้นเศรษฐศาสตร์
 
Getting started
Getting startedGetting started
Getting started
 
ยุคหิน
ยุคหินยุคหิน
ยุคหิน
 
การเสด็จประพาศต้น
การเสด็จประพาศต้นการเสด็จประพาศต้น
การเสด็จประพาศต้น
 
Earth2
Earth2Earth2
Earth2
 
การอนุรักษ์ทรพยากรธรรมชาติ
การอนุรักษ์ทรพยากรธรรมชาติการอนุรักษ์ทรพยากรธรรมชาติ
การอนุรักษ์ทรพยากรธรรมชาติ
 

การนับเวลาทางประวัติศาสตร์.1

  • 1. คือการศึกษาประวัติความเป็นมาของสิ่งใดสิ่งหนึ่ง จากการที่ได้ บันทึกเก็บไว้ หรือประสบการณ์จากผู้มีอาวุโส ( อังกฤษ : History ) ประวัติศาสตร์
  • 2. อารฺ . จี . คอลลิงวูด ( R. G. Collingwood) อธิบายว่า ประวัติศาสตร์คือวิธีการวิจัยหรือการไต่สวน โดยมีจุดมุ่งหมาย จะศึกษาเกี่ยวกับ ... พฤติการณ์ของมนุษยชาติที่เกิดขึ้นในอดีต ( history is a kind of research or inquiry ... action of human beings that have been done in the past.) ประวัติศาสตร์
  • 3. อี . เอช คาร์ ( E. H. Carr) อธิบายว่าประวัติศาสตร์นั้น ก็คือ กระบวนการอันต่อเนื่องของการปฏิสัมพันธ์ระหว่าง นักประวัติศาสตร์กับข้อมูลของเขา ประวัติศาสตร์คือบทสนทนา อันไม่มีที่สิ้นสุดระหว่างปัจจุบันกับอดีต ( What is history?, is that it is a continuous process of interaction between the present and the past.) ประวัติศาสตร์
  • 4. ศ . ดร . ธงชัย วินิจจะกุล นักวิชาการด้านประวัติศาสตร์ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ในสหรัฐอเมริกาอธิบายถึง คำว่าประวัติศาสตร์และเตือนผู้ศึกษา / อ่านประวัติศาสตร์ไว้ น่าสนใจ ดังนี้ " การเข้าใจอดีตนั้นคือประวัติศาสตร์ ... เราต้องเข้าใจว่าความรู้เกี่ยวกับอดีตนั้นสร้างใหม่ได้เรื่อยๆ เพราะทัศนะมุมมองของสมัยที่เขียนประวัติศาสตร์นั้น เปลี่ยนอยู่เสมอ ..." ประวัติศาสตร์
  • 5. เกิดจากการสมาสคำศัพท์ภาษาบาลี " ประวัติ " ( ปวตฺติ ) ซึ่งหมายถึง เรื่องราวความเป็นไป และคำศัพท์ภาษาสันสกฤต " ศาสตร์ " ( ศาสฺตฺร ) ซึ่งแปลว่า ความรู้ สำหรับศัพท์ " ประวัติศาสตร์ " ประวัติศาสตร์
  • 6. สำหรับศัพท์ " ประวัติศาสตร์ " ในภาษาไทยถูกบัญญัติขึ้น   โดยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว เพื่อเทียบเคียงกับคำว่า " History" และเพื่อให้มีความหมายครอบคลุมมากกว่าคำว่า " พงศาวดาร " ( Chronicle) ที่ใช้กันมาแต่เดิม ประวัติศาสตร์
  • 7. คือกระบวนการศึกษาประวัติศาสตร์ เพื่อให้ได้ความรู้และ คำตอบที่เชื่อว่าสะท้อนข้อเท็จจริงเกี่ยวกับอดีตได้ถูกต้องมากที่สุด ซึ่งไม่มีใครสามารถตอบได้ว่าข้อเท็จจริงที่ถูกต้องคืออะไร   ดังนั้น จึงต้องมีกระบวนการศึกษา และการใช้เหตุผลใน การตรวจสอบความถูกต้องของหลักฐาน   และนำไปใช้อย่างถูกต้อง ทำให้การศึกษาประวัติศาสตร์เป็นศาสตร์ที่สะท้อนข้อเท็จจริง ที่แตกต่างจากนิทาน นิยาย หรือเรื่องบอกเล่าที่เลื่อนลอย ประวัติศาสตร์
  • 8. การศึกษาประวัติศาสตร์เริ่มจากการตั้งคำถามพื้นฐานหลัก คือ What : เกิดเหตุการณ์อะไรขึ้นในอดีต When : เหตุการณ์นั้นเกิดขึ้นเมื่อไหร่ Where : เหตุการณ์นั้นเกิดขึ้นที่ไหน Why : ทำไมจึงเกิดเหตุการณ์นั้นขึ้น Who : มีใครบ้างที่เกี่ยวข้อง ? How : เหตุการณ์นั้นเกิดขึ้นได้อย่างไรด้ 6W1H
  • 9. ประโยชน์ของการศึกษาประวัติศาสตร์ 1 จะช่วยให้มนุษย์เกิดสำนึกในการค้นคว้า   และสืบค้นข้อมูลที่ เชื่อมโยงอดีตและปัจจุบัน อันสร้างความภูมิใจและกระตุ้น ความรู้สึกนิยมในชาติหรือเผ่าพันธุ์   2 ตระหนักถึงคุณค่าของมรดกทางวัฒนธรรมที่บรรพบุรุษ สั่งสมไว้
  • 10. 3 ช่วยให้เกิดการเรียนรู้จากอดีต   เพื่อเป็นบทเรียนสำหรับ ปัจจุบัน องค์ความรู้ที่ได้จากการศึกษาทำให้เข้าใจถึงปัญหา    สาเหตุของปัญหา และผลกระทบจากปัญหา 4 ก่อให้เกิดองค์ความรู้ที่หลากหลาย ซึ่งสามารถนำความรู้ เหล่านั้นไปกำหนดยุทธศาสตร์ในการดำเนินนโยบาย   ให้เป็นประโยชน์ต่อทั้งปัจจุบันและอนาคต , ประโยชน์ของการศึกษาประวัติศาสตร์
  • 11. 5. การศึกษาประวัติศาสตร์ทำให้ผู้ศึกษาสั่งสมประสบการณ์ และทักษะในการวิเคราะห์ ไต่สวน และแก้ปัญหา ซึ่งสามารถ นำไปประยุกต์ใช้กับการศึกษาศาสตร์แขนงอื่นๆ คุณสมบัตินี้ นับเป็นองค์ประกอบสำคัญของการพัฒนาคุณภาพประชากร ในสังคมที่เจริญก้าวหน้าและมีพัฒนาการสูง   ประโยชน์ของการศึกษาประวัติศาสตร์
  • 12. แบบฝึกหัด ใบงานที่ 2.1 เรื่อง บันทึกประวัติศาสตร์ ให้นักเรียนสืบค้นเหตุการณ์ในประวัติศาสตร์ด้วย 6 W1H
  • 13. 1. พุทธศักราช เริ่มนับตั้งแต่พระพุทธเจ้าเสด็จดับขันปรินิพพาน คือ ปีมะเส็ง เป็นศักราช 0 2 . คริสต์ศักราช เริ่มนับตั้งแต่พระเยซู คริสต์ประสูติ ศักราชและการเทียบศักราช
  • 15. เริ่มที่ท่านนบีมูฮัมหมัด กระทำฮิจเราะห์ ตรงกับ ค . ศ . 622 หรือ พ . ศ . 1165 เป็นศักราชที่พระเจ้ากนิษกะได้ตั้งขึ้นเมื่อ พ . ศ . 622 4 . มหาศักราช 3. ฮิจเราะห์ศักราช
  • 17. จัดตั้งขึ้นโดยสังฆราชมนุโสรหัน พ . ศ . 1181 เริ่มตั้งแต่พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก ทรงสถาปนากรุงเทพมหานคร เมื่อ พ . ศ . 2325 5. รัตนโกสินทร์ศก 6. จุลศักราช
  • 18. ในระบบการเรียกศกตามเลขท้ายปีจุลศักราช นิยมเรียก ด้วยศัพท์บาลี ดังนี้ ปีจุลศักราชที่ลงท้ายเลข 1 เรียก " เอกศก " ปีจุลศักราชที่ลงท้ายเลข 2 เรียก " โทศก " ปีจุลศักราชที่ลงท้ายเลข 3 เรียก " ตรีศก " ปีจุลศักราชที่ลงท้ายเลข 4 เรียก " จัตวาศก " ปีจุลศักราชที่ลงท้ายเลข 5 เรียก " เบญจศก "
  • 19. ปีจุลศักราชที่ลงท้ายเลข 0 เรียก " สัมฤทธิศก " ปีจุลศักราชที่ลงท้ายเลข 6 เรียก " ฉศก " ปีจุลศักราชที่ลงท้ายเลข 7 เรียก " สัปตศก " ปีจุลศักราชที่ลงท้ายเลข 8 เรียก " อัฐศก " ปีจุลศักราชที่ลงท้ายเลข 9 เรียก " นพศก "
  • 20. และนิยมระบุนักษัตร นักษัตรเป็นชื่อบอกรอบเวลา 12 ปี แต่ละปีมีสัญลักษณ์เป็นรูปสัตว์ คือ 1 ชวด หนู
  • 21. 2 ฉลู วัว 3 ขาล เสือ
  • 22. 5 มะโรง 4. เถาะ กระต่าย งูใหญ่
  • 23. 6 มะเส็ง 7 มะเมีย ม้า งูเล็ก
  • 24. 8 มะแม แพะ 9 วอก ลิง
  • 25. ไก่ 10 ระกา สุนัข 11 จอ
  • 26. 12 กุน หมู
  • 27. การเปรียบเทียบศักราช ม . ศ . + 621 = พ . ศ . พ . ศ . - 621 = ม . ศ จ . ศ . + 11 81 = พ . ศ . พ . ศ . - 1181 = จ . ศ ร . ศ . + 2324 = พ . ศ . พ . ศ . - 2324 = ร . ศ ค . ศ . + 543 = พ . ศ . พ . ศ . - 543 = ค . ศ ฮ . ศ . + 621 = ค . ศ . ค . ศ . - 621 = ฮ . ศ . ฮ . ศ . + 1164 = พ . ศ พ . ศ .- 1164 = ฮ . ศ
  • 28. การแบ่งช่วงเวลาทางประวัติศาสตร์ไทย 1. สมัยก่อนประวัติศาสตร์ 1.1 แบ่งตามเครื่องมือเครื่องใช้ - ยุคหิน - ยุคโลหะ
  • 29. 2.1 สมัยก่อนประวัติศาสตร์ในประเทศไทย หินเก่า 3. อาชีพ 2. ลักษณะเครื่องมือเครื่องใช้ 1. ระยะเวลา เหล็ก สำริด หินใหม่ หินกลาง ยุคสมัย
  • 30. 2.1 สมัยก่อนประวัติศาสตร์ในประเทศไทย ( ต่อ ) สำริด 5. แหล่งพบในประเทศไทย 4. ที่อยู่อาศัย เหล็ก หินใหม่ หินกลาง หินเก่า ยุคสมัย
  • 31. 2 . แบ่งตามราชธานีหรือราชธานี 5 . แบ่งตามลักษณะการปกครอง 1 . แบ่งตามอาณาจักร 2. สมัยประวัติศาสตร์ 3 . แบ่งตามราชวงศ์ 4 . แบ่งตามรัชกาล 6 . แบ่งตามการบริหารประเทศ
  • 32. แบบฝึกหัด ให้สืบค้นยุคสมัยประวัติศาสตร์ของไทยมาแล้ว จัดทำผังมโนทัศน์ แบบ Branching diagrams ตกแต่งให้สวยงาม และนำเสนอหน้าชั้น ใบงานที่ 2.2
  • 34.  
  • 35.  
  • 36.  
  • 37.