SlideShare a Scribd company logo
1 of 18
Download to read offline
บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้   81




เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้   82


เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
                                                                         บทที่ 6
โครงร่างเนื้อหาของบท                                                 คาสาคัญ
   1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ         สารสนเทศ
    2. ความหมายและความสาคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ          เทคโนโลยีสารสนเทศ
    3. การสื่อสารด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ                   สิ่งแวดล้อมทางการ
    4. การบูรณาการเทคโนโลยีสารสนเทศในการจัดการเรียนรู้    เรียนรู้
วัตถุประสงค์การเรียนรู้                                  การเรียนบนเครือข่าย
    1. ออกแบบและสร้างเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อส่งเสริมการ   หนังสืออิเล็กทรอนิกส์
        เรียนรูได้
               ้                                         โทรทัศน์ทางไกล
    2. วิเคราะห์บทบาทและความสาคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ  E-learning
        ในการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผูเ้ รียนเป็นสาคัญได้  Social media
    3. เลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศให้เหมาะสมกับสภาพบริบท
        การจัดการเรียนรูได้
                        ้
กิจกรรมการเรียนรู้
    1. ผู้สอนให้มโนทัศน์เชิงทฤษฎี หลักการ เรื่อง เทคโนโลยี
       สารสนเทศเพื่อการศึกษา
    2. นักศึกษาแบ่งเป็นกลุ่มย่อย กลุ่มละ 3 คน ศึกษาจาก
       สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้บนเครือข่าย
       http://ednet.kku.ac.th/~sumcha/web-230301/ โดย
       ศึกษาสถานการณ์ปัญหาบทที่ 6 วิเคราะห์ทาความเข้าใจ
       ค้นหาคาตอบจากเอกสารประกอบการสอนและแหล่ง
       เรียนรู้บนเครือข่ายและร่วมกันสรุปคาตอบ และนาเสนอใน
       รูปแบบ Power point
    3. นักศึกษาร่วมกันสรุปองค์ความรู้และแลกเปลียนความ
                                                  ่
       คิดเห็น โดยผูสอนตั้งประเด็น และอธิบายเพิ่มเติม
                     ้
บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้         83


สถานการณ์ปัญหา(Problem-based learning)
            ภายหลังที่รัฐบาลได้จัดการปฏิรูปการศึกษา ซึ่งมีหัวใจสาคัญอยู่ที่ "การยกระดับคุณภาพ
ประชากรของประเทศให้สูงขึ้น คือ ผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้และถือ
ว่าผู้เรียนมีความสาคัญที่สุด ที่ต้องส่งเสริมและพัฒนาให้เต็มตามศักยภาพ ฝึกทักษะ กระบวนการ
คิด การประยุกต์ความรู้ และการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง สามารถในการคิดวิเคราะห์ และริเริ่ม
สร้างสรรค์ มีความสามารถในการแก้ปัญหา ตลอดจนรู้จักการทางานเป็นหมู่คณะ" มีการนา
เทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาใช้เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการเรียนรู้ ที่ผู้เรียนสามารถเข้าถึงได้อย่าง
หลากหลาย สามารถเรียนได้ทุกที่ทุกเวลา เพื่อที่จะทาให้ผู้เรียนเกิดความรู้ความเข้าใจ และ
เหมาะสมกับยุคแห่งข้อมูลสารสนเทศที่มีอยู่อย่างมากมาย รวมไปถึงการทาให้การเรียนรู้นั้นเกิด
ประสิทธิภาพสูงสุด ทั้งยังเพื่อเป็นการเตรียมพัฒนาผู้เรียน ให้มีคุณลักษณะที่เหมาะสมกับสังคมยุค
โลกาภิวัตน์
            ในฐานะที่ท่านจะเป็นครูพันธ์ใหม่ ท่านจะต้องปฏิบัติภารกิจต่อไปนี้
ภารกิจ
            1. วิเคราะห์บทบาทและความสาคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศกับการพัฒนาการศึกษา
ตามแนวทางปฏิรูปการศึกษา
            2. วิเคราะห์หาวิธีการที่จะประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการจัดการเรียนรู้ที่เน้น
ผู้เรียนเป็นสาคัญ
           3. ให้ท่านพิจารณาเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการจั ดการเรียนรู้
ตามบริบทของโรงเรียนที่กาหนดให้ต่อไปนี้ พร้อมทั้งให้เหตุผลประกอบการอธิบาย
            โรงเรี ย นบ้ า นหนองงู เ ห่ า เป็ น โรงเรี ย นที่ อ ยู่ ห่ า งไกลในถิ่ น ธุ ร ะกั น ดาร โรงเรี ย นมี
คอมพิวเตอร์สามเครื่อง มีโทรทัศน์ ไม่มีสัญญาณโทรศัพท์
            โรงเรี ย นมั ธ ยมไฮโซเบตง เป็ น โรงเรี ย นที่ ตั้ ง อยู่ ใ นเมื อ ง มี ค วามพร้ อ มทางด้ า นสื่ อ
เทคโนโลยี มีห้องคอมพิวเตอร์ มีระบบอินเตอร์เน็ตความเร็วสูง แต่ครูมีไม่เพียงพอเนื่องจากย้ายหนี
เหตุการณ์ความไม่สงบ
บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้      84




          ความรูพื้นฐานเกี่ยวกับ
                ้                                                              ความหมายและความสาคัญ
           เทคโนโลยีสารสนเทศ                                                    ของเทคโนโลยีสารสนเทศ




                                                   สาระสาคัญ
                                                    ในบทที่ 6



        การบูรณาการเทคโนโลยี
      สารสนเทศในการจัดการเรียนรู้

ความรูเบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
       ้

           ปัจจุบันสังคมของมนุษย์มีการเปลี่ยนแปลงความเป็นอยูไปอย่างรวดเร็ว กล่าวกันว่าได้เกิด
                                                                        ่
การเปลี่ยนแปลงในลักษณะที่เรียกว่า การปฏิวัติมาแล้วสองครั้ง ครั้งแรกเกิดจากการที่มนุษย์รู้จักใช้
ระบบชลประทานเพื่อการเพาะปลูก สังคมความเป็นอยู่ของมนุษย์จึงเปลี่ยนจากการเร่ร่อนมาเป็น
การตั้งหลักแหล่งเพื่อทาการเกษตร ต่อมาเมื่อประมาณร้อยกว่าปีที่แล้ว ก่อนสงครามโลกครั้งที่ 1
หลังจากที่เจมส์วัตต์ประดิษฐ์เครื่องจักรไอน้า มนุษย์รู้จักนาเอาเครื่องจักรมาช่วยในอุตสาหกรรม
การผลิตและช่วยในการสร้างยานพาหนะเพื่อ การคมนาคมขนส่ง ผลที่ตามมาทาให้เกิดการปฏิวั ติ
ทางอุตสาหกรรม สังคมความเป็นอยู่ของมนุษย์จึงเปลี่ยนจากสังคมเกษตรมาเป็นสังคมเมือง และ
เกิดรวมกันเป็นเมืองอุตสาหกรรมต่างๆ กิจวัตรในชีวิตประจาวันของมนุษย์เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยี
มากขึ้น จนดูเหมือนว่าเทคโนโลยีเป็นปัจจัยที่สาคัญอย่างหนึ่งของมนุษย์ ซึ่งทาให้มนุษย์ ได้รับความ
สะดวกสบายและประสบความสาเร็จในงานด้านต่าง ๆ เช่น เทคโนโลยีทางด้านอวกาศ ทางด้านการ
ผลิต ทางด้านอุตสาหกรรม และทางด้านพาณิชกรรม
           ความก้าวหน้าทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ทาให้มีการพัฒนาคิดค้นสิ่งอานวย
ความสะดวกสบายต่ อการดาเนิ นชี วิต เป็ นอั นมาก เทคโนโลยี ไ ด้เ ข้า มาเสริม ปัจ จัย พื้น ฐานการ
ดารงชีวิตได้เป็นอย่างดี เทคโนโลยีทาให้การสร้างที่พักอาศัยมีคุณภาพมาตรฐาน สามารถผลิตสินค้า
และให้บริการต่าง ๆ เพื่อตอบสนองความต้องการของมนุษย์มากขึ้น เทคโนโลยีทาให้ระบบการผลิต
สามารถผลิ ต สิ น ค้ า ได้ เ ป็ น จ านวนมากมี ร าคาถู ก ลง สิ น ค้ า ได้ คุ ณ ภาพ เทคโนโลยี ท าให้ มี ก าร
ติดต่อสื่อสารกันได้สะดวก การเดินทางเชื่อมโยงถึงกันทาให้ประชากรในโลกติดต่อรับฟังข่าวสารกัน
ได้ตลอดเวลา
บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้      85


          สาหรับการสร้างเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการจัดการในปัจจุบันนี้สวนใหญ่มกจะสร้างโดย
                                                                                 ่         ั
ใช้ระบบคอมพิวเตอร์เป็นหลักเนื่องจากคอมพิวเตอร์มีค วามสามารถและมีประสิทธิภาพในการ
จัดการเก็บข้อมูลมากกว่าอุปกรณ์อย่างอื่น รวมทั้งยังสามารถคานวณประมวลผลข้อมูลได้อย่าง
รวดเร็วถูกต้องแม่นยาแต่ที่จริงแล้วการสร้างระบบสารสนเทศนั้นไม่จาเป็นต้องสร้างมาจากระบบ
คอมพิวเตอร์เพียงอย่างเดียวเราสามารถใช้อุปกรณ์ชนิดอื่นสร้างระบบสารสนเทศได้ แต่เนื่องจาก
คอมพิ ว เตอร์ ส ามารถท างานและจั ด การข้อ มู ล ได้ ดีก ว่ า อุ ป กรณ์ ชนิ ดอื่ น จึ งทาให้ ค อมพิ ว เตอร์
กลายเป็นอุปกรณ์สาคัญในการสร้างระบบสารสนเทศ
          เทคโนโลยีสารสนเทศมี ประโยชน์ ต่อ การพัฒ นาประเทศให้เ จริญ ก้า วหน้าเทคโนโลยี
สารสนเทศ เป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับวิถีความเป็นอยู่ของสังคมสมัยใหม่อยู่มาก เทคโนโลยีสารสนเทศ
ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงกับโลกครั้งใหญ่ทั้งในอดีตปัจจุบันและอนาคต หรือ กล่าวได้ว่าเทคโนโลยี
สารสนเทศมี ผ ลกระทบต่ อ ทุ ก สิ่ ง ทุ ก อย่ า งทั้ ง ทางการด าเนิ น ชี วิ ต เศรษฐกิ จ สั งคม การเมื อ ง
การศึกษาและอื่นๆ เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
สื่อสารในรูปแบบต่าง ๆเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ ลักษณะ เด่นที่สาคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ
คือ ช่วยเพิ่มผลผลิต ลดต้นทุนและเพิ่มประสิทธิภาพการทางานการประกอบการทางด้านเศรษฐกิจ
การค้า และการอุตสาหกรรม จาเป็นต้องหาวิธีในการเพิ่มผลผลิตลดต้นทุนและเพิ่มประสิทธิภาพใน
การทางาน คอมพิวเตอร์และระบบสื่อสารช่วยทาให้เกิดระบบอัตโนมัติ เราสามารถฝากถอนเงินสด
ผ่านเครื่องเอทีเอ็มได้ตลอดเวลา ธนาคารสามารถให้บริการได้ดีขึ้น ทาให้การบริการโดยผู้บริหารที่มี
ประสบการณ์นั้นให้เหลือเพียงมัธยมศึกษาตอนปลาย

ความหมายและความสาคัญเทคโนโลยีสารสนเทศ

ความหมายเทคโนโลยีสารสนเทศ
           เทคโนโลยีระบบสารสนเทศ เป็นหนึ่งในเครื่องมือหลายๆ ตัวที่ผู้บริหารใช้สาหรับจัดการ
กับการเปลี่ยนแปลง โดยเฉพาะอย่างยิ่งในปัจจุบัน เทคโนโลยีสารสนเทศเปรียบเสมือนการที่เชื่อม
ส่วนต่างๆ ขององค์กรและองค์กรต่างๆ เข้าด้วยกัน ระบบสารสนเทศอิงการใช้คอมพิวเตอร์ จึงเป็น
การใช้เทคโนโลยีฮาร์ดแวร์ เทคโนโลยีซอฟต์แวร์ เทคโนโลยีการเก็บ และเทคโนโลยีสื่อสารทางไกล
           สารสนเทศ หมายถึง ข้อมูลข่าวสาร ความรู้ต่างๆ ที่ได้รับการสรุป คานวณ จัดเรียง หรือ
ประมวลแล้วจากข้อมูลต่างๆ ที่เกี่ยวข้องอย่างเป็นระบบตามหลักวิชาการ จนได้เป็นข้อความรู้ เพื่อ
นามาเผยแพร่และใช้ประโยชน์ในงานด้านต่าง ๆ
           เทคโนโลยี หมายถึง การประยุกต์เอาความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์มาใช้ให้เกิดประโยชน์
การศึกษาพัฒนาองค์ความรู้ต่างๆ ก็เพื่อให้เข้าใจธรรมชาติ กฎเกณฑ์ของสิ่งต่างๆ และหาทางนามา
ประยุกต์ให้เกิดประโยชน์ เทคโนโลยีจึงเป็นค้าที่มีความหมายกว้างไกล เป็นคาที่เราได้พบเห็นและ
ได้ยินอยู่ตลอดมา
           เมื่อรวมคาว่า เทคโนโลยีกับสารสนเทศเข้าด้วยกัน จึงหมายถึงเทคโนโลยีที่ใช้จัดการ
สารสนเทศ เป็นเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องตั้งแต่การรวบรวมการจัดเก็บข้อมูล การประมวลผล การพิมพ์
การสร้างรายงาน การสื่อสารข้อมูล ฯลฯ เทคโนโลยีสารสนเทศจะรวมไปถึงเทคโนโลยีที่ทาให้เกิด
ระบบการให้บริการ การใช้ และการดูแลข้อมูล
บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้   86


ความสาคัญของสารสนเทศ
            สารสนเทศแท้จริงแล้วย่อมมีความสาคัญต่อทุกสิ่งที่เกี่ยวข้อง เช่น ด้านการเมือง การ
ปกครอง ด้านการศึกษา ด้าน เศรษฐกิจ ด้านสังคม ฯลฯ ในลักษณะดังต่อไปนี้
            1.       ท าให้ ผู้ บ ริ โ ภคสารสนเทศเกิ ด ความรู้ (Knowledge)       และความเข้ า ใจ
(Understanding) ในเรื่องดังกล่าวข้างต้น
            2. เมื่อเรารู้และเข้าใจในเรื่องที่เกี่ยวข้องแล้ว สารสนเทศจะช่วยให้เราสามารถตัดสินใจ
(Decision Making) ในเรื่องต่างๆ ได้อย่างเหมาะสม
            3. นอกจากนั้นสารสนเทศ ยังสามารถทาให้เราสามารถแก้ไขปัญหา (Solving Problem)
ที่เกิดขึ้นได้อย่างถูกต้อง แม่นยา และรวดเร็ว ทันเวลากับสถานการณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น
             ความสาคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มี 6 ประการ Souter (1999)
ได้แก่
            ประการแรก การสื่อสารถือเป็นสิ่งจาเป็นในการดาเนินกิจกรรมต่าง ๆ ของมนุษย์ สิ่ง
สาคัญที่มีส่วนในการพัฒนากิจกรรมต่างๆ ของมนุษย์ประกอบด้วย Communications media,
การสื่อสารโทรคมนาคม (Telecoms) และเทคโนโลยีสารสนเทศ (IT)
            ประการที่สอง เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารประกอบด้วยผลิตภัณฑ์หลักที่มากไป
กว่าโทรศัพท์ และคอมพิวเตอร์ เช่น แฟกซ์ อินเทอร์เน็ต อีเมล์ ทาให้สารสนเทศเผยแพร่หรือ
กระจายออกไปในที่ต่างๆ ได้สะดวก
            ประการที่สาม เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมีผลให้งานด้านต่าง ๆ มีราคาถูกลง
            ประการที่สี่ เครือข่ายสื่อสาร (Communication networks) ได้รับประโยชน์จาก
เครือข่ายภายนอก เนื่องจากจานวนการใช้เครือข่าย จานวนผู้เชื่อมต่อ และจานวนผู้ที่มีศักยภาพใน
การเข้าเชื่อมต่อกับเครือข่ายนับวันจะเพิ่มสูงขึ้น
            ประการที่ห้า เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารทาให้ ฮาร์ดแวร์ คอมพิวเตอร์ และ
ต้นทุนการใช้ ICT มีราคาถูกลงมาก
            ประการที่หก เทคโนโลยีสารสนเทศก่อให้เกิดการวางแผนการดาเนินการระยะยาวขึ้น อีก
ทั้งยังทาให้วิถีการตัดสินใจ หรือเลือกทางเลือกได้ละเอียดขึ้น
            จะเห็ น ได้ ว่ า เทคโนโลยี ส ารสนเทศมี บ ทบาทที่ ส าคั ญ ในทุ ก วงการ มี ผ ลต่ อ การ
เปลี่ ย นแปลงโลกด้ า นความเป็ น อยู่ สั ง คม เศรษฐกิ จ การศึ ก ษา การแพทย์ เกษตรกรรม
อุตสาหกรรม การเมือง ตลอดจนการวิจัยและการพัฒนาต่างๆ

การสื่อสารด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ

          เทคโนโลยีการสื่อสาร (Communication Technology) มีการพัฒนารูป แบบให้
สามารถติดต่อสื่อสาร ถึงกันได้ง่าย และอุปกรณ์ที่ใช้ในการติดต่อสื่อสารมีหลายรูปแบบให้เลือกได้
ตามความเหมาะสมกับการใช้งานระบบคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่างๆ ได้เพิ่มคุณสมบัติให้สามารถ
เชื่อมโยงถึงกันได้ การเพิ่มคุณค่าของระบบคอมพิวเตอร์มีมากขึ้นเมื่อมีการนาเทคโนโลยีการสื่อสาร
มาประยุกต์เข้าด้วยระบบกันที่เรียกว่า “เครือข่ายคอมพิวเตอร์”
          อินเตอร์เน็ต (Internet) คือ เครือข่ายคอมพิวเตอร์ขนาดยักษ์ที่เชื่อมต่อกันทั่วโลก โดยมี
มาตรฐานการรับส่งข้อมูลระหว่างกันเป็นหนึ่งเดียว ซึ่งคอมพิวเตอร์แต่ละเครื่องสามารถรับส่งข้อมูล
บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้           87


ในรูปแบบต่างๆ ได้หลายรูปแบบ เช่น ตัวอักษร ภาพกราฟิก และ เสียงได้ รวมทั้งสามารถค้นหา
ข้อมูลจากที่ต่างๆ ได้อย่างรวดเร็ว
           ในยุคสังคมข่าวสาร ข้อมูลดังทุกวันนี้การสื่อสารรูปแบบต่าง ๆ ถูกพัฒนาขึ้นให้ คนเรา
สื่อสารถึงกันง่ายที่สุดและสะดวกที่สุดการสื่อสารถึงกันด้วยคาพู ดผ่านทางโทรศัพท์ย่อมไม่เพียงพอ
อีกต่อไปเราต้องการมากกว่านั้นเช่น ภาพ เสียง และ ข้อความ ตัวอักษรรวมทั้งข้อมูลคอมพิวเตอร์
ฯลฯ ซึ่งอินเตอร์เน็ตสามารถเข้ามาตอบสนองได้ในจุดนี้
           เมื่ อ เราเชื่ อ มต่ อ เครื อ ข่ า ยของ
อินเตอร์เน็ต เราสามารถติดต่อกับเพื่อน
ของเราในสหรัฐเมริ กาผ่านอิเล็กทรอนิกส์
เมล์ , ข้ ามไปค้ น หา ข้ อมู ล ที่ ยุ โ รปแล้ ว
คัดลอกไฟล์ไปที่ออสเตรเลียได้จากเครื่อง
คอมพิว เตอร์ ที่บ้ านที่มหาวิ ทยาลั ยหรือ ที่
ทางานของเราโดยใช้เวลาทั้งหมดภายใน
ไม่กี่นาทีทาให้การติดต่อสื่อสารนั้นเป็นไป
อย่ า งรวดเร็ ว           และมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ                                     ภาพที่ 6.1 แสดงการเผยแพร่
นอกจากนี้ค่าใช้จ่า ยก็ยังถูกกว่าวิธีอื่นเมื่อ                                        สารสนเทศผ่านเว็บ
เทียบกับการติดต่อทางโทรศัพท์ การส่ง
โทรสารและการส่งข้อมูลผ่านโมเด็มโดยตรงกับปลายทางแล้วการใช้งานผ่านอินเตอร์เน็ตมีค่าใช้จ่าย
ถูกกว่าหลายเท่า นี่เป็นเหตุผลหลักที่ว่าทาไมเราต้องใช้อินเตอร์เน็ตซึ่งนับเป็นการปฏิวัติ สังคม
ข่าวสารครั้ง ใหญ่ที่สุดในยุคของเรา
           ประโยชน์ของอินเตอร์เน็ต มีดังนี้
           ในด้านการศึกษาเราสามารถต่อเข้ากับอินเตอร์เน็ตเพื่อค้นคว้าหาข้อมูลได้ไม่ว่าจะเป็น
ข้อมูลทางวิชาการจากที่ต่าง ๆ ซึ่งในกรณีนี้อินเตอร์เน็ตจะทาหน้าที่เหมือนห้องสมุดขนาดยักษ์ส่ง
ข้อมูลที่เราต้อการมาให้ถึงบนจอคอมพิวเตอร์ของเราในเวลาไม่กี่วินาทีจากแหล่งข้อมูลทั่วโลกไม่ว่า
จะเป็นข้อมูลด้านวิทยาศาสตร์ วิศวกรรม ศิลปกรรม สังคมศาสตร์ กฎหมายและอื่นๆ นักศึกษา
มหาวิทยาลัยสามารถติดต่อกับมหาวิทยาลัยอื่นๆ เพื่อค้นหาข้อมูลที่กาลังศึกษาอยู่ได้ทั้งข้อมูลที่เป็น
ตัวอักษร ภาพและเสียงหรือแม้แต่มัลติมีเดียต่างๆ
           ในด้ า นการรั บ ส่ ง ข่ า วสาร ผู้ ใ ช้ ที่ ต่ อ เข้ า อิ น เตอร์ เ น็ ต สามารถรั บ ส่ ง ข้ อ มู ล จดหมาย
อิเล็กทรอนิกส์ (E-mail) กับผู้ ใช้คนอื่นๆ ทั่ว โลกในเวลาอันรวดเร็วได้โดยมีค่าใช้จ่ายต่ามากเมื่อ
เทียบกับการส่งจดหมายหรือส่งข้อมูลวิธีอื่น ๆ นอกจากนั้นยังอาจส่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ในรูปแบบ
ต่างๆ เช่น แฟ้ม ข้อมูล รูปภาพ จนไปถึงข้อมูลที่เป็นภาพและเสียงได้อีกด้วย
           ในด้ า นธุ ร กิ จ และการค้ า อิ น เตอร์ เ น็ ต มี บ ริ ก าร ในรู ป แบบของการซื้ อ ขายสิ น ค้ า ผ่ า น
คอมพิวเตอร์เราสามารถเลือกดูสินค้าพร้อมทั้งคุณสมบัติต่างๆ ผ่านจอคอมพิวเตอร์ ของเราแล้ว
สั่งซื้อและจ่ายเงินด้วยบัตรเครดิตได้ทันทีซึ่งนับว่าสะดวกและรวดเร็วมากนอกจากนี้ผู้ที่ใช้ที่เป็น
บริษัทหรือองค์กรต่างๆ ก็สามารถเปิดให้บริการและสนับสนุนลูกค้าของคนผ่านอินเตอร์เน็ตได้ เช่น
การตอบ คาถาม ให้คาแนะนารวมถึงการให้ข่าวสารใหม่ๆ แก่ลูกค้าได้
บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้   88


          ในด้านการบันเทิงเราสามารถเข้าไปเลือกอ่านหนังสือวารสารต่าง ๆ ผ่านอินเตอร์เนตได้
ค้นหาข้อมูลเกี่ยวกับภาพยนตร์ดนตรีและอื่นๆ อีกมากมาย ซึ่งปัจจุบันเราสามารถทาเป็นภาพ
เคลื่อนไหวและมีเสียงประกอบได้อีกด้วย (อ้างอิง http://www.np.co.th/intro/intro_1.htm)
          เราสามารถสรุปได้ว่า เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เป็นเทคโนโลยีทุกรูปแบบที่
นามาประยุกต์ในการประมวลผล การจัดเก็บ การสื่อสาร และการส่งผ่านสารสนเทศด้วยระบบ
อิเล็กทรอนิกส์ โดยที่ระบบทางกายภาพประกอบด้วยคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์ติดต่อสื่อสาร และระบบ
เครือข่าย ขณะที่ระบบนามธรรมเกี่ยวข้องกับการจัดรูปแบบของการมีปฏิสัมพันธ์ด้านสารสนเทศทั้ง
ภายในและภายนอกระบบให้สามารถดาเนินการร่วมกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ

ความสาคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารกับการเรียนรู้
            จากความเปลี่ยนแปลงนิยามของการเรียนรู้ ที่หมายถึงการที่บุคคลมีความเข้าใจ รับรู้
ปัญหาหรือเรื่องราวที่ได้ประสบมา ที่มีความเกี่ยวข้องกับการการเพิ่มพูนทักษะ ความรู้ ความ
เข้าใจ และพัฒนาบุคคลนั้น ๆ เช่น การเรียนรู้ด้วย
ตนเอง การเรี ย นรู้ จ ากประสบการณ์ ก ารท างาน
การเรี ย นรู้ ยุ ค ใหม่ ต้ อ งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพและมี ค วาม
เหมาะสมกั บ สภาพสั ง คม ในปั จ จุ บั น การเรี ย นรู้
มุ่งหวังที่จะให้เกิดองค์ความรู้แก่ตัวผู้เรียน โดยมุ่ง
จัดการเรียนรู้ให้ผู้เรียนเป็นศูนย์กลางการเรียนรู้ไม่ใช่
แค่การตีกรอบให้ผู้เรี ยนอยู่เ ฉพาะแต่ในส่ว นที่เป็ น
ความต้องการของครูผู้สอนเพียงอย่างเดียว แต่ต้อง
ให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการเรียนรู้มากขึ้นด้วย
            เป้าหมายทางการศึกษาของประเทศที่พัฒนาแล้วอยู่ที่การให้การศึกษาแก่ประชาชนเข้าสู่
โลกแห่งเทคโนโลยี โดยเน้นปัจจัยสาคัญอยู่ที่ความรอบรู้ของคนในชาติ การเรียนรู้ของคนในชาติกับ
การสร้างสังคมเป็นสิ่ง ที่ต้องให้เกิดขึ้นกับคนในชาติ การเรียนรู้ต้องรวดเร็ว ใช้เวลาน้อย ต้นทุนต่า
และที่สาคัญ ความรู้จะมีบทบาทที่สาคัญมากขึ้นเรื่อยๆ ควบคู่กับการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้
            การปฏิรูปการศึกษา มุ่งเน้นให้ผู้เรียนเป็นศูนย์กลางการเรียน แทนที่ครูจะเป็นผู้มีบทบาท
สาคัญเพียงอย่างเดียว ส่วนหนึ่งของการปฏิรูปการศึกษา คือการสร้างโอกาสให้แก่ผู้เรียนเข้าถึง
แหล่งข้อมูล แหล่งความรู้ได้มากและสะดวกขึ้น ดังนั้นการปฏิรูปการศึกษาจึงต้องใช้ระบบเครือข่าย
อินเทอร์เน็ตเข้ามามีบทบาทในการจัดการเรียนรู้
            การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศทาให้เกิดระบบการเรียนการสอนทางไกล ซึ่งผู้เรียนและ
ผู้สอนสามารถตอบโต้กันได้แม้ว่าจะอยู่ห่างกัน ผู้เรียนสามารถส่งการบ้านทางอินเทอร์เน็ตได้ ครู
สามารถตรวจงานให้คะแนนได้ แม้กระทั่งการชี้แนะด้วยไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ (E-mail) หรือใช้
ระบบกระดานข่าว (Bulletin Board System)
            เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และเครือข่ายมีบทบาทสาคัญยิ่งในการเรียนรู้ มหาวิทยาลัยชั้นนา
ของต่างประเทศ เช่น ญี่ปุ่น ฮ่องกง สิงค์โปร์ ให้ความสาคัญอย่างยิ่งกับการใช้เทคโนโลยีทาง
การศึ ก ษา การน าเทคโนโลยี ส ารสนเทศและการสื่ อ สารสามารถใช้ ใ นด้ า นการศึ ก ษา จะช่ ว ย
พัฒนาการเรียนรู้และอานวยความสะดวกในด้านการสอนและแหล่งการเรียนรู้ได้ตลอดเวลา ไม่มี
ข้อจากัดในด้านสถานที่ การสอนโดยใช้ระบบสารสนเทศจะจัดการเรียนรู้ได้ตามความแตกต่างของ
บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้   89


ผู้เรียน ระบบการเรียนรู้ที่ใช้ในด้านการศึกษามีหลายระบบ เช่น E-learning, e – Book, e –
Library และ e – Classroom
             การจัด การเรีย นรู้โ ดยใช้ เทคโนโลยีแ ละสารสนเทศในการเรี ยนรู้ เป็ น การเปิ ด โอกาส
ทางการศึกษาที่ทาให้คุณเรียนรู้โดยไม่มีข้อจากัดในประเด็นต่าง ๆ เพียงแต่ผู้เรียนรู้ต้องศึกษาวิธีการ
เพื่อเข้าสู่ระบบที่ต้องการให้ถูกต้อง

การบูรณาการเทคโนโลยีสารสนเทศในการจัดการเรียนรู้

              ในโลกปัจจุบัน พบว่าความต้องการเกี่ยวกับตัวผู้เรี ยนเพิ่มมากขึ้น เพราะว่าที่ผ่านมา
อาจจะมีการตอบสนองต่อการเรียนแบบท่องจามามากแล้ว แต่ในปัจจุบันในสภาพชีวิตจริงต้องการ
บุคคลในสังคมที่มีความสามารถในการใช้ทักษะการให้เหตุผลในระดับที่สูงขึ้นในการแก้ปัญหาที่
ซับซ้อน ซึ่งพบว่าความสามารถในทักษะดังกล่าวที่จะนามาใช้ในการแก้ปัญหาไม่ค่อยปรากฏให้เห็น
หรือมีอยู่น้อยมาก ในปัจจุบันจะพบว่าทุก ๆ คนไม่ว่าจะเป็นผู้ที่ทางานในโรงงานประกอบเครื่องจักร
ตามสายพานหรือทางานที่ต้องร่วมกันคิดเป็นทีม ต่างล้วนจาเป็นต้องมีทักษะการแก้ปัญหาด้วยกัน
ทั้งหมด ซึ่งนั่นหมายความว่าแนวความคิดเกี่ยวกับการจัดการศึกษาต้องเปลี่ยนไป
              ดังนั้น ในการบูรณาการเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนการสอน ผู้สอนควรจะศึกษา
เทคนิค วิธีการ เทคโนโลยีต่างๆ ที่จะนามาใช้เพื่อช่วยให้ผู้เรียนได้รับความรู้ใหม่ ซึ่งแต่ เดิมมักเป็น
การสอนให้ผู้เรียนเรียนโดยเน้นการท่องจา และปรับเปลี่ยนมาสู่การใช้เทคนิควิธีการที่จะช่วยผู้เรียน
ได้รับข้อเท็จจริงได้อย่างมีประสิทธิภาพ ได้แก่ การใช้เทคนิคช่วยการจา เช่น Mnemonics เป็นต้น
รวมทั้งการจัดการสอนที่เน้นครูเป็นศูนย์กลางอาจนาไปใช้ให้เกิดประโยชน์ได้เช่นกัน อย่างไรก็ตาม
สิ่งที่สาคัญและเป็นความต้องการของการศึกษาในขณะนี้คือ การสอนที่ผู้เรียนควรได้รับคือ ทักษะ
การคิดในระดับสูง (Higher-order thinking skills) ได้แก่ การคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ ตลอดจน
การแก้ปัญหา และการถ่ายโยง (Transfer) โดยเน้นการใช้วิธีการต่าง ๆ อาทิ สถานการณ์จาลอง
การค้นพบ การแก้ปัญหา และการเรียนแบบร่วมมื อ สาหรั บผู้เรียนจะได้รับ ประสบการณ์การ
แก้ปัญหาที่สอดคล้องกับสภาพชีวิตจริง
              สาหรั บการนาเทคโนโลยี สารสนเทศมาบูรณาการในการจัด การเรียนรู้ ผู้เ ขียนจะขอ
นาเสนอใน รูปแบบต่างๆ ดังต่อไปนี้คือ
              1. สิ่ ง แวดล้ อ มทางการเรี ย นรู้ (Learning environment) เป็ น การบู ร ณาการ
เทคโนโลยีสารสนเทศในการจัดการเรียนรู้ที่นาทฤษฎีการเรียนรู้มาเป็นพื้นฐานการออกแบบร่วมกับ
สื่ อ หรื อ เทคโนโลยี ส ารสนเทศ ซึ่ ง หลอม
รวมทั้งสองสิ่งเข้าไว้ด้วยกัน ที่ประกอบด้วย
สถานการณ์ปัญหาที่กระตุ้นให้ผู้เรียนเรียนรู้
แหล่ งการเรี ยนรู้ชนิด ต่า งๆ ที่ จัด เตรีย มไว้
สาหรั บให้ผู้ เรี ยนค้น หาค าตอบ มี ฐานการ
ช่วยเหลือไว้คอยสนับสนุนผู้เรียนในกรณีที่
ไม่สามารถแก้ปัญหาได้ ตลอดจนการเรียนรู้
แบบร่ ว มมื อ กั น แก้ ปั ญ หาที่ ส นั บ สนุ น ให้
ผู้ เ รี ย น ข ย า ย มุ ม ม อ ง แ น ว คิ ด ต่ า ง ๆ
บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้     90


สิ่งแวดล้อมทางการเรี ยนรู้ในปัจจุบันสามารถแยกตามคุณลักษณะของสื่อได้ 3 รูปแบบ คือ (1)
สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้บนเครือข่าย (2) มัลติมีเดียที่พัฒนาตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ (3) ชุดการ
สร้างความรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
           2. การเรียนรู้แบบออนไลน์ (E-learning)
           การเรียนรู้แบบออนไลน์ หรือ E-learning การเรียนรู้แบบออนไลน์เป็นการศึกษา เรียนรู้
ผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์อินเทอร์เน็ต (Internet) หรืออินทราเน็ต (Intranet) เป็นการเรียนรู้ด้วย
ตัวเอง ผู้เรียนจะได้เ รียนตามความสามารถและความสนใจของตน โดยเนื้อหาของบทเรียนซึ่ ง
ประกอบด้ว ย ข้อ ความ รูป ภาพ เสีย ง วิ ดีโ อและมั ลติ มีเดี ย อื่ นๆ จะถูก ส่งไปยั งผู้ เรี ยนผ่ านเว็ บ
เบราว์เซอร์(Web Browser) โดยผู้เรียน ผู้สอน และเพื่อนร่วมชั้นเรียนทุกคน สามารถติดต่อ
ปรึกษา แลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่างกันได้เช่นเดียวกับการเรียนในชั้นเรียนปกติ โดยอาศัย
เครื่องมือการติดต่อสื่อสารที่ทันสมัย สาหรับทุกคนที่สามารถเรียนรู้ได้ทุกเวลา และทุกสถานที่
(Learn for all : anyone, anywhere and anytime) ซึ่งการให้บริการการเรียนแบบออนไลน์ มี
องค์ประกอบที่สาคัญ 4 ส่วน โดยแต่ละส่วนจะต้องได้รับการออกแบบเป็นอย่างดี เพราะเมื่อนามา
ประกอบเข้าด้วยกันแล้วระบบทั้งหมดจะต้องทางานประสานกันได้อย่างลงตัวดังนี้
           1) เนื้อหาของบทเรียน
           2) ระบบบริหารการเรียน ทาหน้าที่เ ป็นศูนย์กลาง กาหนดลาดับของเนื้อหาในบทเรียน
เราเรียกระบบนี้ว่าระบบบริหารการเรียน (E-Learning Management System: LMS) ดังนั้น
ระบบบริหารการเรียนจึงเป็นส่วนที่เอื้ออานวยให้ผู้เรียนได้ศึกษาเรียนรู้ได้ด้วยตนเองจนจบหลักสูตร
           3) การติดต่อสื่อสาร การเรียนแบบ E-learning นารูปแบบการติดต่อสื่อสารแบบ 2 ทาง
มาใช้ประกอบในการเรียน โดยเครื่องมือที่ใช้ในการติดต่อสื่อสารอาจแบ่งได้เป็น 2 ประเภทคือ
ประเภทReal-time ได้แก่ Chat (message, voice), White board/Text slide, Real-time
Annotations, Interactive poll, Conferencing และอื่นๆ ส่วนอีกแบบคือ ประเภท Non real-
time ได้แก่ Web-board, E-mail
           3. หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-books)
           เป็นคาที่ใช้ในการอธิบายตัวอักษรที่มีลักษณะคล้ายคลึงกับหนังสื อ อยู่ในรูปแบบดิจิตัล
โดยแสดงให้เห็นบนจอคอมพิวเตอร์ เป็นหนังสือถูกนามาจัดพิมพ์ในรูปแบบดิจิตอล ไม่บังคับการ
พิมพ์ และการเข้าเล่ม แผ่นซีดีรอมสามารถจัดเก็บข้อมูลได้จานวนมากในรูปแบบของตัวอักษร
ทั้งลักษณะภาพ ดิจิตอล ภาพอนิเมชั่น วิดีโอ ภาพเคลื่อนไหวต่อเนื่อง คาพูด เสียงดนตรี และเสียง
อื่นๆ ที่ประกอบตัว อักษรเหล่านั้น มูลค่าของการจาลองลงบนแผ่นจานข้อมูลเสียง (Optical disc)
เพียงแค่เป็นเศษส่วน ของการจัดพิมพ์และการห่ อหนังสือในขณะที่มีค วามจาเป็นที่จะต้องมี
ฮาร์ดแวร์ในการอ่านหนังสือ อิเล็กทรอนิกส์ และขณะนี้มีราคาหลายระดับ ลักษณะของซอฟต์แวร์ที่
เพิ่มเป็นแบบไฮเปอร์มีเดีย (Hypermedia) สามารถแสดงผลของการค้นหาตัวอักษรได้ เชื่อมต่อกับ
ไฮเปอร์เท็กซ์ มีคาแนะนาที่ สามารถอธิบายศัพท์เป็นระบบออนไลน์ และอาจมีหมายเหตุตรงขอบ
เป็นต้น
           4. ห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์ (E-library)
           มาจากคาว่า Electronic Library หรือห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์ หมายถึง แหล่งความรู้ที่
บันทึกข้อมูลไว้ในเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่ายและให้บริการสารสนเทศทางอิเล็กทรอนิกส์หรือผ่าน
บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้         91


เครือ ข่ายอิ นเทอร์เน็ต ในลัก ษณะผสมผสานการทางานของระบบห้องสมุ ดอั ตโนมั ติ ห้อ งสมุ ด
ดิจิตอลและห้องสมุดเสมือน (น้าทิพย์ วิภาวิน, 2545)
           ในปัจจุบันสังคมไทยเราอยู่ในยุคข่าวสาร ทาให้มีการกระจายข้อมูลข่าวสารได้อย่าง ดังนั้น
ห้องสมุดจึงต้องเปลี่ยนแปลงระบบการทางานด้านต่างๆ โดยเฉพาะงานด้านบริการจะมีบทบาทที่
เด่ น ชัด ความต้ อ งการของผู้ใ ช้ บริ ก ารจึ งเป็ น แรงผลั ก ดั นให้ ห้อ งสมุ ด เปลี่ ย นการให้ บริ ก ารงาน
ห้องสมุดมาเป็นระบบอัตโนมัติ เทคโนโลยีของห้องห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์ มีดังนี้ (วาสนา อภิญญา
วงศ์ , 2538)
           1. การจัดการเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ เพื่อประโยชน์ในการรวบรวมและจัดเก็บสารสนเทศ
และสะดวกในการบริการส่งสารสนเทศแก่ผู้ใช้ ทรัยพากรสารสนเทศของห้องสมุดเสมือนจาเป็นต้อง
อยู่ในรูปของอิเล็กทรอนิกส์เพื่อสะดวกในการจัดเก็บและสืบค้นข้อมูล ตลอดจนการส่งข้อมูล
ระยะไกล เป็ น การเปลี่ ย นรู ป แบบสิ่ งพิ ม พ์ แ บบเดิ ม ให้ อ ยู่ ใ นรู ป ของอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ ที่ เ ครื่ อ ง
คอมพิวเตอร์สามารถอ่านได้ ทาได้โดยการจัดเก็บ ในรูปดิจิตัล ได้แก่ ซี ดีรอม หรือจัดเก็บใน
ฮาร์ดดิสต์
           2. ระบบเครือข่าย เพื่อเชื่อมโยงเครือข่ายของห้องสมุดกับผู้ใช้และแหล่งสารสนเทศอื่น ๆ
ทาให้ผู้ใช้สามารถติดต่อกับห้องสมุดและแหล่งสารสนเทศ อื่น ๆได้ทั่วโลก
           3. การส่งเอกสารสารสนเทศแก่ผู้ใช้ เพื่อให้ผู้ใช้ได้รับสารสนเทศที่ต้องการโดยไม่ต้องมายัง
ห้องสมุด มี 4 วิธีการคือ ทางไปรษณีย์ โทรสาร และทางอินเตอร์
           5. แผนการจัดการเรียนรู้ เป็นการบูรณาการเทคโนโลยีสารสนเทศในขั้นตอนต่างๆ ของ
แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ยึดหลักการบูรณาการที่เน้นผู้เป็นสาคัญโดยใช้เทคโนโลยีเข้ามาสางเสริม
สนับสนุนและพัฒนาศักยภาพการเรียนรู้ของผู้เรียน ซึ่งสังเคราะห์จากทฤษฎีการเรียนรู้คอนสตรัคติ
วิสต์ ทฤษฎีพุทธิปัญญานิยม และคุณลักษณะของโปรแกรมทางด้าน ICT ดังกรอบแนวคิดในการ
จัดการเรียนรู้ดังนี้
บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้      92



การเชื่อมโยงความรู้เดิมกับความรู้ใหม่    ตั้งประเด็นคาถาม/สนทนาเกี่ยวกับความรู้
                                        เดิมของผู้เรียนที่กระตุ้นด้วย ICT เช่น วีดิทัศน์
         Advanced organizer             Power point, Internet เป็นต้น
       ICT activate perception           ชี้แจงวัตถุประสงค์/แนะนาวิธีการเรียนรู้

   การกระตุ้นให้เกิดปัญหาและการ          นาเสนอสถานการณ์ปัญหา หรือประเด็น
     มอบหมายภารกิจการเรียนรู้           คาถาม และปฏิบัตภารกิจการเรียนรู้ที่ต้อง
                                                             ิ
                                        อาศัยทักษะการคิด และมีการเชื่อมโยง
                                        ประสบการณ์ที่หลากหลายโดยใช้ ICT เช่น
      Cognitive Constructivism
 ICT provide Problem, Question and
                                        web-based learning, WebQuset, Power
            Learning Task               point, การ post ทาง web board เป็นต้น
                                        เพื่อให้ผู้เรียนศึกษา

การส่งเสริมการสร้างและการแสวงหา          ผู้เรียนวิเคราะห์ประเด็นปัญหาหรือคาถาม
         ความรู้ด้วยตนเอง               และแสวงหาคาตอบด้วยตนเองจากแหล่ง
                                        เรียนรู้ที่หลากหลาย ได้แก่ Web site,
                                        Internet, Local wisdom, Wiki,
      Cognitive Constructivism          Multimedia เป็นต้น
         (Discovery learning)
       ICT Learning Resources
บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้   93




   การขยายแนวคิดที่หลากหลาย                   ร่วมมือกันแก้ปัญหา (Jigsaw, Think-Pair-
                                             Share, Graffiti., Group investigation)
         Social Constructivism                ระดมสมอง (Brainstorm)
          (Collaboration)                     แลกเปลียนมุมมองที่หลากหลาย (Share
                                                         ่
      Multiple perspectives                  cognition)
ICT support learner communication and        โดยใช้ ICT สนับสนุน เช่น web board, Chat
          Sharing Knowledge                  room, Social media, weblog เป็นต้น

การส่งเสริมการสร้างความเข้าใจของ             นาเสนอผลงานกลุม    ่
  ตนเองและกลุมโดยการสะท้อน
               ่                             สะท้อนความคิดจากเพื่อนต่างกลุมและ
                                                                              ่
   ความคิดและสรุปองค์ความรู้                ครูผสอน (Exit Ticket, TPS, Peer
                                                ู้
                                            mentoring)
                                             สะท้อนการรู้คิดของตนเอง
                                             ร่วมสรุปบทเรียน (Concept mapping)
         Metacognition                       ขยายองค์ความรูไปสู่การสร้างสรรค์ผลงาน
                                                               ้
ICT for presentation, Creation              และชีวิตประจาวัน
        and Conclusion                      โดยใช้ ICT สนับสนุน เช่น การใช้โปรแกรม
                                            นาเสนองาน การเขียนบันทึกความรู้ใน
                                            weblog การบูรณาการความรูโดยใช้ ICT ใน
                                                                        ้
                                            การสร้างผลงาน เป็นต้น




      ภาพที่ 5.2 แสดงกรอบแนวคิดในการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่บูรณาการ ICT ที่สังเคราะห์
 จากทฤษฎีการเรียนรู้คอนสตรัคติวิสต์ ทฤษฎีพุทธิปัญญานิยม และคุณลักษณะของโปรแกรม
                                     ทางด้าน ICT
บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้            94


            จากกรอบแนวคิดในการบูรณาการเทคโนโลยีสารสนเทศในการจัดการเรียนรู้ แสดงให้เห็น
ถึ ง ความสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า งวิ ธี ก ารจั ด การเรี ย นรู้ (Method) ร่ ว มกั บ สื่ อ (Media) ซึ่ ง ในที่ นี้ ก็ คื อ
เทคโนโลยีสารสนเทศ เช่น คอมพิวเตอร์ อินเทอร์เน็ต วีดิทัศน์ ฯลฯ การการเลือกวิธีการจะต้องอยู่
บนพื้นฐานของการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญและเลือกใช้สื่อให้สนองต่อการรับรู้ของผู้เรียน ดัง
กรอบแนวคิดข้างต้น ในขั้นแรกที่เป็นการเชื่อมโยงความรู้เดิมกับความรู้ใหม่ผู้สอนอาจกระตุ้นให้
ผู้เรียนใส่ใจหรือกระตุ้นประสบการณ์เดิมโดยใช้สื่อพวกวีดิทัศน์ และตั้งคาถามที่ให้ผู้เรียนสามารถ
เรียกกลับประสบการณ์เดิมเหล่ านั้นมาใช้ในการเรียนรู้สิ่งใหม่ ขั้นจัดประสบการณ์เรียนรู้ตั้งแต่ขั้น
การกระตุ้ นให้ เกิ ดปั ญ หาและการมอบหมายภารกิ จ การเรี ยนรู้ การส่งเสริ มการสร้า งและการ
แสวงหาความรู้ด้วยตนเอง และการขยายแนวคิดที่หลากหลาย เทคโนโลยีสารสนเทศที่สามารถ
สนับสนุนการแสวงหาและค้นพบความรู้ เช่น อินเทอร์เน็ต เป็นต้น ในการสร้างและนาเสนอผลงาน
ผู้สอนอาจให้ผู้เรียนใช้โปรแกรมประยุกต์คอมพิวเตอร์ เช่น MSWord, MSPower point เป็นต้น
และอาจใช้ Social media ในการแลกเปลี่ยนแนวคิด ติดต่อสื่อสารระหว่างผู้เรียนอื่นๆได้อีกด้วย
บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้                 95


ตัวอย่างแผนการจัดการเรียนรู้ที่บูรณาการเทคโนโลยีสารสนเทศ

            แผนการจัดการเรียนรู้ครั้งที่ 1 สาระการเรียนรู.้ ................................. ชั้น...........
            สัปดาห์ที่.......... เรื่อง.................................................หน่วย...............................
            วันที่....................................     เวลา ……………………….. น.
 ผู้สอน:
สาระสาคัญของเนื้อหา
…………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………
กระบวนการจัดการเรียนรู้
      กระบวนการเรียนรู้                     กิจกรรมการเรียนรู้                                          สื่อแหล่งเรียนรู้
 ขั้นนา
 การเชื่อมโยงความรู้เดิมกับ 1. น าสนทนาเพื่ อ เชื่ อ มโยงเข้ า สู่ เ รื่ อ งที่ จ ะ                    วีดิทัศน์
 ความรู้ใหม่                ศึ ก ษาโดยตั้ ง ประเด็ น ค าถาม/สนทนา                                      Power point,
                            เกี่ยวกับความรู้เดิมของผู้เรียนที่กระตุ้นด้วย                              Internet
                            ICT
                            2. ชี้แจงวัตถุประสงค์
                            3. อธิ บ ายขั้น ตอนการด าเนิ น กิ จ กรรมการ
                            เรียนรู้ให้ ผู้เรียนทราบ
 ขั้นการเรียนรู้
 การกระตุ้นให้เกิดปัญหา     -ผู้ ส อนแบ่ ง ผู้ เ รี ย นเป็ น กลุ่ ม ๆละ………คน                           web-based
 และการมอบหมายภารกิจ จานวน…………กลุ่ม                                                                    learning,
 การเรียนรู้                -ผู้ ส อนมอบปั ญ หาหรื อ ภารกิ จ การเรี ย นรู้                             WebQuset,
                            ผ่านทาง ICT ในการนาเสนอ                                                    Power point,
                            -ผู้เรียนแต่ละกลุ่มศึกษาภารกิจการเรียนรู้ที่                               การ post ทาง
                            เ น้ น ก า ร คิ ด (วิ เ ค ร า ะ ห์ , สั ง เ ค ร า ะ ห์                     web board
                            ,สร้างสรรค์) ผ่านทางการใช้ ICT
                            -ผู้สอนคอยกระตุ้ นให้ผู้ เรี ยนศึก ษาภารกิ จ
                            และท้ า ทายให้ ผู้ เ รี ย นคิ ด หาค าตอบตาม
                            ภารกิจแต่ละข้อ
 การส่งเสริมการสร้างและ -ผู้เรียนวิเคราะห์ประเด็นปัญหาหรือคาถาม                                        Web site,
 การแสวงหาความรู้ด้วย       และแสวงหาค าตอบด้ วยตนเองจากแหล่ ง                                         Internet,
 ตนเอง                      เรียนรู้ที่หลากหลาย                                                        Local
                            -ผู้สอนให้คาแนะนาเกี่ยวกับแหล่งเรียนรู้ที่                                 wisdom, Wiki,
                            หลากหลาย เช่น สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้                                    Multimedia
                            บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต ภูมิปญญาท้องถิ่นั
บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้                                96


         กระบวนการเรียนรู้                                         กิจกรรมการเรียนรู้                                           สื่อแหล่งเรียนรู้
                                                    การค้นคว้าผ่านการใช้ ICT
  การขยายแนวคิดที่                                  -ผู้ เ รี ย นระดมสมองเพื่ อ แก้ ปั ญ หา และ                                web board,
  หลากหลาย                                          แลกเปลี่ยนมุมองจากผู้เรียนอื่นๆโดยในการ                                    Chat room,
                                                    ปรึ ก ษาหารื อ แนะน าให้ ใ ช้ ว าจาที่ สุ ภ าพ                             Social media,
                                                    อ่ อ นโยน และร่ ว มมื อ กั น แก้ ปั ญ หาอย่ า ง                            weblog
                                                    สร้างสรรค์ มีส่วนร่วมกันทุกคน
                                                    -ผู้ ส อนคอยให้ ค าแนะน าชี้ แ นะ และใช่
                                                    ช่อ งทางการสื่ อ จากผู้เ ชี่ ย วชาญหรื อ เพื่ อ น
                                                    อื่นๆผ่านทาง Social media, email, we
                                                    board เป็นต้น
  การส่งเสริมการสร้างความ                           -ผู้เรียนแต่ละกลุ่มนาเสนอเหตุผลในการติด                                    web board,
  เข้าใจของตนเองและกลุ่ม                            แบบบั น ทึ ก การปฏิ บั ติ ภ ารกิ จ ลงกระดาน                                Chat room,
  โดยการสะท้อนความคิด                               สนทนาบนเครือข่าย (Web board)                                               Social media,
  และสรุปองค์ความรู้                                -ผู้สอนกระตุ้นให้ผู้เรียนสรุปความหมายของ                                   weblog,
                                                    เนื้อหา ในรูปแบบ Peer mentoring ผ่าน                                       Power point
                                                    การสนทนาบนเครือข่าย
                                                    -ผู้สอนมอบหมายให้ผู้เรียนสรุปองค์ความรู้
                                                    ในรูปแบบ Mind map และ เขียนบันทึก
                                                    ความรู้ที่ได้ประจาวันใน Weblog

งานที่มอบหมาย
............................................................................................................................................................
การประเมินผลและสะท้อนผลการเรียนรู้
                1. ด้านกระบวนการจัดการเรียนรู้
                ……………………………………………………………………………………………………………………………
                2. ด้านกระบวนการเรียนรู้ของผู้เรียน
                ............................................................................................................................................
               3. ค้านความคิดเห็นของผูเ้ รียน
               .............................................................................................................................................
                                                                                               ลงชื่อ.........................................
                                                                                               (...................................................)
                                                                                                                         ครู
                                                                                                            ......./........./.......
                                                                                               ลงชื่อ.......................................
                                                                                               (...................................................)
                                                                                                        ผู้อานวยการโรงเรียน
                                                                                                             ......./........./.......
บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้   97



คาถามสะท้อนความคิด

     ท่านคิดว่าเทคโนโลยีสารสนเทศที่สอดคล้องกับสาระการเรียนรู้
      วิชาเอกของท่านคือนวัตกรรมใด เพราะอะไร
     ท่านคิดว่าเทคโนโลยีสารสนเทศสามารถลดข้อจากัดด้านการเรียน
      การสอนของครูและนักเรียนอย่างไร
     ท่านคิดว่าเทคโนโลยีสารสนเทศลักษณะใดที่มีความเหมาะสมกับการเรียนรู้ในยุคปัจจุบัน
      เพราะอะไร

กิจกรรมแนะนา

ให้ท่านลองเสนอแผนการจัดการเรียนรู้ หรือออกแบบสื่อการเรียนรู้ ที่ใ ช้
เทคโนโลยีสารสนเทศไปเป็นพื้นฐานเพื่อใช้ในการเรียนรู้ในสาระวิชาที่ท่าน
รับผิดชอบ โดยนวัตกรรมที่สร้างนั้นจะต้องส่งเสริมกระบวนการคิด การ
แสวงหาความรู้ และสนับสนุนเป้าหมายรายวิชาตามหลักสูตร

บรรณานุกรม

ครรชิต มาลัยวงค์. (2538). ก้าวไกลไปกับคอมพิวเตอร์ : สาระของคอมพิวเตอร์ที่ข้าราชการ
        ต้องรู้. กรุงเทพ: ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ.
ทักษิณา สวนานนท์. (2543). พจนานุกรมศัพท์คอมพิวเตอร์ใน Thai Software Dictionary
        version 3.1. กรุงเทพ: ไทยซอร์ฟแวร์เอ็นเตอร์ไพรส.
ทักษิณา สวนานนท์ และฐานิศรา เกียรติบารมี. (2546). พจนานกรมศัพท์คอมพิวเตอร์และ
        อินเตอร์เน็ต. (พิมพ์ครั้งที่ 10). กรุงเทพ: วี.ทีซี.คอมมิวนิเคชั่น.
น้าทิพย์ วิภาวิน. (2545). e-library. กรุงเทพ: เอส อาร์ พริ้นติ้ง แมสโปรดักส์.
วาสนา อภิญญาวงศ์.(2538). “Virtual Library” ข่าวสารห้องสมุดในจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
        11, 3-4 (พฤษภาคม – สิงหาคม): 26-29.
สมเด็จพระเทพกับงานไอทีเฉลิมพระเกียรติ. (2538). เทคโนโลยีสารสนเทศก้าวไกลเศรษฐกิจไทย
        มั่นคง. กรุงเทพ
สุมาลี ชัยเจริญ. (2548). เอกสารประกอบการอบรมการบูรณาการ ICT ในการจัดการเรียนรู้ .
        คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น เอกสารอัดสาเนา
Driscoll, M. P. (1994). Psychology of learning for instruction. Boston: Allyn and
        Bacon.
Jimba, S.W. (1999). Information technology and underdevelopment the Third
        World. Library Review.
บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้   98


Souter, D. (1999). The role information and communication technologies
      democratic development. The Journal of Policy, Regulation and Strategy
      for Telecommunications Information and Media, 1,5, 405-417.

More Related Content

What's hot

Introduction to innovation 2013 10-27
Introduction to innovation 2013 10-27Introduction to innovation 2013 10-27
Introduction to innovation 2013 10-27khon Kaen University
 
การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...
การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...
การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...Nakhon Phanom University
 
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยี
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยี
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีPennapa Kumpang
 
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้panisa thepthawat
 
งานนำเสนอ มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้
งานนำเสนอ มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้งานนำเสนอ มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้
งานนำเสนอ มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้Aon Onuma
 
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษาN'Fern White-Choc
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6Tar Bt
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1issaraka
 
ภารกิจในบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
ภารกิจในบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษาภารกิจในบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
ภารกิจในบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษาB'nust Thaporn
 
ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา..Week 1
ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา..Week 1ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา..Week 1
ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา..Week 1ถูกต้อง ไม่จำเป็นต้องถูกใจ
 
Aect present wichit-current issue in edu tech
Aect present wichit-current issue in edu techAect present wichit-current issue in edu tech
Aect present wichit-current issue in edu techWichit Chawaha
 
มุมมองทางจิตวิทยา ที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยา ที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยา ที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยา ที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษาAlice Misty
 
E learning กับ social media จะไปด้วยกันอย่างไรเพื่อพัฒนาการศึกษาไทย
E learning กับ social media จะไปด้วยกันอย่างไรเพื่อพัฒนาการศึกษาไทยE learning กับ social media จะไปด้วยกันอย่างไรเพื่อพัฒนาการศึกษาไทย
E learning กับ social media จะไปด้วยกันอย่างไรเพื่อพัฒนาการศึกษาไทยKobwit Piriyawat
 
รายงานอบรม Ict innovation at korea
รายงานอบรม Ict innovation at  koreaรายงานอบรม Ict innovation at  korea
รายงานอบรม Ict innovation at koreaKobwit Piriyawat
 

What's hot (17)

Introduction to innovation 2013 10-27
Introduction to innovation 2013 10-27Introduction to innovation 2013 10-27
Introduction to innovation 2013 10-27
 
การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...
การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...
การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...
 
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยี
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยี
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยี
 
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
 
งานนำเสนอ มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้
งานนำเสนอ มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้งานนำเสนอ มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้
งานนำเสนอ มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้
 
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
ภารกิจในบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
ภารกิจในบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษาภารกิจในบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
ภารกิจในบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
 
ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา..Week 1
ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา..Week 1ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา..Week 1
ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา..Week 1
 
นวัตกรรมทางการศึกษา
นวัตกรรมทางการศึกษานวัตกรรมทางการศึกษา
นวัตกรรมทางการศึกษา
 
Aect present wichit-current issue in edu tech
Aect present wichit-current issue in edu techAect present wichit-current issue in edu tech
Aect present wichit-current issue in edu tech
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
มุมมองทางจิตวิทยา ที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยา ที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยา ที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยา ที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
 
E learning กับ social media จะไปด้วยกันอย่างไรเพื่อพัฒนาการศึกษาไทย
E learning กับ social media จะไปด้วยกันอย่างไรเพื่อพัฒนาการศึกษาไทยE learning กับ social media จะไปด้วยกันอย่างไรเพื่อพัฒนาการศึกษาไทย
E learning กับ social media จะไปด้วยกันอย่างไรเพื่อพัฒนาการศึกษาไทย
 
รายงานอบรม Ict innovation at korea
รายงานอบรม Ict innovation at  koreaรายงานอบรม Ict innovation at  korea
รายงานอบรม Ict innovation at korea
 

Viewers also liked

บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้Vi Mengdie
 
Ict literacy
Ict literacyIct literacy
Ict literacyBodaidog
 
หน่วยที่ 3 การคำนวณของคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 3 การคำนวณของคอมพิวเตอร์หน่วยที่ 3 การคำนวณของคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 3 การคำนวณของคอมพิวเตอร์จูน นะค่ะ
 
ทฤษฎีการเรียนรู้010-015-030-036
ทฤษฎีการเรียนรู้010-015-030-036ทฤษฎีการเรียนรู้010-015-030-036
ทฤษฎีการเรียนรู้010-015-030-036MooHnoon Choiyz
 

Viewers also liked (20)

บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้
 
Ict literacy
Ict literacyIct literacy
Ict literacy
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
หน่วยที่ 3 การคำนวณของคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 3 การคำนวณของคอมพิวเตอร์หน่วยที่ 3 การคำนวณของคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 3 การคำนวณของคอมพิวเตอร์
 
แบบสอบถามการใช้เทคโนโลยี
แบบสอบถามการใช้เทคโนโลยีแบบสอบถามการใช้เทคโนโลยี
แบบสอบถามการใช้เทคโนโลยี
 
บทที่ 4 new
บทที่ 4 newบทที่ 4 new
บทที่ 4 new
 
บทที่ 4 new
บทที่ 4 newบทที่ 4 new
บทที่ 4 new
 
บทที่ 4 new
บทที่ 4 newบทที่ 4 new
บทที่ 4 new
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
บทที่ 4 new
บทที่ 4 newบทที่ 4 new
บทที่ 4 new
 
บทที่ 4
บทที่ 4 บทที่ 4
บทที่ 4
 
Story board
Story boardStory board
Story board
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
บทที่ 10
บทที่ 10บทที่ 10
บทที่ 10
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
 
Constructivist theories
Constructivist  theoriesConstructivist  theories
Constructivist theories
 
ทฤษฎีการเรียนรู้010-015-030-036
ทฤษฎีการเรียนรู้010-015-030-036ทฤษฎีการเรียนรู้010-015-030-036
ทฤษฎีการเรียนรู้010-015-030-036
 

Similar to บทที่ 6new

บทที่1(เสร็จ)
บทที่1(เสร็จ)บทที่1(เสร็จ)
บทที่1(เสร็จ)Annop Phetchakhong
 
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันเทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันChaiwit Khempanya
 
13 เทคโนโลยีสารสนเทศกับสังคมของมนุษย์
13 เทคโนโลยีสารสนเทศกับสังคมของมนุษย์13 เทคโนโลยีสารสนเทศกับสังคมของมนุษย์
13 เทคโนโลยีสารสนเทศกับสังคมของมนุษย์teaw-sirinapa
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องAriya Soparux
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Kawinna2538
 
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศKriangx Ch
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องChalita Vitamilkz
 
รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา โดยกอบวิทย์...
รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา  โดยกอบวิทย์...รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา  โดยกอบวิทย์...
รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา โดยกอบวิทย์...Kobwit Piriyawat
 
Chapter6
Chapter6Chapter6
Chapter6Bee Bie
 
บทที่2
บทที่2บทที่2
บทที่2airly2011
 
คำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชาคำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชาNaitbuu
 
ใบงานที่2
ใบงานที่2ใบงานที่2
ใบงานที่2Nontt' Panich
 
ความหมาย ความเป็นมา วิวัฒนาการ บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร
ความหมาย ความเป็นมา วิวัฒนาการ บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสารความหมาย ความเป็นมา วิวัฒนาการ บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร
ความหมาย ความเป็นมา วิวัฒนาการ บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสารสราวุฒิ จบศรี
 
สถานการณ์ปัญหาบทที่ 6
สถานการณ์ปัญหาบทที่ 6สถานการณ์ปัญหาบทที่ 6
สถานการณ์ปัญหาบทที่ 6oraya-s
 
การบูรณาการสมรรถนะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒน...
การบูรณาการสมรรถนะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒน...การบูรณาการสมรรถนะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒน...
การบูรณาการสมรรถนะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒน...Panita Wannapiroon Kmutnb
 
แผนคอมฯ ม.2 1
แผนคอมฯ ม.2 1แผนคอมฯ ม.2 1
แผนคอมฯ ม.2 1Surapong Jakang
 
ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1Rattana Wongphu-nga
 
แผนคอมฯ ม.1 1-77
แผนคอมฯ ม.1 1-77แผนคอมฯ ม.1 1-77
แผนคอมฯ ม.1 1-77Surapong Jakang
 

Similar to บทที่ 6new (20)

บทที่1(เสร็จ)
บทที่1(เสร็จ)บทที่1(เสร็จ)
บทที่1(เสร็จ)
 
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันเทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
 
13 เทคโนโลยีสารสนเทศกับสังคมของมนุษย์
13 เทคโนโลยีสารสนเทศกับสังคมของมนุษย์13 เทคโนโลยีสารสนเทศกับสังคมของมนุษย์
13 เทคโนโลยีสารสนเทศกับสังคมของมนุษย์
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา โดยกอบวิทย์...
รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา  โดยกอบวิทย์...รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา  โดยกอบวิทย์...
รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา โดยกอบวิทย์...
 
Chapter6
Chapter6Chapter6
Chapter6
 
บทที่2
บทที่2บทที่2
บทที่2
 
คำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชาคำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชา
 
ใบงานที่2
ใบงานที่2ใบงานที่2
ใบงานที่2
 
ความหมาย ความเป็นมา วิวัฒนาการ บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร
ความหมาย ความเป็นมา วิวัฒนาการ บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสารความหมาย ความเป็นมา วิวัฒนาการ บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร
ความหมาย ความเป็นมา วิวัฒนาการ บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร
 
สถานการณ์ปัญหาบทที่ 6
สถานการณ์ปัญหาบทที่ 6สถานการณ์ปัญหาบทที่ 6
สถานการณ์ปัญหาบทที่ 6
 
การบูรณาการสมรรถนะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒน...
การบูรณาการสมรรถนะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒน...การบูรณาการสมรรถนะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒน...
การบูรณาการสมรรถนะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒน...
 
แผนคอมฯ ม.2 1
แผนคอมฯ ม.2 1แผนคอมฯ ม.2 1
แผนคอมฯ ม.2 1
 
ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1
 
แผนคอมฯ ม.1 1-77
แผนคอมฯ ม.1 1-77แผนคอมฯ ม.1 1-77
แผนคอมฯ ม.1 1-77
 

บทที่ 6new

  • 1. บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ 81 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
  • 2. บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ 82 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ บทที่ 6 โครงร่างเนื้อหาของบท คาสาคัญ 1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ  สารสนเทศ 2. ความหมายและความสาคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ  เทคโนโลยีสารสนเทศ 3. การสื่อสารด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ  สิ่งแวดล้อมทางการ 4. การบูรณาการเทคโนโลยีสารสนเทศในการจัดการเรียนรู้ เรียนรู้ วัตถุประสงค์การเรียนรู้  การเรียนบนเครือข่าย 1. ออกแบบและสร้างเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อส่งเสริมการ  หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เรียนรูได้ ้  โทรทัศน์ทางไกล 2. วิเคราะห์บทบาทและความสาคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ  E-learning ในการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผูเ้ รียนเป็นสาคัญได้  Social media 3. เลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศให้เหมาะสมกับสภาพบริบท การจัดการเรียนรูได้ ้ กิจกรรมการเรียนรู้ 1. ผู้สอนให้มโนทัศน์เชิงทฤษฎี หลักการ เรื่อง เทคโนโลยี สารสนเทศเพื่อการศึกษา 2. นักศึกษาแบ่งเป็นกลุ่มย่อย กลุ่มละ 3 คน ศึกษาจาก สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้บนเครือข่าย http://ednet.kku.ac.th/~sumcha/web-230301/ โดย ศึกษาสถานการณ์ปัญหาบทที่ 6 วิเคราะห์ทาความเข้าใจ ค้นหาคาตอบจากเอกสารประกอบการสอนและแหล่ง เรียนรู้บนเครือข่ายและร่วมกันสรุปคาตอบ และนาเสนอใน รูปแบบ Power point 3. นักศึกษาร่วมกันสรุปองค์ความรู้และแลกเปลียนความ ่ คิดเห็น โดยผูสอนตั้งประเด็น และอธิบายเพิ่มเติม ้
  • 3. บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ 83 สถานการณ์ปัญหา(Problem-based learning) ภายหลังที่รัฐบาลได้จัดการปฏิรูปการศึกษา ซึ่งมีหัวใจสาคัญอยู่ที่ "การยกระดับคุณภาพ ประชากรของประเทศให้สูงขึ้น คือ ผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้และถือ ว่าผู้เรียนมีความสาคัญที่สุด ที่ต้องส่งเสริมและพัฒนาให้เต็มตามศักยภาพ ฝึกทักษะ กระบวนการ คิด การประยุกต์ความรู้ และการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง สามารถในการคิดวิเคราะห์ และริเริ่ม สร้างสรรค์ มีความสามารถในการแก้ปัญหา ตลอดจนรู้จักการทางานเป็นหมู่คณะ" มีการนา เทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาใช้เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการเรียนรู้ ที่ผู้เรียนสามารถเข้าถึงได้อย่าง หลากหลาย สามารถเรียนได้ทุกที่ทุกเวลา เพื่อที่จะทาให้ผู้เรียนเกิดความรู้ความเข้าใจ และ เหมาะสมกับยุคแห่งข้อมูลสารสนเทศที่มีอยู่อย่างมากมาย รวมไปถึงการทาให้การเรียนรู้นั้นเกิด ประสิทธิภาพสูงสุด ทั้งยังเพื่อเป็นการเตรียมพัฒนาผู้เรียน ให้มีคุณลักษณะที่เหมาะสมกับสังคมยุค โลกาภิวัตน์ ในฐานะที่ท่านจะเป็นครูพันธ์ใหม่ ท่านจะต้องปฏิบัติภารกิจต่อไปนี้ ภารกิจ 1. วิเคราะห์บทบาทและความสาคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศกับการพัฒนาการศึกษา ตามแนวทางปฏิรูปการศึกษา 2. วิเคราะห์หาวิธีการที่จะประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการจัดการเรียนรู้ที่เน้น ผู้เรียนเป็นสาคัญ 3. ให้ท่านพิจารณาเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการจั ดการเรียนรู้ ตามบริบทของโรงเรียนที่กาหนดให้ต่อไปนี้ พร้อมทั้งให้เหตุผลประกอบการอธิบาย โรงเรี ย นบ้ า นหนองงู เ ห่ า เป็ น โรงเรี ย นที่ อ ยู่ ห่ า งไกลในถิ่ น ธุ ร ะกั น ดาร โรงเรี ย นมี คอมพิวเตอร์สามเครื่อง มีโทรทัศน์ ไม่มีสัญญาณโทรศัพท์ โรงเรี ย นมั ธ ยมไฮโซเบตง เป็ น โรงเรี ย นที่ ตั้ ง อยู่ ใ นเมื อ ง มี ค วามพร้ อ มทางด้ า นสื่ อ เทคโนโลยี มีห้องคอมพิวเตอร์ มีระบบอินเตอร์เน็ตความเร็วสูง แต่ครูมีไม่เพียงพอเนื่องจากย้ายหนี เหตุการณ์ความไม่สงบ
  • 4. บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ 84 ความรูพื้นฐานเกี่ยวกับ ้ ความหมายและความสาคัญ เทคโนโลยีสารสนเทศ ของเทคโนโลยีสารสนเทศ สาระสาคัญ ในบทที่ 6 การบูรณาการเทคโนโลยี สารสนเทศในการจัดการเรียนรู้ ความรูเบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ ้ ปัจจุบันสังคมของมนุษย์มีการเปลี่ยนแปลงความเป็นอยูไปอย่างรวดเร็ว กล่าวกันว่าได้เกิด ่ การเปลี่ยนแปลงในลักษณะที่เรียกว่า การปฏิวัติมาแล้วสองครั้ง ครั้งแรกเกิดจากการที่มนุษย์รู้จักใช้ ระบบชลประทานเพื่อการเพาะปลูก สังคมความเป็นอยู่ของมนุษย์จึงเปลี่ยนจากการเร่ร่อนมาเป็น การตั้งหลักแหล่งเพื่อทาการเกษตร ต่อมาเมื่อประมาณร้อยกว่าปีที่แล้ว ก่อนสงครามโลกครั้งที่ 1 หลังจากที่เจมส์วัตต์ประดิษฐ์เครื่องจักรไอน้า มนุษย์รู้จักนาเอาเครื่องจักรมาช่วยในอุตสาหกรรม การผลิตและช่วยในการสร้างยานพาหนะเพื่อ การคมนาคมขนส่ง ผลที่ตามมาทาให้เกิดการปฏิวั ติ ทางอุตสาหกรรม สังคมความเป็นอยู่ของมนุษย์จึงเปลี่ยนจากสังคมเกษตรมาเป็นสังคมเมือง และ เกิดรวมกันเป็นเมืองอุตสาหกรรมต่างๆ กิจวัตรในชีวิตประจาวันของมนุษย์เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยี มากขึ้น จนดูเหมือนว่าเทคโนโลยีเป็นปัจจัยที่สาคัญอย่างหนึ่งของมนุษย์ ซึ่งทาให้มนุษย์ ได้รับความ สะดวกสบายและประสบความสาเร็จในงานด้านต่าง ๆ เช่น เทคโนโลยีทางด้านอวกาศ ทางด้านการ ผลิต ทางด้านอุตสาหกรรม และทางด้านพาณิชกรรม ความก้าวหน้าทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ทาให้มีการพัฒนาคิดค้นสิ่งอานวย ความสะดวกสบายต่ อการดาเนิ นชี วิต เป็ นอั นมาก เทคโนโลยี ไ ด้เ ข้า มาเสริม ปัจ จัย พื้น ฐานการ ดารงชีวิตได้เป็นอย่างดี เทคโนโลยีทาให้การสร้างที่พักอาศัยมีคุณภาพมาตรฐาน สามารถผลิตสินค้า และให้บริการต่าง ๆ เพื่อตอบสนองความต้องการของมนุษย์มากขึ้น เทคโนโลยีทาให้ระบบการผลิต สามารถผลิ ต สิ น ค้ า ได้ เ ป็ น จ านวนมากมี ร าคาถู ก ลง สิ น ค้ า ได้ คุ ณ ภาพ เทคโนโลยี ท าให้ มี ก าร ติดต่อสื่อสารกันได้สะดวก การเดินทางเชื่อมโยงถึงกันทาให้ประชากรในโลกติดต่อรับฟังข่าวสารกัน ได้ตลอดเวลา
  • 5. บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ 85 สาหรับการสร้างเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการจัดการในปัจจุบันนี้สวนใหญ่มกจะสร้างโดย ่ ั ใช้ระบบคอมพิวเตอร์เป็นหลักเนื่องจากคอมพิวเตอร์มีค วามสามารถและมีประสิทธิภาพในการ จัดการเก็บข้อมูลมากกว่าอุปกรณ์อย่างอื่น รวมทั้งยังสามารถคานวณประมวลผลข้อมูลได้อย่าง รวดเร็วถูกต้องแม่นยาแต่ที่จริงแล้วการสร้างระบบสารสนเทศนั้นไม่จาเป็นต้องสร้างมาจากระบบ คอมพิวเตอร์เพียงอย่างเดียวเราสามารถใช้อุปกรณ์ชนิดอื่นสร้างระบบสารสนเทศได้ แต่เนื่องจาก คอมพิ ว เตอร์ ส ามารถท างานและจั ด การข้อ มู ล ได้ ดีก ว่ า อุ ป กรณ์ ชนิ ดอื่ น จึ งทาให้ ค อมพิ ว เตอร์ กลายเป็นอุปกรณ์สาคัญในการสร้างระบบสารสนเทศ เทคโนโลยีสารสนเทศมี ประโยชน์ ต่อ การพัฒ นาประเทศให้เ จริญ ก้า วหน้าเทคโนโลยี สารสนเทศ เป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับวิถีความเป็นอยู่ของสังคมสมัยใหม่อยู่มาก เทคโนโลยีสารสนเทศ ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงกับโลกครั้งใหญ่ทั้งในอดีตปัจจุบันและอนาคต หรือ กล่าวได้ว่าเทคโนโลยี สารสนเทศมี ผ ลกระทบต่ อ ทุ ก สิ่ ง ทุ ก อย่ า งทั้ ง ทางการด าเนิ น ชี วิ ต เศรษฐกิ จ สั งคม การเมื อ ง การศึกษาและอื่นๆ เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี สื่อสารในรูปแบบต่าง ๆเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ ลักษณะ เด่นที่สาคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ คือ ช่วยเพิ่มผลผลิต ลดต้นทุนและเพิ่มประสิทธิภาพการทางานการประกอบการทางด้านเศรษฐกิจ การค้า และการอุตสาหกรรม จาเป็นต้องหาวิธีในการเพิ่มผลผลิตลดต้นทุนและเพิ่มประสิทธิภาพใน การทางาน คอมพิวเตอร์และระบบสื่อสารช่วยทาให้เกิดระบบอัตโนมัติ เราสามารถฝากถอนเงินสด ผ่านเครื่องเอทีเอ็มได้ตลอดเวลา ธนาคารสามารถให้บริการได้ดีขึ้น ทาให้การบริการโดยผู้บริหารที่มี ประสบการณ์นั้นให้เหลือเพียงมัธยมศึกษาตอนปลาย ความหมายและความสาคัญเทคโนโลยีสารสนเทศ ความหมายเทคโนโลยีสารสนเทศ เทคโนโลยีระบบสารสนเทศ เป็นหนึ่งในเครื่องมือหลายๆ ตัวที่ผู้บริหารใช้สาหรับจัดการ กับการเปลี่ยนแปลง โดยเฉพาะอย่างยิ่งในปัจจุบัน เทคโนโลยีสารสนเทศเปรียบเสมือนการที่เชื่อม ส่วนต่างๆ ขององค์กรและองค์กรต่างๆ เข้าด้วยกัน ระบบสารสนเทศอิงการใช้คอมพิวเตอร์ จึงเป็น การใช้เทคโนโลยีฮาร์ดแวร์ เทคโนโลยีซอฟต์แวร์ เทคโนโลยีการเก็บ และเทคโนโลยีสื่อสารทางไกล สารสนเทศ หมายถึง ข้อมูลข่าวสาร ความรู้ต่างๆ ที่ได้รับการสรุป คานวณ จัดเรียง หรือ ประมวลแล้วจากข้อมูลต่างๆ ที่เกี่ยวข้องอย่างเป็นระบบตามหลักวิชาการ จนได้เป็นข้อความรู้ เพื่อ นามาเผยแพร่และใช้ประโยชน์ในงานด้านต่าง ๆ เทคโนโลยี หมายถึง การประยุกต์เอาความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์มาใช้ให้เกิดประโยชน์ การศึกษาพัฒนาองค์ความรู้ต่างๆ ก็เพื่อให้เข้าใจธรรมชาติ กฎเกณฑ์ของสิ่งต่างๆ และหาทางนามา ประยุกต์ให้เกิดประโยชน์ เทคโนโลยีจึงเป็นค้าที่มีความหมายกว้างไกล เป็นคาที่เราได้พบเห็นและ ได้ยินอยู่ตลอดมา เมื่อรวมคาว่า เทคโนโลยีกับสารสนเทศเข้าด้วยกัน จึงหมายถึงเทคโนโลยีที่ใช้จัดการ สารสนเทศ เป็นเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องตั้งแต่การรวบรวมการจัดเก็บข้อมูล การประมวลผล การพิมพ์ การสร้างรายงาน การสื่อสารข้อมูล ฯลฯ เทคโนโลยีสารสนเทศจะรวมไปถึงเทคโนโลยีที่ทาให้เกิด ระบบการให้บริการ การใช้ และการดูแลข้อมูล
  • 6. บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ 86 ความสาคัญของสารสนเทศ สารสนเทศแท้จริงแล้วย่อมมีความสาคัญต่อทุกสิ่งที่เกี่ยวข้อง เช่น ด้านการเมือง การ ปกครอง ด้านการศึกษา ด้าน เศรษฐกิจ ด้านสังคม ฯลฯ ในลักษณะดังต่อไปนี้ 1. ท าให้ ผู้ บ ริ โ ภคสารสนเทศเกิ ด ความรู้ (Knowledge) และความเข้ า ใจ (Understanding) ในเรื่องดังกล่าวข้างต้น 2. เมื่อเรารู้และเข้าใจในเรื่องที่เกี่ยวข้องแล้ว สารสนเทศจะช่วยให้เราสามารถตัดสินใจ (Decision Making) ในเรื่องต่างๆ ได้อย่างเหมาะสม 3. นอกจากนั้นสารสนเทศ ยังสามารถทาให้เราสามารถแก้ไขปัญหา (Solving Problem) ที่เกิดขึ้นได้อย่างถูกต้อง แม่นยา และรวดเร็ว ทันเวลากับสถานการณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น ความสาคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มี 6 ประการ Souter (1999) ได้แก่ ประการแรก การสื่อสารถือเป็นสิ่งจาเป็นในการดาเนินกิจกรรมต่าง ๆ ของมนุษย์ สิ่ง สาคัญที่มีส่วนในการพัฒนากิจกรรมต่างๆ ของมนุษย์ประกอบด้วย Communications media, การสื่อสารโทรคมนาคม (Telecoms) และเทคโนโลยีสารสนเทศ (IT) ประการที่สอง เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารประกอบด้วยผลิตภัณฑ์หลักที่มากไป กว่าโทรศัพท์ และคอมพิวเตอร์ เช่น แฟกซ์ อินเทอร์เน็ต อีเมล์ ทาให้สารสนเทศเผยแพร่หรือ กระจายออกไปในที่ต่างๆ ได้สะดวก ประการที่สาม เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมีผลให้งานด้านต่าง ๆ มีราคาถูกลง ประการที่สี่ เครือข่ายสื่อสาร (Communication networks) ได้รับประโยชน์จาก เครือข่ายภายนอก เนื่องจากจานวนการใช้เครือข่าย จานวนผู้เชื่อมต่อ และจานวนผู้ที่มีศักยภาพใน การเข้าเชื่อมต่อกับเครือข่ายนับวันจะเพิ่มสูงขึ้น ประการที่ห้า เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารทาให้ ฮาร์ดแวร์ คอมพิวเตอร์ และ ต้นทุนการใช้ ICT มีราคาถูกลงมาก ประการที่หก เทคโนโลยีสารสนเทศก่อให้เกิดการวางแผนการดาเนินการระยะยาวขึ้น อีก ทั้งยังทาให้วิถีการตัดสินใจ หรือเลือกทางเลือกได้ละเอียดขึ้น จะเห็ น ได้ ว่ า เทคโนโลยี ส ารสนเทศมี บ ทบาทที่ ส าคั ญ ในทุ ก วงการ มี ผ ลต่ อ การ เปลี่ ย นแปลงโลกด้ า นความเป็ น อยู่ สั ง คม เศรษฐกิ จ การศึ ก ษา การแพทย์ เกษตรกรรม อุตสาหกรรม การเมือง ตลอดจนการวิจัยและการพัฒนาต่างๆ การสื่อสารด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ เทคโนโลยีการสื่อสาร (Communication Technology) มีการพัฒนารูป แบบให้ สามารถติดต่อสื่อสาร ถึงกันได้ง่าย และอุปกรณ์ที่ใช้ในการติดต่อสื่อสารมีหลายรูปแบบให้เลือกได้ ตามความเหมาะสมกับการใช้งานระบบคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่างๆ ได้เพิ่มคุณสมบัติให้สามารถ เชื่อมโยงถึงกันได้ การเพิ่มคุณค่าของระบบคอมพิวเตอร์มีมากขึ้นเมื่อมีการนาเทคโนโลยีการสื่อสาร มาประยุกต์เข้าด้วยระบบกันที่เรียกว่า “เครือข่ายคอมพิวเตอร์” อินเตอร์เน็ต (Internet) คือ เครือข่ายคอมพิวเตอร์ขนาดยักษ์ที่เชื่อมต่อกันทั่วโลก โดยมี มาตรฐานการรับส่งข้อมูลระหว่างกันเป็นหนึ่งเดียว ซึ่งคอมพิวเตอร์แต่ละเครื่องสามารถรับส่งข้อมูล
  • 7. บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ 87 ในรูปแบบต่างๆ ได้หลายรูปแบบ เช่น ตัวอักษร ภาพกราฟิก และ เสียงได้ รวมทั้งสามารถค้นหา ข้อมูลจากที่ต่างๆ ได้อย่างรวดเร็ว ในยุคสังคมข่าวสาร ข้อมูลดังทุกวันนี้การสื่อสารรูปแบบต่าง ๆ ถูกพัฒนาขึ้นให้ คนเรา สื่อสารถึงกันง่ายที่สุดและสะดวกที่สุดการสื่อสารถึงกันด้วยคาพู ดผ่านทางโทรศัพท์ย่อมไม่เพียงพอ อีกต่อไปเราต้องการมากกว่านั้นเช่น ภาพ เสียง และ ข้อความ ตัวอักษรรวมทั้งข้อมูลคอมพิวเตอร์ ฯลฯ ซึ่งอินเตอร์เน็ตสามารถเข้ามาตอบสนองได้ในจุดนี้ เมื่ อ เราเชื่ อ มต่ อ เครื อ ข่ า ยของ อินเตอร์เน็ต เราสามารถติดต่อกับเพื่อน ของเราในสหรัฐเมริ กาผ่านอิเล็กทรอนิกส์ เมล์ , ข้ ามไปค้ น หา ข้ อมู ล ที่ ยุ โ รปแล้ ว คัดลอกไฟล์ไปที่ออสเตรเลียได้จากเครื่อง คอมพิว เตอร์ ที่บ้ านที่มหาวิ ทยาลั ยหรือ ที่ ทางานของเราโดยใช้เวลาทั้งหมดภายใน ไม่กี่นาทีทาให้การติดต่อสื่อสารนั้นเป็นไป อย่ า งรวดเร็ ว และมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ ภาพที่ 6.1 แสดงการเผยแพร่ นอกจากนี้ค่าใช้จ่า ยก็ยังถูกกว่าวิธีอื่นเมื่อ สารสนเทศผ่านเว็บ เทียบกับการติดต่อทางโทรศัพท์ การส่ง โทรสารและการส่งข้อมูลผ่านโมเด็มโดยตรงกับปลายทางแล้วการใช้งานผ่านอินเตอร์เน็ตมีค่าใช้จ่าย ถูกกว่าหลายเท่า นี่เป็นเหตุผลหลักที่ว่าทาไมเราต้องใช้อินเตอร์เน็ตซึ่งนับเป็นการปฏิวัติ สังคม ข่าวสารครั้ง ใหญ่ที่สุดในยุคของเรา ประโยชน์ของอินเตอร์เน็ต มีดังนี้ ในด้านการศึกษาเราสามารถต่อเข้ากับอินเตอร์เน็ตเพื่อค้นคว้าหาข้อมูลได้ไม่ว่าจะเป็น ข้อมูลทางวิชาการจากที่ต่าง ๆ ซึ่งในกรณีนี้อินเตอร์เน็ตจะทาหน้าที่เหมือนห้องสมุดขนาดยักษ์ส่ง ข้อมูลที่เราต้อการมาให้ถึงบนจอคอมพิวเตอร์ของเราในเวลาไม่กี่วินาทีจากแหล่งข้อมูลทั่วโลกไม่ว่า จะเป็นข้อมูลด้านวิทยาศาสตร์ วิศวกรรม ศิลปกรรม สังคมศาสตร์ กฎหมายและอื่นๆ นักศึกษา มหาวิทยาลัยสามารถติดต่อกับมหาวิทยาลัยอื่นๆ เพื่อค้นหาข้อมูลที่กาลังศึกษาอยู่ได้ทั้งข้อมูลที่เป็น ตัวอักษร ภาพและเสียงหรือแม้แต่มัลติมีเดียต่างๆ ในด้ า นการรั บ ส่ ง ข่ า วสาร ผู้ ใ ช้ ที่ ต่ อ เข้ า อิ น เตอร์ เ น็ ต สามารถรั บ ส่ ง ข้ อ มู ล จดหมาย อิเล็กทรอนิกส์ (E-mail) กับผู้ ใช้คนอื่นๆ ทั่ว โลกในเวลาอันรวดเร็วได้โดยมีค่าใช้จ่ายต่ามากเมื่อ เทียบกับการส่งจดหมายหรือส่งข้อมูลวิธีอื่น ๆ นอกจากนั้นยังอาจส่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ในรูปแบบ ต่างๆ เช่น แฟ้ม ข้อมูล รูปภาพ จนไปถึงข้อมูลที่เป็นภาพและเสียงได้อีกด้วย ในด้ า นธุ ร กิ จ และการค้ า อิ น เตอร์ เ น็ ต มี บ ริ ก าร ในรู ป แบบของการซื้ อ ขายสิ น ค้ า ผ่ า น คอมพิวเตอร์เราสามารถเลือกดูสินค้าพร้อมทั้งคุณสมบัติต่างๆ ผ่านจอคอมพิวเตอร์ ของเราแล้ว สั่งซื้อและจ่ายเงินด้วยบัตรเครดิตได้ทันทีซึ่งนับว่าสะดวกและรวดเร็วมากนอกจากนี้ผู้ที่ใช้ที่เป็น บริษัทหรือองค์กรต่างๆ ก็สามารถเปิดให้บริการและสนับสนุนลูกค้าของคนผ่านอินเตอร์เน็ตได้ เช่น การตอบ คาถาม ให้คาแนะนารวมถึงการให้ข่าวสารใหม่ๆ แก่ลูกค้าได้
  • 8. บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ 88 ในด้านการบันเทิงเราสามารถเข้าไปเลือกอ่านหนังสือวารสารต่าง ๆ ผ่านอินเตอร์เนตได้ ค้นหาข้อมูลเกี่ยวกับภาพยนตร์ดนตรีและอื่นๆ อีกมากมาย ซึ่งปัจจุบันเราสามารถทาเป็นภาพ เคลื่อนไหวและมีเสียงประกอบได้อีกด้วย (อ้างอิง http://www.np.co.th/intro/intro_1.htm) เราสามารถสรุปได้ว่า เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เป็นเทคโนโลยีทุกรูปแบบที่ นามาประยุกต์ในการประมวลผล การจัดเก็บ การสื่อสาร และการส่งผ่านสารสนเทศด้วยระบบ อิเล็กทรอนิกส์ โดยที่ระบบทางกายภาพประกอบด้วยคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์ติดต่อสื่อสาร และระบบ เครือข่าย ขณะที่ระบบนามธรรมเกี่ยวข้องกับการจัดรูปแบบของการมีปฏิสัมพันธ์ด้านสารสนเทศทั้ง ภายในและภายนอกระบบให้สามารถดาเนินการร่วมกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ ความสาคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารกับการเรียนรู้ จากความเปลี่ยนแปลงนิยามของการเรียนรู้ ที่หมายถึงการที่บุคคลมีความเข้าใจ รับรู้ ปัญหาหรือเรื่องราวที่ได้ประสบมา ที่มีความเกี่ยวข้องกับการการเพิ่มพูนทักษะ ความรู้ ความ เข้าใจ และพัฒนาบุคคลนั้น ๆ เช่น การเรียนรู้ด้วย ตนเอง การเรี ย นรู้ จ ากประสบการณ์ ก ารท างาน การเรี ย นรู้ ยุ ค ใหม่ ต้ อ งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพและมี ค วาม เหมาะสมกั บ สภาพสั ง คม ในปั จ จุ บั น การเรี ย นรู้ มุ่งหวังที่จะให้เกิดองค์ความรู้แก่ตัวผู้เรียน โดยมุ่ง จัดการเรียนรู้ให้ผู้เรียนเป็นศูนย์กลางการเรียนรู้ไม่ใช่ แค่การตีกรอบให้ผู้เรี ยนอยู่เ ฉพาะแต่ในส่ว นที่เป็ น ความต้องการของครูผู้สอนเพียงอย่างเดียว แต่ต้อง ให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการเรียนรู้มากขึ้นด้วย เป้าหมายทางการศึกษาของประเทศที่พัฒนาแล้วอยู่ที่การให้การศึกษาแก่ประชาชนเข้าสู่ โลกแห่งเทคโนโลยี โดยเน้นปัจจัยสาคัญอยู่ที่ความรอบรู้ของคนในชาติ การเรียนรู้ของคนในชาติกับ การสร้างสังคมเป็นสิ่ง ที่ต้องให้เกิดขึ้นกับคนในชาติ การเรียนรู้ต้องรวดเร็ว ใช้เวลาน้อย ต้นทุนต่า และที่สาคัญ ความรู้จะมีบทบาทที่สาคัญมากขึ้นเรื่อยๆ ควบคู่กับการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้ การปฏิรูปการศึกษา มุ่งเน้นให้ผู้เรียนเป็นศูนย์กลางการเรียน แทนที่ครูจะเป็นผู้มีบทบาท สาคัญเพียงอย่างเดียว ส่วนหนึ่งของการปฏิรูปการศึกษา คือการสร้างโอกาสให้แก่ผู้เรียนเข้าถึง แหล่งข้อมูล แหล่งความรู้ได้มากและสะดวกขึ้น ดังนั้นการปฏิรูปการศึกษาจึงต้องใช้ระบบเครือข่าย อินเทอร์เน็ตเข้ามามีบทบาทในการจัดการเรียนรู้ การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศทาให้เกิดระบบการเรียนการสอนทางไกล ซึ่งผู้เรียนและ ผู้สอนสามารถตอบโต้กันได้แม้ว่าจะอยู่ห่างกัน ผู้เรียนสามารถส่งการบ้านทางอินเทอร์เน็ตได้ ครู สามารถตรวจงานให้คะแนนได้ แม้กระทั่งการชี้แนะด้วยไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ (E-mail) หรือใช้ ระบบกระดานข่าว (Bulletin Board System) เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และเครือข่ายมีบทบาทสาคัญยิ่งในการเรียนรู้ มหาวิทยาลัยชั้นนา ของต่างประเทศ เช่น ญี่ปุ่น ฮ่องกง สิงค์โปร์ ให้ความสาคัญอย่างยิ่งกับการใช้เทคโนโลยีทาง การศึ ก ษา การน าเทคโนโลยี ส ารสนเทศและการสื่ อ สารสามารถใช้ ใ นด้ า นการศึ ก ษา จะช่ ว ย พัฒนาการเรียนรู้และอานวยความสะดวกในด้านการสอนและแหล่งการเรียนรู้ได้ตลอดเวลา ไม่มี ข้อจากัดในด้านสถานที่ การสอนโดยใช้ระบบสารสนเทศจะจัดการเรียนรู้ได้ตามความแตกต่างของ
  • 9. บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ 89 ผู้เรียน ระบบการเรียนรู้ที่ใช้ในด้านการศึกษามีหลายระบบ เช่น E-learning, e – Book, e – Library และ e – Classroom การจัด การเรีย นรู้โ ดยใช้ เทคโนโลยีแ ละสารสนเทศในการเรี ยนรู้ เป็ น การเปิ ด โอกาส ทางการศึกษาที่ทาให้คุณเรียนรู้โดยไม่มีข้อจากัดในประเด็นต่าง ๆ เพียงแต่ผู้เรียนรู้ต้องศึกษาวิธีการ เพื่อเข้าสู่ระบบที่ต้องการให้ถูกต้อง การบูรณาการเทคโนโลยีสารสนเทศในการจัดการเรียนรู้ ในโลกปัจจุบัน พบว่าความต้องการเกี่ยวกับตัวผู้เรี ยนเพิ่มมากขึ้น เพราะว่าที่ผ่านมา อาจจะมีการตอบสนองต่อการเรียนแบบท่องจามามากแล้ว แต่ในปัจจุบันในสภาพชีวิตจริงต้องการ บุคคลในสังคมที่มีความสามารถในการใช้ทักษะการให้เหตุผลในระดับที่สูงขึ้นในการแก้ปัญหาที่ ซับซ้อน ซึ่งพบว่าความสามารถในทักษะดังกล่าวที่จะนามาใช้ในการแก้ปัญหาไม่ค่อยปรากฏให้เห็น หรือมีอยู่น้อยมาก ในปัจจุบันจะพบว่าทุก ๆ คนไม่ว่าจะเป็นผู้ที่ทางานในโรงงานประกอบเครื่องจักร ตามสายพานหรือทางานที่ต้องร่วมกันคิดเป็นทีม ต่างล้วนจาเป็นต้องมีทักษะการแก้ปัญหาด้วยกัน ทั้งหมด ซึ่งนั่นหมายความว่าแนวความคิดเกี่ยวกับการจัดการศึกษาต้องเปลี่ยนไป ดังนั้น ในการบูรณาการเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนการสอน ผู้สอนควรจะศึกษา เทคนิค วิธีการ เทคโนโลยีต่างๆ ที่จะนามาใช้เพื่อช่วยให้ผู้เรียนได้รับความรู้ใหม่ ซึ่งแต่ เดิมมักเป็น การสอนให้ผู้เรียนเรียนโดยเน้นการท่องจา และปรับเปลี่ยนมาสู่การใช้เทคนิควิธีการที่จะช่วยผู้เรียน ได้รับข้อเท็จจริงได้อย่างมีประสิทธิภาพ ได้แก่ การใช้เทคนิคช่วยการจา เช่น Mnemonics เป็นต้น รวมทั้งการจัดการสอนที่เน้นครูเป็นศูนย์กลางอาจนาไปใช้ให้เกิดประโยชน์ได้เช่นกัน อย่างไรก็ตาม สิ่งที่สาคัญและเป็นความต้องการของการศึกษาในขณะนี้คือ การสอนที่ผู้เรียนควรได้รับคือ ทักษะ การคิดในระดับสูง (Higher-order thinking skills) ได้แก่ การคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ ตลอดจน การแก้ปัญหา และการถ่ายโยง (Transfer) โดยเน้นการใช้วิธีการต่าง ๆ อาทิ สถานการณ์จาลอง การค้นพบ การแก้ปัญหา และการเรียนแบบร่วมมื อ สาหรั บผู้เรียนจะได้รับ ประสบการณ์การ แก้ปัญหาที่สอดคล้องกับสภาพชีวิตจริง สาหรั บการนาเทคโนโลยี สารสนเทศมาบูรณาการในการจัด การเรียนรู้ ผู้เ ขียนจะขอ นาเสนอใน รูปแบบต่างๆ ดังต่อไปนี้คือ 1. สิ่ ง แวดล้ อ มทางการเรี ย นรู้ (Learning environment) เป็ น การบู ร ณาการ เทคโนโลยีสารสนเทศในการจัดการเรียนรู้ที่นาทฤษฎีการเรียนรู้มาเป็นพื้นฐานการออกแบบร่วมกับ สื่ อ หรื อ เทคโนโลยี ส ารสนเทศ ซึ่ ง หลอม รวมทั้งสองสิ่งเข้าไว้ด้วยกัน ที่ประกอบด้วย สถานการณ์ปัญหาที่กระตุ้นให้ผู้เรียนเรียนรู้ แหล่ งการเรี ยนรู้ชนิด ต่า งๆ ที่ จัด เตรีย มไว้ สาหรั บให้ผู้ เรี ยนค้น หาค าตอบ มี ฐานการ ช่วยเหลือไว้คอยสนับสนุนผู้เรียนในกรณีที่ ไม่สามารถแก้ปัญหาได้ ตลอดจนการเรียนรู้ แบบร่ ว มมื อ กั น แก้ ปั ญ หาที่ ส นั บ สนุ น ให้ ผู้ เ รี ย น ข ย า ย มุ ม ม อ ง แ น ว คิ ด ต่ า ง ๆ
  • 10. บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ 90 สิ่งแวดล้อมทางการเรี ยนรู้ในปัจจุบันสามารถแยกตามคุณลักษณะของสื่อได้ 3 รูปแบบ คือ (1) สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้บนเครือข่าย (2) มัลติมีเดียที่พัฒนาตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ (3) ชุดการ สร้างความรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ 2. การเรียนรู้แบบออนไลน์ (E-learning) การเรียนรู้แบบออนไลน์ หรือ E-learning การเรียนรู้แบบออนไลน์เป็นการศึกษา เรียนรู้ ผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์อินเทอร์เน็ต (Internet) หรืออินทราเน็ต (Intranet) เป็นการเรียนรู้ด้วย ตัวเอง ผู้เรียนจะได้เ รียนตามความสามารถและความสนใจของตน โดยเนื้อหาของบทเรียนซึ่ ง ประกอบด้ว ย ข้อ ความ รูป ภาพ เสีย ง วิ ดีโ อและมั ลติ มีเดี ย อื่ นๆ จะถูก ส่งไปยั งผู้ เรี ยนผ่ านเว็ บ เบราว์เซอร์(Web Browser) โดยผู้เรียน ผู้สอน และเพื่อนร่วมชั้นเรียนทุกคน สามารถติดต่อ ปรึกษา แลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่างกันได้เช่นเดียวกับการเรียนในชั้นเรียนปกติ โดยอาศัย เครื่องมือการติดต่อสื่อสารที่ทันสมัย สาหรับทุกคนที่สามารถเรียนรู้ได้ทุกเวลา และทุกสถานที่ (Learn for all : anyone, anywhere and anytime) ซึ่งการให้บริการการเรียนแบบออนไลน์ มี องค์ประกอบที่สาคัญ 4 ส่วน โดยแต่ละส่วนจะต้องได้รับการออกแบบเป็นอย่างดี เพราะเมื่อนามา ประกอบเข้าด้วยกันแล้วระบบทั้งหมดจะต้องทางานประสานกันได้อย่างลงตัวดังนี้ 1) เนื้อหาของบทเรียน 2) ระบบบริหารการเรียน ทาหน้าที่เ ป็นศูนย์กลาง กาหนดลาดับของเนื้อหาในบทเรียน เราเรียกระบบนี้ว่าระบบบริหารการเรียน (E-Learning Management System: LMS) ดังนั้น ระบบบริหารการเรียนจึงเป็นส่วนที่เอื้ออานวยให้ผู้เรียนได้ศึกษาเรียนรู้ได้ด้วยตนเองจนจบหลักสูตร 3) การติดต่อสื่อสาร การเรียนแบบ E-learning นารูปแบบการติดต่อสื่อสารแบบ 2 ทาง มาใช้ประกอบในการเรียน โดยเครื่องมือที่ใช้ในการติดต่อสื่อสารอาจแบ่งได้เป็น 2 ประเภทคือ ประเภทReal-time ได้แก่ Chat (message, voice), White board/Text slide, Real-time Annotations, Interactive poll, Conferencing และอื่นๆ ส่วนอีกแบบคือ ประเภท Non real- time ได้แก่ Web-board, E-mail 3. หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-books) เป็นคาที่ใช้ในการอธิบายตัวอักษรที่มีลักษณะคล้ายคลึงกับหนังสื อ อยู่ในรูปแบบดิจิตัล โดยแสดงให้เห็นบนจอคอมพิวเตอร์ เป็นหนังสือถูกนามาจัดพิมพ์ในรูปแบบดิจิตอล ไม่บังคับการ พิมพ์ และการเข้าเล่ม แผ่นซีดีรอมสามารถจัดเก็บข้อมูลได้จานวนมากในรูปแบบของตัวอักษร ทั้งลักษณะภาพ ดิจิตอล ภาพอนิเมชั่น วิดีโอ ภาพเคลื่อนไหวต่อเนื่อง คาพูด เสียงดนตรี และเสียง อื่นๆ ที่ประกอบตัว อักษรเหล่านั้น มูลค่าของการจาลองลงบนแผ่นจานข้อมูลเสียง (Optical disc) เพียงแค่เป็นเศษส่วน ของการจัดพิมพ์และการห่ อหนังสือในขณะที่มีค วามจาเป็นที่จะต้องมี ฮาร์ดแวร์ในการอ่านหนังสือ อิเล็กทรอนิกส์ และขณะนี้มีราคาหลายระดับ ลักษณะของซอฟต์แวร์ที่ เพิ่มเป็นแบบไฮเปอร์มีเดีย (Hypermedia) สามารถแสดงผลของการค้นหาตัวอักษรได้ เชื่อมต่อกับ ไฮเปอร์เท็กซ์ มีคาแนะนาที่ สามารถอธิบายศัพท์เป็นระบบออนไลน์ และอาจมีหมายเหตุตรงขอบ เป็นต้น 4. ห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์ (E-library) มาจากคาว่า Electronic Library หรือห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์ หมายถึง แหล่งความรู้ที่ บันทึกข้อมูลไว้ในเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่ายและให้บริการสารสนเทศทางอิเล็กทรอนิกส์หรือผ่าน
  • 11. บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ 91 เครือ ข่ายอิ นเทอร์เน็ต ในลัก ษณะผสมผสานการทางานของระบบห้องสมุ ดอั ตโนมั ติ ห้อ งสมุ ด ดิจิตอลและห้องสมุดเสมือน (น้าทิพย์ วิภาวิน, 2545) ในปัจจุบันสังคมไทยเราอยู่ในยุคข่าวสาร ทาให้มีการกระจายข้อมูลข่าวสารได้อย่าง ดังนั้น ห้องสมุดจึงต้องเปลี่ยนแปลงระบบการทางานด้านต่างๆ โดยเฉพาะงานด้านบริการจะมีบทบาทที่ เด่ น ชัด ความต้ อ งการของผู้ใ ช้ บริ ก ารจึ งเป็ น แรงผลั ก ดั นให้ ห้อ งสมุ ด เปลี่ ย นการให้ บริ ก ารงาน ห้องสมุดมาเป็นระบบอัตโนมัติ เทคโนโลยีของห้องห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์ มีดังนี้ (วาสนา อภิญญา วงศ์ , 2538) 1. การจัดการเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ เพื่อประโยชน์ในการรวบรวมและจัดเก็บสารสนเทศ และสะดวกในการบริการส่งสารสนเทศแก่ผู้ใช้ ทรัยพากรสารสนเทศของห้องสมุดเสมือนจาเป็นต้อง อยู่ในรูปของอิเล็กทรอนิกส์เพื่อสะดวกในการจัดเก็บและสืบค้นข้อมูล ตลอดจนการส่งข้อมูล ระยะไกล เป็ น การเปลี่ ย นรู ป แบบสิ่ งพิ ม พ์ แ บบเดิ ม ให้ อ ยู่ ใ นรู ป ของอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ ที่ เ ครื่ อ ง คอมพิวเตอร์สามารถอ่านได้ ทาได้โดยการจัดเก็บ ในรูปดิจิตัล ได้แก่ ซี ดีรอม หรือจัดเก็บใน ฮาร์ดดิสต์ 2. ระบบเครือข่าย เพื่อเชื่อมโยงเครือข่ายของห้องสมุดกับผู้ใช้และแหล่งสารสนเทศอื่น ๆ ทาให้ผู้ใช้สามารถติดต่อกับห้องสมุดและแหล่งสารสนเทศ อื่น ๆได้ทั่วโลก 3. การส่งเอกสารสารสนเทศแก่ผู้ใช้ เพื่อให้ผู้ใช้ได้รับสารสนเทศที่ต้องการโดยไม่ต้องมายัง ห้องสมุด มี 4 วิธีการคือ ทางไปรษณีย์ โทรสาร และทางอินเตอร์ 5. แผนการจัดการเรียนรู้ เป็นการบูรณาการเทคโนโลยีสารสนเทศในขั้นตอนต่างๆ ของ แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ยึดหลักการบูรณาการที่เน้นผู้เป็นสาคัญโดยใช้เทคโนโลยีเข้ามาสางเสริม สนับสนุนและพัฒนาศักยภาพการเรียนรู้ของผู้เรียน ซึ่งสังเคราะห์จากทฤษฎีการเรียนรู้คอนสตรัคติ วิสต์ ทฤษฎีพุทธิปัญญานิยม และคุณลักษณะของโปรแกรมทางด้าน ICT ดังกรอบแนวคิดในการ จัดการเรียนรู้ดังนี้
  • 12. บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ 92 การเชื่อมโยงความรู้เดิมกับความรู้ใหม่  ตั้งประเด็นคาถาม/สนทนาเกี่ยวกับความรู้ เดิมของผู้เรียนที่กระตุ้นด้วย ICT เช่น วีดิทัศน์ Advanced organizer Power point, Internet เป็นต้น ICT activate perception  ชี้แจงวัตถุประสงค์/แนะนาวิธีการเรียนรู้ การกระตุ้นให้เกิดปัญหาและการ  นาเสนอสถานการณ์ปัญหา หรือประเด็น มอบหมายภารกิจการเรียนรู้ คาถาม และปฏิบัตภารกิจการเรียนรู้ที่ต้อง ิ อาศัยทักษะการคิด และมีการเชื่อมโยง ประสบการณ์ที่หลากหลายโดยใช้ ICT เช่น Cognitive Constructivism ICT provide Problem, Question and web-based learning, WebQuset, Power Learning Task point, การ post ทาง web board เป็นต้น เพื่อให้ผู้เรียนศึกษา การส่งเสริมการสร้างและการแสวงหา  ผู้เรียนวิเคราะห์ประเด็นปัญหาหรือคาถาม ความรู้ด้วยตนเอง และแสวงหาคาตอบด้วยตนเองจากแหล่ง เรียนรู้ที่หลากหลาย ได้แก่ Web site, Internet, Local wisdom, Wiki, Cognitive Constructivism Multimedia เป็นต้น (Discovery learning) ICT Learning Resources
  • 13. บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ 93 การขยายแนวคิดที่หลากหลาย  ร่วมมือกันแก้ปัญหา (Jigsaw, Think-Pair- Share, Graffiti., Group investigation) Social Constructivism  ระดมสมอง (Brainstorm) (Collaboration)  แลกเปลียนมุมมองที่หลากหลาย (Share ่ Multiple perspectives cognition) ICT support learner communication and โดยใช้ ICT สนับสนุน เช่น web board, Chat Sharing Knowledge room, Social media, weblog เป็นต้น การส่งเสริมการสร้างความเข้าใจของ  นาเสนอผลงานกลุม ่ ตนเองและกลุมโดยการสะท้อน ่  สะท้อนความคิดจากเพื่อนต่างกลุมและ ่ ความคิดและสรุปองค์ความรู้ ครูผสอน (Exit Ticket, TPS, Peer ู้ mentoring)  สะท้อนการรู้คิดของตนเอง  ร่วมสรุปบทเรียน (Concept mapping) Metacognition  ขยายองค์ความรูไปสู่การสร้างสรรค์ผลงาน ้ ICT for presentation, Creation และชีวิตประจาวัน and Conclusion โดยใช้ ICT สนับสนุน เช่น การใช้โปรแกรม นาเสนองาน การเขียนบันทึกความรู้ใน weblog การบูรณาการความรูโดยใช้ ICT ใน ้ การสร้างผลงาน เป็นต้น ภาพที่ 5.2 แสดงกรอบแนวคิดในการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่บูรณาการ ICT ที่สังเคราะห์ จากทฤษฎีการเรียนรู้คอนสตรัคติวิสต์ ทฤษฎีพุทธิปัญญานิยม และคุณลักษณะของโปรแกรม ทางด้าน ICT
  • 14. บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ 94 จากกรอบแนวคิดในการบูรณาการเทคโนโลยีสารสนเทศในการจัดการเรียนรู้ แสดงให้เห็น ถึ ง ความสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า งวิ ธี ก ารจั ด การเรี ย นรู้ (Method) ร่ ว มกั บ สื่ อ (Media) ซึ่ ง ในที่ นี้ ก็ คื อ เทคโนโลยีสารสนเทศ เช่น คอมพิวเตอร์ อินเทอร์เน็ต วีดิทัศน์ ฯลฯ การการเลือกวิธีการจะต้องอยู่ บนพื้นฐานของการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญและเลือกใช้สื่อให้สนองต่อการรับรู้ของผู้เรียน ดัง กรอบแนวคิดข้างต้น ในขั้นแรกที่เป็นการเชื่อมโยงความรู้เดิมกับความรู้ใหม่ผู้สอนอาจกระตุ้นให้ ผู้เรียนใส่ใจหรือกระตุ้นประสบการณ์เดิมโดยใช้สื่อพวกวีดิทัศน์ และตั้งคาถามที่ให้ผู้เรียนสามารถ เรียกกลับประสบการณ์เดิมเหล่ านั้นมาใช้ในการเรียนรู้สิ่งใหม่ ขั้นจัดประสบการณ์เรียนรู้ตั้งแต่ขั้น การกระตุ้ นให้ เกิ ดปั ญ หาและการมอบหมายภารกิ จ การเรี ยนรู้ การส่งเสริ มการสร้า งและการ แสวงหาความรู้ด้วยตนเอง และการขยายแนวคิดที่หลากหลาย เทคโนโลยีสารสนเทศที่สามารถ สนับสนุนการแสวงหาและค้นพบความรู้ เช่น อินเทอร์เน็ต เป็นต้น ในการสร้างและนาเสนอผลงาน ผู้สอนอาจให้ผู้เรียนใช้โปรแกรมประยุกต์คอมพิวเตอร์ เช่น MSWord, MSPower point เป็นต้น และอาจใช้ Social media ในการแลกเปลี่ยนแนวคิด ติดต่อสื่อสารระหว่างผู้เรียนอื่นๆได้อีกด้วย
  • 15. บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ 95 ตัวอย่างแผนการจัดการเรียนรู้ที่บูรณาการเทคโนโลยีสารสนเทศ แผนการจัดการเรียนรู้ครั้งที่ 1 สาระการเรียนรู.้ ................................. ชั้น........... สัปดาห์ที่.......... เรื่อง.................................................หน่วย............................... วันที่.................................... เวลา ……………………….. น. ผู้สอน: สาระสาคัญของเนื้อหา ………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………… กระบวนการจัดการเรียนรู้ กระบวนการเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อแหล่งเรียนรู้ ขั้นนา การเชื่อมโยงความรู้เดิมกับ 1. น าสนทนาเพื่ อ เชื่ อ มโยงเข้ า สู่ เ รื่ อ งที่ จ ะ วีดิทัศน์ ความรู้ใหม่ ศึ ก ษาโดยตั้ ง ประเด็ น ค าถาม/สนทนา Power point, เกี่ยวกับความรู้เดิมของผู้เรียนที่กระตุ้นด้วย Internet ICT 2. ชี้แจงวัตถุประสงค์ 3. อธิ บ ายขั้น ตอนการด าเนิ น กิ จ กรรมการ เรียนรู้ให้ ผู้เรียนทราบ ขั้นการเรียนรู้ การกระตุ้นให้เกิดปัญหา -ผู้ ส อนแบ่ ง ผู้ เ รี ย นเป็ น กลุ่ ม ๆละ………คน web-based และการมอบหมายภารกิจ จานวน…………กลุ่ม learning, การเรียนรู้ -ผู้ ส อนมอบปั ญ หาหรื อ ภารกิ จ การเรี ย นรู้ WebQuset, ผ่านทาง ICT ในการนาเสนอ Power point, -ผู้เรียนแต่ละกลุ่มศึกษาภารกิจการเรียนรู้ที่ การ post ทาง เ น้ น ก า ร คิ ด (วิ เ ค ร า ะ ห์ , สั ง เ ค ร า ะ ห์ web board ,สร้างสรรค์) ผ่านทางการใช้ ICT -ผู้สอนคอยกระตุ้ นให้ผู้ เรี ยนศึก ษาภารกิ จ และท้ า ทายให้ ผู้ เ รี ย นคิ ด หาค าตอบตาม ภารกิจแต่ละข้อ การส่งเสริมการสร้างและ -ผู้เรียนวิเคราะห์ประเด็นปัญหาหรือคาถาม Web site, การแสวงหาความรู้ด้วย และแสวงหาค าตอบด้ วยตนเองจากแหล่ ง Internet, ตนเอง เรียนรู้ที่หลากหลาย Local -ผู้สอนให้คาแนะนาเกี่ยวกับแหล่งเรียนรู้ที่ wisdom, Wiki, หลากหลาย เช่น สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ Multimedia บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต ภูมิปญญาท้องถิ่นั
  • 16. บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ 96 กระบวนการเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อแหล่งเรียนรู้ การค้นคว้าผ่านการใช้ ICT การขยายแนวคิดที่ -ผู้ เ รี ย นระดมสมองเพื่ อ แก้ ปั ญ หา และ web board, หลากหลาย แลกเปลี่ยนมุมองจากผู้เรียนอื่นๆโดยในการ Chat room, ปรึ ก ษาหารื อ แนะน าให้ ใ ช้ ว าจาที่ สุ ภ าพ Social media, อ่ อ นโยน และร่ ว มมื อ กั น แก้ ปั ญ หาอย่ า ง weblog สร้างสรรค์ มีส่วนร่วมกันทุกคน -ผู้ ส อนคอยให้ ค าแนะน าชี้ แ นะ และใช่ ช่อ งทางการสื่ อ จากผู้เ ชี่ ย วชาญหรื อ เพื่ อ น อื่นๆผ่านทาง Social media, email, we board เป็นต้น การส่งเสริมการสร้างความ -ผู้เรียนแต่ละกลุ่มนาเสนอเหตุผลในการติด web board, เข้าใจของตนเองและกลุ่ม แบบบั น ทึ ก การปฏิ บั ติ ภ ารกิ จ ลงกระดาน Chat room, โดยการสะท้อนความคิด สนทนาบนเครือข่าย (Web board) Social media, และสรุปองค์ความรู้ -ผู้สอนกระตุ้นให้ผู้เรียนสรุปความหมายของ weblog, เนื้อหา ในรูปแบบ Peer mentoring ผ่าน Power point การสนทนาบนเครือข่าย -ผู้สอนมอบหมายให้ผู้เรียนสรุปองค์ความรู้ ในรูปแบบ Mind map และ เขียนบันทึก ความรู้ที่ได้ประจาวันใน Weblog งานที่มอบหมาย ............................................................................................................................................................ การประเมินผลและสะท้อนผลการเรียนรู้ 1. ด้านกระบวนการจัดการเรียนรู้ …………………………………………………………………………………………………………………………… 2. ด้านกระบวนการเรียนรู้ของผู้เรียน ............................................................................................................................................ 3. ค้านความคิดเห็นของผูเ้ รียน ............................................................................................................................................. ลงชื่อ......................................... (...................................................) ครู ......./........./....... ลงชื่อ....................................... (...................................................) ผู้อานวยการโรงเรียน ......./........./.......
  • 17. บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ 97 คาถามสะท้อนความคิด  ท่านคิดว่าเทคโนโลยีสารสนเทศที่สอดคล้องกับสาระการเรียนรู้ วิชาเอกของท่านคือนวัตกรรมใด เพราะอะไร  ท่านคิดว่าเทคโนโลยีสารสนเทศสามารถลดข้อจากัดด้านการเรียน การสอนของครูและนักเรียนอย่างไร  ท่านคิดว่าเทคโนโลยีสารสนเทศลักษณะใดที่มีความเหมาะสมกับการเรียนรู้ในยุคปัจจุบัน เพราะอะไร กิจกรรมแนะนา ให้ท่านลองเสนอแผนการจัดการเรียนรู้ หรือออกแบบสื่อการเรียนรู้ ที่ใ ช้ เทคโนโลยีสารสนเทศไปเป็นพื้นฐานเพื่อใช้ในการเรียนรู้ในสาระวิชาที่ท่าน รับผิดชอบ โดยนวัตกรรมที่สร้างนั้นจะต้องส่งเสริมกระบวนการคิด การ แสวงหาความรู้ และสนับสนุนเป้าหมายรายวิชาตามหลักสูตร บรรณานุกรม ครรชิต มาลัยวงค์. (2538). ก้าวไกลไปกับคอมพิวเตอร์ : สาระของคอมพิวเตอร์ที่ข้าราชการ ต้องรู้. กรุงเทพ: ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ. ทักษิณา สวนานนท์. (2543). พจนานุกรมศัพท์คอมพิวเตอร์ใน Thai Software Dictionary version 3.1. กรุงเทพ: ไทยซอร์ฟแวร์เอ็นเตอร์ไพรส. ทักษิณา สวนานนท์ และฐานิศรา เกียรติบารมี. (2546). พจนานกรมศัพท์คอมพิวเตอร์และ อินเตอร์เน็ต. (พิมพ์ครั้งที่ 10). กรุงเทพ: วี.ทีซี.คอมมิวนิเคชั่น. น้าทิพย์ วิภาวิน. (2545). e-library. กรุงเทพ: เอส อาร์ พริ้นติ้ง แมสโปรดักส์. วาสนา อภิญญาวงศ์.(2538). “Virtual Library” ข่าวสารห้องสมุดในจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 11, 3-4 (พฤษภาคม – สิงหาคม): 26-29. สมเด็จพระเทพกับงานไอทีเฉลิมพระเกียรติ. (2538). เทคโนโลยีสารสนเทศก้าวไกลเศรษฐกิจไทย มั่นคง. กรุงเทพ สุมาลี ชัยเจริญ. (2548). เอกสารประกอบการอบรมการบูรณาการ ICT ในการจัดการเรียนรู้ . คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น เอกสารอัดสาเนา Driscoll, M. P. (1994). Psychology of learning for instruction. Boston: Allyn and Bacon. Jimba, S.W. (1999). Information technology and underdevelopment the Third World. Library Review.
  • 18. บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ 98 Souter, D. (1999). The role information and communication technologies democratic development. The Journal of Policy, Regulation and Strategy for Telecommunications Information and Media, 1,5, 405-417.