SlideShare a Scribd company logo
1 of 13
หน่วยที่ 3
การคานวณของคอมพิวเตอร์
ระบบตัวเลขในคอมพิวเตอร์
เนื่องจากคอมพิวเตอร์ประมวลผลด้วยระบบดิจิตอล ดังนั้นข้อมูลที่
คอมพิวเตอร์จะประมวลจะถูกเก็บอยู่ในรูปแบบของเลขฐานสอง โดยหน่วยที่เล็กที่สุด
ของการเก็บข้อมูลคอมพิวเตอร์จะเรียกว่า บิต (Bit) ระบบเลขฐานสองนี้จะมีค่า
เป็นไปได้ 2 ค่า คือ 0 และ 1 ถ้าหากนาข้อมูล 0 และข้อมูล 1 หลายๆ บิตมาต่อเรียง
กันจะทาให้สามารถนามาแทนค่าข้อมูลได้ ถ้าหากมีข้อมูล N บิต จะทาให้สามารถ
นามาแทนค่าข้อมูลได้ 2N ค่า ตัวอย่างเช่น ข้อมูลแบบ 8 บิต สามารถแทนค่าข้อมูล
ได้ 28 หรือ 256 ค่า ดังนั้นเมื่อมีการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์และต้องมีการ
ประกาศค่าตัวแปร ผู้เขียนโปรแกรมจะต้องพิจารณาด้วยว่าจะประกาศตัวแปรให้เป็น
ข้อมูลขนาดกี่บิต โดยควรทราบล่วงหน้าว่าข้อมูลที่จะเก็บอยู่ในช่วงใด
คอมพิวเตอร์นั้นถ้าหากคอมพิวเตอร์อ่านข้อมูลมา
ประมวลผลได้ครั้งละกี่บิตจะเรียกว่า เวิร์ค (Word)
การแทนค่าข้อมูลเลขจานวนเต็ม
ข้อมูลเลขจานวนเต็มของคอมพิวเตอร์จะถูกเก็บในลักษณะของ
เลขฐานสอง ซึ่งมีอยู่ด้วยกันหลายรูปแบบ ค่าของเลขจานวนเต็มที่สามารถใช้
เลขฐานสองแทนได้จะขึ้นอยู่กับจานวนบิตของเลขฐานสอง ถ้าหากนาเลขสองมาใช้
เป็นจานวน N บิต จะทาให้แทนเลขฐานสองได้จานวน 2N ข้อมูล
ตัวเลขแบบบิตเครื่องหมายขนาด
การแทนค่าเลขจานวนเต็มแบบบิตเครื่องหมายขนาด (Sing-Magnitude)
จะใช้ข้อมูลบิตสูงสุดหนึ่งบิต หรือบิตซ้ายสุดเป็นบิตเครื่องหมาย (Sing Bit)
ส่วนบิตที่เหลือตามมาจะใช้แทนขนาด (Magnitude) ทาให้ระบบ
ตัวเลขแบบนี้สามารถแทนข้อมูลได้ทั้งเลขบวกและเลขลบ ถ้าหาก
บิตเครื่องหมายเป็น 0 หมายความว่าเป็นเลขบวก แต่ถ้าหากบิต
เครื่องหมายเป็น 1 หมายความว่าเป็นลบ
ตัวเลขแบบวันคอมพลีเมนต์ (1’s Complement)
การแทนค่าตัวเลขในระบบนี้จะคล้ายกับแบบบิตเครื่องหมายขนาด คือ ใช้
บิตสูงสุดหนึ่งบิตเป็นบิตเครื่องหมาย ถ้าเป็น 0 หมายความว่าเป็นค่าบวก แต่ถ้าเป็น
1 หมายความว่าเป็นค่าลบ แต่จะต่างกันตรงที่ ถ้าหากเป็นตัวเลขค่าลบ ค่าของ
เลขฐานสองจะต้องกลับค่าบิตเป็นบิตตรงข้ามที่เรียกว่า การทา 1’S Complement
ตัวเลขแบบทูคอมพลีเมนต์ (2’ Complemennt)
ตัวเลขแบบคอมทูคอมพลีเมนต์เป็นตัวเลขที่ใช้มากในการคานวณของ
คอมพิวเตอร์ และการสร้างเครื่องคานวณทางดิจิตอล ลักษณะของตัวเลขจะคล้าย
กับตัวเลขแบบบิตเครื่องหมายขนาดคือใช้บิตสูงสุดเป็นบิตเครื่องหมาย
บิตที่เหลือเป็นขนาดของตัวเลขแต่ถ้าค่าใดเป็นเลขลบจะกลับค่า
ทุกบิตเป็นลอจิกตรงกันข้ามแล้วบวกด้วย 1 เรียกว่า 2’ Complement
การแทนค่าข้อมูลเลขทศนิยม
นอกจากเลขจานวนเต็มแล้ว การเก็บข้อมูลเลขทศนิยมของคอมพิวเตอร์ก็
ใช้เลขฐานสองเช่นเดียวกัน ถ้าหากมีเลขจานวนเต็มฐานสิบเป็น 10.625 ตัวเลขนี้
สามารถเก็บเป็นเลขฐานสองได้คือ 1.010101x23 การเก็บเลขทศนิยมของ
คอมพิวเตอร์นั้น จะแบ่งตัวเลขออกเป็นสามส่วน คือ ตัวเลขบอกเครื่องหมาย ตัวเลข
บอกความละเอียดของตัวเลขเรียกว่า Fraction และตัวเลขชี้กาลัง โดยลักษณะของ
การเก็บเป็น ดังนี้
+ / - 1.f x 2e
โดย f เป็นตัวเลขทศนิยมที่บอกความละเอียดของเลข
e เป็นตัวเลขชี้กาลัง (Exponent)
1 บิต 8 บิต 23 บิต
ข้อมูลทั้งสามส่วนจะประกอบด้วยเลขหลายบิตเรียงต่อกันไป ถ้าหากเป็น
การเก็บเลขทศนิยมแบบ Single Precision จะใช้จานวนบิตข้อมูลในการเก็บ 32m
บิต โดย 1 บิตสาหรับเก็บเครื่องหมาย ข้อมูล 8 บิต สาหรับเก็บตัวชี้กาลัง และข้อมูล
23 บิต สาหรับเก็บความละเอียดของตัวเลข
Sing Exponent Fraction
ตัวดาเนินการ
ในการประมวลผลของคอมพิวเตอร์จะต้องมีการนาตัวดาเนินการ
(Operator) มาใช้ เพื่อให้โปรแกรมประมวลผลได้ผลลัพธ์ตามเงื่อนไขที่ต้องการ ตัว
ดาเนินการคือเครื่องหมายที่ใช้สาหรับบอกการกระทาระหว่างตัวถูกกระทา โดยตัว
ถูกกระทานี้อาจมีมากกว่าหนึ่งตัวได้
ตัวดำเนินกำร ควำมหมำย
+
-
*
/
DIV
MOD
^
แทนการบวก
แทนการลบ
แทนการคูณ
แทนการหาร
แทนการหารที่คิดเฉพาะจานวนเต็ม
แทนการหารที่เอาเศษจานวนเต็มจากการหาร
แทนการยกกาลัง
ตัวดาเนินการทางคณิตศาสตร์
ตัวดาเนินการประเภทนี้จะให้ระบบคอมพิวเตอร์ประมวลผลทางคณิตศาสตร์
กับตัวถูกกระทาเครื่องหมายและการดาเนินการมีดังนี้
ตัวดำเนินกำร ควำมหมำย
=
>
<
>=
<=
<>
เครื่องหมายเท่ากับ
เครื่องหมายมากกว่า
เครื่องหมายน้อยกว่า
เครื่องหมายมากกว่าหรือเท่ากับ
เครื่องหมายน้อยกว่าหรือเท่ากับ
เครื่องหมายไม่เท่ากับ
ตัวดาเนินการเปรียบเทียบ
ตัวดาเนินการประเภทนี้จะกระทากับตัวถูกดาเนินการสองตัวเพื่อนามา
เปรียบเทียบกัน ผลลัพธ์ที่ได้จะเป็นค่าทางลอจิกคือเป็นจริง กับเป็นเท็จ เครื่องหมาย
ของตัวดาเนินการที่ใช้มีดังนี้
ตัว
ดำเนินกำร
ควำมหมำย
OR
AND
NOT
เครื่องหมายแทนการกระทา “หรือ”
เครื่องหมายแทนการกระทา “และ”
เครื่องหมายแทนการกระทา “นิเสธ”
ตัวดาเนินการทางตรรกศาสตร์
ตัวดาเนินการประเภทนี้จะนาตัวถูกดาเนินการมากระทาทางตรรกศาสตร์ต่อ
กัน ผลลัพธ์ที่ได้จะเป็นค่าทางลอจิกคือเป็นจริง หรือเป็นเท็จเท่านั้น เครื่องหมายของตัว
ดาเนินการมีดังนี้
ค่าตัวแปร A ค่าตัวแปร B A OR B A AND B NOT A
F F F F T
F T T F T
T F T F T
T T T T T
ตัวดาเนินการสองตัวแรก จะกระทากับตัวถูกดาเนินการสองตัว ส่วนตัว
ดาเนินการ NOT จะกระทากับตัวถูกดาเนินการเพียงตัวเดียว ผลลัพธ์ได้จากการ
กระทาทางตรรกศาสตร์เป็นดังตารางต่อไปนี้
นิพจน์
การนาตัวแปร ค่าคงที่ หรือตัวถูกดาเนินการต่าง ๆ มารวมกลุ่มกันโดยมีตัว
ดาเนินการเป็นตัวเชื่อมเรียกว่า นิพจน์ ( Expression ) ถ้าหากนิพจน์ใดต้องการ
เก็บข้อมูลที่ได้จากการกระทาใดๆ ลงใน หน่วยความจาจะต้องนาเครื่องหมาย (=)
มาใช้ด้วย อย่างเช่น การหาพื้นที่ของห้องซึ่งคานวณได้จากความกว้าง (Width) คูณ
กับความยาว (Length) เขียนเป็นนิพจน์ได้ดังนี้
Width * Length
แต่ถ้าหากต้องการเก็บผลลัพธ์ด้วยจะต้องเขียนเป็นสมการโดยเขียนได้ดังนี้
Area = Width = Length
หมายความว่าเก็บผลลัพธ์ของนิพจน์ Width* Length
ลงในหน่วยความจาที่มีตาแหน่งชื่อว่า Area โดยที่ Width , Length
และ Area จะเป็นหน่วยความจาหรือตัวแปรที่โปรแกรมสร้างขึ้นเอาไว้เก็บข้อมูล
สาหรับนิพจน์ที่ถูกกระทาตัวดาเนินการหลายตัว การคานวณนั้นจะต้อง
คานึงถึงลาดับความสาคัญของตัวดาเนินการด้วย โดยการกระทาจะเริ่มจากตัว
ดาเนินการที่มีความสาคัญสูงสุดไปจนถึงความสาคัญต่าสุด สาหรับความสาคัญของ
ตัวดาเนินการเป็นดังนี้
1. วงเล็บ
2. NOT , เครื่องหมายเลข (-)
3. AND , * , / , DIV , MOD
4. OR , + , -
ตัวดาเนินการเปรียบเทียบ
จะเห็นว่าวงเล็บจะมีความสาคัญสูงสุด ส่วนตัวดาเนินการเปรียบเทียบจะมี
ความสาคัญต่าสุด ถ้าหากในนิพจน์ประกอบด้วยตัวดาเนินการที่มีความสาคัญ
เท่ากัน ลาดับการกระทาจะทาจากซ้ายไปขวาถ้าหากในนิพจน์มีเครื่องหมายวงเล็บ
อยู่หมายความว่าให้หาคาตอบภายในเครื่องหมายวงเล็บก่อน

More Related Content

What's hot

ประวัติของคอมพิวเตอร์2
ประวัติของคอมพิวเตอร์2ประวัติของคอมพิวเตอร์2
ประวัติของคอมพิวเตอร์2Tewit Chotchang
 
หน่วยที่ 2
หน่วยที่ 2หน่วยที่ 2
หน่วยที่ 2niramon_gam
 
ระบบคอมพิวเตอร์1
ระบบคอมพิวเตอร์1ระบบคอมพิวเตอร์1
ระบบคอมพิวเตอร์1Noomim
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์Rattana234
 
งานชิ้นที่ 3 แก้
งานชิ้นที่ 3 แก้งานชิ้นที่ 3 แก้
งานชิ้นที่ 3 แก้Rattana234
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์Supitcha Kietkittinan
 
ประเภทและตัวอย่างของคอมพิวเตอร์
ประเภทและตัวอย่างของคอมพิวเตอร์ประเภทและตัวอย่างของคอมพิวเตอร์
ประเภทและตัวอย่างของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 

What's hot (9)

ประวัติของคอมพิวเตอร์2
ประวัติของคอมพิวเตอร์2ประวัติของคอมพิวเตอร์2
ประวัติของคอมพิวเตอร์2
 
เลขฐาน
เลขฐานเลขฐาน
เลขฐาน
 
ระบบเลขฐาน
ระบบเลขฐานระบบเลขฐาน
ระบบเลขฐาน
 
หน่วยที่ 2
หน่วยที่ 2หน่วยที่ 2
หน่วยที่ 2
 
ระบบคอมพิวเตอร์1
ระบบคอมพิวเตอร์1ระบบคอมพิวเตอร์1
ระบบคอมพิวเตอร์1
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์
 
งานชิ้นที่ 3 แก้
งานชิ้นที่ 3 แก้งานชิ้นที่ 3 แก้
งานชิ้นที่ 3 แก้
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
 
ประเภทและตัวอย่างของคอมพิวเตอร์
ประเภทและตัวอย่างของคอมพิวเตอร์ประเภทและตัวอย่างของคอมพิวเตอร์
ประเภทและตัวอย่างของคอมพิวเตอร์
 

Viewers also liked

หน่วยที่ 3 การคำนวณของคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 3 การคำนวณของคอมพิวเตอร์หน่วยที่ 3 การคำนวณของคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 3 การคำนวณของคอมพิวเตอร์จูน นะค่ะ
 
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้Vi Mengdie
 
บทที่ 1ข้อมูลและเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1ข้อมูลและเทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1ข้อมูลและเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1ข้อมูลและเทคโนโลยีสารสนเทศBeerza Kub
 
Ict literacy
Ict literacyIct literacy
Ict literacyBodaidog
 
การประมวลผลด้วยคอมพิวเตอร์
การประมวลผลด้วยคอมพิวเตอร์การประมวลผลด้วยคอมพิวเตอร์
การประมวลผลด้วยคอมพิวเตอร์เสย ๆๆๆๆ
 
เครื่องหมายและการดำเนินการในภาษาซี
เครื่องหมายและการดำเนินการในภาษาซีเครื่องหมายและการดำเนินการในภาษาซี
เครื่องหมายและการดำเนินการในภาษาซีเทวัญ ภูพานทอง
 
แบบสอบถาม ใช้คอมแบบไม่พึงประสงค์
แบบสอบถาม ใช้คอมแบบไม่พึงประสงค์แบบสอบถาม ใช้คอมแบบไม่พึงประสงค์
แบบสอบถาม ใช้คอมแบบไม่พึงประสงค์สำเร็จ นางสีคุณ
 

Viewers also liked (11)

หน่วยที่ 3 การคำนวณของคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 3 การคำนวณของคอมพิวเตอร์หน่วยที่ 3 การคำนวณของคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 3 การคำนวณของคอมพิวเตอร์
 
แบบสอบถามการใช้เทคโนโลยี
แบบสอบถามการใช้เทคโนโลยีแบบสอบถามการใช้เทคโนโลยี
แบบสอบถามการใช้เทคโนโลยี
 
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้
 
Cstructure
CstructureCstructure
Cstructure
 
บทที่ 1ข้อมูลและเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1ข้อมูลและเทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1ข้อมูลและเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1ข้อมูลและเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
Ict literacy
Ict literacyIct literacy
Ict literacy
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 6new
บทที่ 6newบทที่ 6new
บทที่ 6new
 
การประมวลผลด้วยคอมพิวเตอร์
การประมวลผลด้วยคอมพิวเตอร์การประมวลผลด้วยคอมพิวเตอร์
การประมวลผลด้วยคอมพิวเตอร์
 
เครื่องหมายและการดำเนินการในภาษาซี
เครื่องหมายและการดำเนินการในภาษาซีเครื่องหมายและการดำเนินการในภาษาซี
เครื่องหมายและการดำเนินการในภาษาซี
 
แบบสอบถาม ใช้คอมแบบไม่พึงประสงค์
แบบสอบถาม ใช้คอมแบบไม่พึงประสงค์แบบสอบถาม ใช้คอมแบบไม่พึงประสงค์
แบบสอบถาม ใช้คอมแบบไม่พึงประสงค์
 

Similar to หน่วยที่ 3 การคำนวณของคอมพิวเตอร์

คอมพิวเตอร์กับการประมวลผลข้อมูล
คอมพิวเตอร์กับการประมวลผลข้อมูลคอมพิวเตอร์กับการประมวลผลข้อมูล
คอมพิวเตอร์กับการประมวลผลข้อมูลเกวลิน แก้ววิจิตร
 
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์Noomim
 
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ใน ปัจจุบัน
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ใน ปัจจุบันเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ใน ปัจจุบัน
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ใน ปัจจุบันkanit087
 
3.ระบบคอมพิวเตอร์
3.ระบบคอมพิวเตอร์3.ระบบคอมพิวเตอร์
3.ระบบคอมพิวเตอร์PongPang
 
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ อ้อม
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ อ้อมหน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ อ้อม
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ อ้อมnoooom
 
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ อ้อม
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ อ้อมหน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ อ้อม
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ อ้อมnoooom
 
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ อ้อม
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ อ้อมหน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ อ้อม
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ อ้อมnoooom
 
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ อ้อม
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ อ้อมหน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ อ้อม
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ อ้อมnoooom
 
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ อ้อม
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ อ้อมหน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ อ้อม
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ อ้อมnoooom
 
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ อ้อม
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ อ้อมหน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ อ้อม
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ อ้อมnoooom
 
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ อ้อม
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ อ้อมหน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ อ้อม
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ อ้อมnoooom
 
ลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูล
ลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูลลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูล
ลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูลปิยะดนัย วิเคียน
 
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษาคอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษาJenchoke Tachagomain
 
โครงสร้างข้อมูล(พัชรา P)
โครงสร้างข้อมูล(พัชรา P)โครงสร้างข้อมูล(พัชรา P)
โครงสร้างข้อมูล(พัชรา P)Patchara Wioon
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ10824648032
 

Similar to หน่วยที่ 3 การคำนวณของคอมพิวเตอร์ (20)

คอมพิวเตอร์กับการประมวลผลข้อมูล
คอมพิวเตอร์กับการประมวลผลข้อมูลคอมพิวเตอร์กับการประมวลผลข้อมูล
คอมพิวเตอร์กับการประมวลผลข้อมูล
 
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
B1
B1B1
B1
 
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ใน ปัจจุบัน
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ใน ปัจจุบันเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ใน ปัจจุบัน
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ใน ปัจจุบัน
 
3.ระบบคอมพิวเตอร์
3.ระบบคอมพิวเตอร์3.ระบบคอมพิวเตอร์
3.ระบบคอมพิวเตอร์
 
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ อ้อม
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ อ้อมหน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ อ้อม
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ อ้อม
 
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ อ้อม
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ อ้อมหน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ อ้อม
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ อ้อม
 
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ อ้อม
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ อ้อมหน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ อ้อม
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ อ้อม
 
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ อ้อม
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ อ้อมหน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ อ้อม
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ อ้อม
 
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ อ้อม
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ อ้อมหน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ อ้อม
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ อ้อม
 
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ อ้อม
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ อ้อมหน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ อ้อม
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ อ้อม
 
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ อ้อม
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ อ้อมหน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ อ้อม
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ อ้อม
 
Computer system
Computer systemComputer system
Computer system
 
ลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูล
ลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูลลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูล
ลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูล
 
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษาคอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา
 
3.2 ตัวแปรและคำสงวน
3.2 ตัวแปรและคำสงวน3.2 ตัวแปรและคำสงวน
3.2 ตัวแปรและคำสงวน
 
Chapter1
Chapter1Chapter1
Chapter1
 
โครงสร้างข้อมูล(พัชรา P)
โครงสร้างข้อมูล(พัชรา P)โครงสร้างข้อมูล(พัชรา P)
โครงสร้างข้อมูล(พัชรา P)
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 

More from จูน นะค่ะ

หน่วยที่ 10 การทำงานแบบมีทำซ้ำ
หน่วยที่ 10 การทำงานแบบมีทำซ้ำหน่วยที่ 10 การทำงานแบบมีทำซ้ำ
หน่วยที่ 10 การทำงานแบบมีทำซ้ำจูน นะค่ะ
 
หน่วยที่ 10 การทำงานแบบมีทำซ้ำ
หน่วยที่ 10 การทำงานแบบมีทำซ้ำหน่วยที่ 10 การทำงานแบบมีทำซ้ำ
หน่วยที่ 10 การทำงานแบบมีทำซ้ำจูน นะค่ะ
 
บทที่ 9 การทำงานแบบมีทางเลือก
บทที่ 9 การทำงานแบบมีทางเลือกบทที่ 9 การทำงานแบบมีทางเลือก
บทที่ 9 การทำงานแบบมีทางเลือกจูน นะค่ะ
 
หน่วยที่ 8 การทำงานแบบลำดับ
หน่วยที่ 8 การทำงานแบบลำดับหน่วยที่ 8 การทำงานแบบลำดับ
หน่วยที่ 8 การทำงานแบบลำดับจูน นะค่ะ
 
หน่วยที่ 6 ผังงาน
หน่วยที่ 6 ผังงานหน่วยที่ 6 ผังงาน
หน่วยที่ 6 ผังงานจูน นะค่ะ
 
หน่วยที่ 2 ตรรกศาสตร์
หน่วยที่ 2 ตรรกศาสตร์หน่วยที่ 2 ตรรกศาสตร์
หน่วยที่ 2 ตรรกศาสตร์จูน นะค่ะ
 
หน่วยที่ 1 พื้นฐานเกี่ยวกับเซต
หน่วยที่ 1 พื้นฐานเกี่ยวกับเซตหน่วยที่ 1 พื้นฐานเกี่ยวกับเซต
หน่วยที่ 1 พื้นฐานเกี่ยวกับเซตจูน นะค่ะ
 
หน่วยที่ 10 การทำงานแบบมีทำซ้ำ
หน่วยที่ 10 การทำงานแบบมีทำซ้ำหน่วยที่ 10 การทำงานแบบมีทำซ้ำ
หน่วยที่ 10 การทำงานแบบมีทำซ้ำจูน นะค่ะ
 
บทที่ 9 การทำงานแบบมีทางเลือก
บทที่ 9 การทำงานแบบมีทางเลือกบทที่ 9 การทำงานแบบมีทางเลือก
บทที่ 9 การทำงานแบบมีทางเลือกจูน นะค่ะ
 
หน่วยที่ 8 การทำงานแบบลำดับ
หน่วยที่ 8 การทำงานแบบลำดับหน่วยที่ 8 การทำงานแบบลำดับ
หน่วยที่ 8 การทำงานแบบลำดับจูน นะค่ะ
 
หน่วยที่ 6 ผังงาน
หน่วยที่ 6 ผังงานหน่วยที่ 6 ผังงาน
หน่วยที่ 6 ผังงานจูน นะค่ะ
 
หน่วยที่ 1 พื้นฐานเกี่ยวกับเซต
หน่วยที่ 1 พื้นฐานเกี่ยวกับเซตหน่วยที่ 1 พื้นฐานเกี่ยวกับเซต
หน่วยที่ 1 พื้นฐานเกี่ยวกับเซตจูน นะค่ะ
 
หน่วยที่ 10 การทำงานแบบมีทำซ้ำ
หน่วยที่ 10 การทำงานแบบมีทำซ้ำหน่วยที่ 10 การทำงานแบบมีทำซ้ำ
หน่วยที่ 10 การทำงานแบบมีทำซ้ำจูน นะค่ะ
 
หน่วยที่ 6 ผังงาน
หน่วยที่ 6 ผังงานหน่วยที่ 6 ผังงาน
หน่วยที่ 6 ผังงานจูน นะค่ะ
 

More from จูน นะค่ะ (20)

หน่วยที่ 10 การทำงานแบบมีทำซ้ำ
หน่วยที่ 10 การทำงานแบบมีทำซ้ำหน่วยที่ 10 การทำงานแบบมีทำซ้ำ
หน่วยที่ 10 การทำงานแบบมีทำซ้ำ
 
หน่วยที่ 10 การทำงานแบบมีทำซ้ำ
หน่วยที่ 10 การทำงานแบบมีทำซ้ำหน่วยที่ 10 การทำงานแบบมีทำซ้ำ
หน่วยที่ 10 การทำงานแบบมีทำซ้ำ
 
บทที่ 9 การทำงานแบบมีทางเลือก
บทที่ 9 การทำงานแบบมีทางเลือกบทที่ 9 การทำงานแบบมีทางเลือก
บทที่ 9 การทำงานแบบมีทางเลือก
 
หน่วยที่ 8 การทำงานแบบลำดับ
หน่วยที่ 8 การทำงานแบบลำดับหน่วยที่ 8 การทำงานแบบลำดับ
หน่วยที่ 8 การทำงานแบบลำดับ
 
หน่วยที่ 7
หน่วยที่ 7หน่วยที่ 7
หน่วยที่ 7
 
หน่วยที่ 6 ผังงาน
หน่วยที่ 6 ผังงานหน่วยที่ 6 ผังงาน
หน่วยที่ 6 ผังงาน
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
หน่วยที่ 4
หน่วยที่ 4หน่วยที่ 4
หน่วยที่ 4
 
หน่วยที่ 2 ตรรกศาสตร์
หน่วยที่ 2 ตรรกศาสตร์หน่วยที่ 2 ตรรกศาสตร์
หน่วยที่ 2 ตรรกศาสตร์
 
หน่วยที่ 1 พื้นฐานเกี่ยวกับเซต
หน่วยที่ 1 พื้นฐานเกี่ยวกับเซตหน่วยที่ 1 พื้นฐานเกี่ยวกับเซต
หน่วยที่ 1 พื้นฐานเกี่ยวกับเซต
 
หน่วยที่ 10 การทำงานแบบมีทำซ้ำ
หน่วยที่ 10 การทำงานแบบมีทำซ้ำหน่วยที่ 10 การทำงานแบบมีทำซ้ำ
หน่วยที่ 10 การทำงานแบบมีทำซ้ำ
 
บทที่ 9 การทำงานแบบมีทางเลือก
บทที่ 9 การทำงานแบบมีทางเลือกบทที่ 9 การทำงานแบบมีทางเลือก
บทที่ 9 การทำงานแบบมีทางเลือก
 
หน่วยที่ 8 การทำงานแบบลำดับ
หน่วยที่ 8 การทำงานแบบลำดับหน่วยที่ 8 การทำงานแบบลำดับ
หน่วยที่ 8 การทำงานแบบลำดับ
 
หน่วยที่ 7
หน่วยที่ 7หน่วยที่ 7
หน่วยที่ 7
 
หน่วยที่ 6 ผังงาน
หน่วยที่ 6 ผังงานหน่วยที่ 6 ผังงาน
หน่วยที่ 6 ผังงาน
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
หน่วยที่ 4
หน่วยที่ 4หน่วยที่ 4
หน่วยที่ 4
 
หน่วยที่ 1 พื้นฐานเกี่ยวกับเซต
หน่วยที่ 1 พื้นฐานเกี่ยวกับเซตหน่วยที่ 1 พื้นฐานเกี่ยวกับเซต
หน่วยที่ 1 พื้นฐานเกี่ยวกับเซต
 
หน่วยที่ 10 การทำงานแบบมีทำซ้ำ
หน่วยที่ 10 การทำงานแบบมีทำซ้ำหน่วยที่ 10 การทำงานแบบมีทำซ้ำ
หน่วยที่ 10 การทำงานแบบมีทำซ้ำ
 
หน่วยที่ 6 ผังงาน
หน่วยที่ 6 ผังงานหน่วยที่ 6 ผังงาน
หน่วยที่ 6 ผังงาน
 

หน่วยที่ 3 การคำนวณของคอมพิวเตอร์