SlideShare a Scribd company logo
1 of 24
Download to read offline
นวัตกรรมการศึกษา
Educational Innovation
้
ผศ.ดร.ทวี สระนาคา
Asst. Prof. Dr. Tawee Sranamkam
Faculty Of Education
Khon Kaen University
วัตถุประสงค์การเรียนรู้
1. เพื่อให้นักศึ กษาอธิบายความหมายของนวัตกรรมได้
2. เพื่อให้นักศึ กษาอธิบายความหมายของนวัตกรรมการศึ กษาได้
3. เพื่อให้นักศึ กษาอธิบายประเภทของนวัตกรรมการศึ กษาได้
4. เพื่อให้นักศึ กษาอธิบายความหมายของสื่อประสมและสื่อหลายมิติได้
5. เพื่อให้นักศึ กษาสามารถวิเคราะห์ความสาคัญ ความสัมพันธ์และหลักการของ
นวัตกรรมได้
ทบทวนเนือหาที่เรียนผ่านมา
้
1. ความหมายของเทคโนโลยี
2. ความหมายของสารสนเทศ

3. ความหมายของของเทคโนโลยีสารสนเทศ
4. องค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศ

5. การประยุ กต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
กรณีศึกษา การถอนเงินจากธนาคาร
ความหมายของนวัตกรรม
นวัตกรรม เป็นศัพท์บัญญัติทางการศึ กษา ใช้แทนคาว่า
Innovation ในภาษาอังกฤษ ซ่ึงมีรากศัพท์มาจากภาษา
ลาตินว่า Innovare แปลว่า to renew หรือ to modify
คาว่า”นวัตกรรม” มีรากศัพท์มาจาก นว + อตต (บาลี)
มีความหมายว่า “ใหม่” + กรรม (สันสกฤต) มีความหมาย
ว่า “การกระทา การปฏิบัติ ความคิด” หมายถึง ความคิด
หรือการกระทา ใหม่ๆ ที่นามาใช้แก้ปัญหาในการปฏิบัติงาน
ด้านต่างๆ และสามารถอานวยความสะดวกใน
ชีวิตประจาวันของมนุษย์อย่างมีประสิทธิภาพ
THOMAS HUGHES (1971)
Pilot
Project
Development

Invention

ทอมัส ฮิวช์ (Thomas Hughes, 1971) ได้ให้
ความหมาย "นวัตกรรม" ว่าเป็นการนาวิธีการ
ใหม่ๆ มาปฏิบัติหลังจากได้ผ่านการทดลองหรือ
ได้รับการพัฒนามาเป็นขันๆ แล้ว
้
โดยเริมมาตังแต่การคิดค้น (Invention) การ
้
่
พัฒนา (Development) ซ่ึงอาจมีการทดลอง
ปฏิบัติก่อน (Pilot project) แล้วจึงนาไปปฏิบัติจริง
ซ่ึงแตกต่างไปจากการปฏิบัตเิ ดิมที่เคยปฏิบัติมา
กิดานันท์ มลิทอง (2543)

แนวคิด
การปฏิบัติ
ใหม่ /
ดัดแปลง

กิดานันท์ มลิทอง (2543) ให้ความหมายว่า
นวัตกรรมเป็นแนวความคิด การปฏิบัติหรือ
สิงประดิษฐใ์ หม่ๆ ที่ยังไม่เคยมีใครใช้ มาก่อน
่
หรือเป็นการพัฒนาดัดแปลงจากของเดิม ที่มี
อยู ่แล้วให้ทันสมัยและใช้ ได้ผลดีมีประสิทธิภาพ
และประสิทธิผลสูงกว่าเดิมทังยังช่ วย
้
ประหยัดเวลาและแรงงานอีกด้วย
ชัยยงค์ พรหมวงศ์

วิธีปฏิบัติ

แนวคิด

ใหม่ๆ

ชัยยงค์ พรหมวงศ์ (2521) ได้ให้ความหมายไว้ว่า
หลักการวิธีปฏิบัติและแนวคิดอย่างใดอย่างหนึ่ง
ซ่ึงไม่ถือว่าเป็นนวัตกรรมของประเทศหนึ่งอาจจะ
เป็นนวัตกรรมของประเทศอื่นก็ได้ และสิงที่ถือว่า
่
เป็นวัตกรรมแล้วในอดีต หากมีการใช้ กันอย่าง
แพร่หลายแล้วก็ไม่ถือว่าเป็นนวัตกรรมแต่สิงที่ใช้ ไม่
่
ได้ผลในอดีต หากมีการนามาปรับปรุ งใช้ ได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ สิงนันถือได้ว่าเป็นนวัตกรรม
่ ่
สรุ ปความหมาย “นวัตกรรม”
นวัตกรรม หมายถึง ความคิด การปฏิบัติ หรือ
สิงประดิษฐใ์ หม่ๆ ที่ยังไม่เคยมีใช้ มาก่อนหรือเป็น
่
การพัฒนาดัดแปลงมาจากของเดิมที่มีอยู ่แล้วให้
ทันสมัยและใช้ ได้ผลดียิงขึน เมื่อนานวัตกรรมมา
่ ้
ใช้ จะช่ วยให้การทางานนันได้ผลดีมีประสิทธิภาพ
้
และประสิทธิผลมากยิงขึน ตลอดจนสามารถ
่ ้
ปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้อง รวดเร็ว และทันสมัย
หลักสาคัญในการพิจารณาว่าเป็นนวัตกรรม
เกณฑ์ให้เราพิจารณาได้วาสิงใดเป็นนวัตกรรมหรือไม่ โดย ชัยยงค์ พรหมวงศ์ ได้
่ ่
ให้เกณฑ์ในการพิจารณาสิงที่จะถือว่าเป็น “นวัตกรรม” ไว้ดังนี้
่
1. ต้องเป็นสิงใหม่ทงหมดหรือบางส่วน
ั้
่

2. ต้องมีการนาวิธีการจัดระบบมาใช้ โดยพิจารณาองค์ประกอบทังส่วนข้อมู ลที่
้
ใส่เข้าไป กระบวนการ และผลลัพธ์ ให้เหมาะสมก่อนที่จะทาการเปลี่ยนแปลง
3. ต้องมีการพิสูจน์ด้วยการวิจัยหรืออยู ่ระหว่างการวิจยว่าจะช่ วยให้การ
ั
้
ดาเนินงานบางอย่างมีประสิทธิภาพสูงขึน
4. ต้องยังไม่เป็นส่วนหนึ่งของระบบงานในปั จจุ บัน หากกลายเป็นส่วนหนึ่งของ
ระบบงานที่ดาเนินอยู ่ในขณะนี้ ไม่ถือว่าเป็นนวัตกรรม
หลักสาคัญในการนานวัตกรรมเข้ามาใช้
การที่จะรับนวัตกรรมเข้ามาใช้จาเป็นที่จะต้องมีการพิจารณาถึงประโยชน์ ความ
เหมาะสม และความเป็นไปได้ โดยควรคานึงถึงสิงต่อไปนี้ (กิดานันท์ มลิทอง, 2541)
่
ั
1. นวัตกรรมที่จะนามาใช้นนมีจุดเด่นที่เห็นได้ชดกว่าวัสดุ อุ ปกรณ์ หรือวิธีการที่
ั้
ใช้อยู ่ในปั จจุ บันมากน้อยเพียงใด
2. นวัตกรรมนันมีความเหมาะสมหรือไม่กับระบบหรือสภาพที่เป็นอยู ่
้
3. มีการวิจัยหรือกรณีศึกษาที่ยนยันแน่นอนแล้วว่า สามารถนามาใช้ได้ดีใน
ื
สภาวการณ์ท่ีคล้ายคลึงกันนี้
4. นวัตกรรมนันมีความเกี่ยวข้องกับความต้องการของผู ้ใช้อย่างจริงจัง
้
นวัตกรรมการศึกษา (Educational Innovation)
หมายถึง นวัตกรรมที่จะช่ วยให้การศึ กษาและการเรียนการ
สอนมีประสิทธิภาพดียิงขึน ผู ้เรียนสามารถเกิดการเรียนรู้
่ ้
ได้อย่างรวดเร็วมีประสิทธิผลสูงกว่าเดิม เกิดแรงจูงใจใน
การเรียนด้วยนวัตกรรมเหล่านัน และประหยัดเวลาในการ
้
เรียนได้อีกด้วย ปั จจุ บันมีการใช้นวัตกรรมการศึ กษา
มากมายหลายอย่างซ่ึงมีทังนวัตกรรมที่ใช้กันแพร่หลาย
้
แล้วและประเภทที่กาลังเผยแพร่ เช่ น บทเรียนคอมพิวเตอร์
ช่ วยสอน การใช้แผ่นวีดทัศน์เชิงโต้ตอบ สื่อหลายมิติ
ิ
บทเรียนบนเว็บ การเรียนการสอนผ่านสมาร์ทโฟน เป็นต้น
ประเภทของนวัตกรรมการศึกษา มี 5 ประเภท
• ด้านสื่อสาร
การสอน

• ด้านวิธีการ
จัดการสอน

• ด้านหลักสูตร
การสอน

Media

Techniques

curriculum

1. นวัตกรรมด้านสื่อสารการสอน
2. นวัตกรรมด้านวิธีการจัดการเรียนการสอน

3. นวัตกรรมด้านหลักสูตร
• ด้านการ
วัดผล
Assessment

• ด้านการ
บริหาร

4. นวัตกรรมด้านการวัดและการประเมินผล
5. นวัตกรรมด้านการบริหารจัดการ
นวัตกรรมด้านสื่อสารการสอน
สื่อประสม (Multimedia)
สือประสม หมายถึง การนาเอาสื่อหลายๆ ประเภทมาใช้
่
ร่วมกันทังวัสดุ อุ ปกรณ์ และวิธีการเพื่อให้เกิด
้
ประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงสุดในการเรียนการสอน
โดยการใช้ สื่อแต่ละอย่างตามลาดับขันตอนของเนือหา และ
้
้
ในปั จจุ บันมีการนาคอมพิวเตอร์มาใช้ รวมด้วยเพื่อการ
่
พลิกหรือการควบคุมการทางานของอุ ปกรณ์ต่างๆ ใน
การเสนอข้อมู ลทังตัวอักษร ภาพกราฟิ ก ภาพถ่าย
้
ภาพเคลื่อนไหวแบบวีดิทัศน์ และเสียง
พัฒนาการของ MULTIMEDIA
1. สื่อประสม แบบที่ 1 (Multimedia type I) เป็นสื่อประสมที่ใช้ โดย
การนาสื่อหลายประเภทมาใช้ ร่วมกันในการเรียนการสอน เช่ นนาวีดทัศน์
ิ
มาสอนประกอบการบรรยายของผู ้สอนโดยมีสื่อสิงพิมพ์ประกอบด้วย
่
หรือการใช้ ชุดการเรียนหรือชุ ดการสอน การใช้ สื่อประสมประเภทนี้
ผู ้เรียนและสื่อจะไม่มีปฏิสัมพันธ์โต้ตอบกันโดยตรง และจะมีลักษณะการ
ใช้ สื่อการสอนเป็น “สื่อหลายแบบ”
2. สื่อประสม แบบที่ 2 (Multimedia type II) เป็นสื่อประสมที่ใช้
คอมพิวเตอร์เป็นฐานในการเสนอสารสนเทศหรือการผลิตเพื่อเสนอ
ข้อมู ลประเภทต่างๆ เช่ นภาพนิง ภาพเคลื่อนไหว ตัวอักษรและเสียงใน
่
ลักษณะของสื่อหลายมิติ โดยที่ผู้ใช้ มีการโต้ตอบกับสื่อโดยตรง
การนาสื่อประสมมาใช้ ในการศึกษา
1. เกมเพื่อการศึ กษา คือ การใช้ เกมในลักษณะของสื่อประสมซึ่ งจะเป็นสิงที่ดึงดูดความสนใจของ
่
ผู ้เรียนได้เป็นอย่างดีนอกเหนือไปจากความสนุกสนานจากการเล่นเกมตามปกติ จะมีการสอดแทรก
ความรู้ด้านต่างๆ เช่ น คาศัพท์ ความหมายของวัตถุ ฯลฯ
2. การสอนและการทบทวน คือ การใช้ สื่อประสมเพื่อการสอนและทบทวนซึ่ งมีด้วยการหลาย
รูปแบบ เช่ น การฝึ กสะกดคา การคิดคานวณ ผู ้เรียนมีโอกาสเรียนรู้จากการสอนในเนือหา และ
้
ฝึ กปฏิบัติเพื่อทบทวนไปด้วยในตัว

3. สารสนเทศอ้างอิง คือ สื่อประสมที่ใช้ สาหรับสารสนเทศอ้างอิงเพื่อการศึ กษามักจะบรรจุ อยู ่ใน
แผ่น CD, DVD เนื่องจากสามารถบรรจุ ข้อมู ลได้เป็นจานวนมาก โดยจะเป็นลักษณะเนือหาหลาย
้
ประเภท เช่ น สารนุกรม พจนานุกรม แผนที่โลก สารทางการแพทย์ ประวัติศาสตร์ ฯลฯ
สื่อหลายมิติ (HYPERMEDIA)
สือหลายมิติ คือ การเสนอข้อมู ลเพื่อให้ผู้รับสามารถรับ
่
สารสนเทศในรูปแบบต่าง ๆ ที่สื่อเสนอได้โดยการเชื่อมโยง
ข้อมู ลจากรูปแบบหนึ่งไปยังอีกรูปแบบหนึ่งได้ในทันทีดวย
้
ความรวดเร็ว
สือหลายมิติ (Hypermedia) พัฒนามาจาก ข้อความ
่
หลายมิติ (Hypertext) ซ่ึงเป็นการเสนอการเชื่อมโยงเพียง
ข้อความตัวอักษร หากทาการเชื่อมโยงด้วยภาพกราฟิ ก
และเสียง จะกลายมาเป็นสื่อหลายมิติ นันเอง เช่ น การ
่
เชื่อมโยงบนภาพหรือไอคอนในสื่อสังคมออนไลน์ เป็นต้น
HYPERTEXT
รูปแบบของข้อความหลายมิติมีลักษณะของการเสนอเนือหาสันๆ เพื่อให้
้
้
ผู ้อ่านสามารถอ่านเนือหาข้อมู ลในมิติอื่นๆ ได้โดยไม่จาเป็นต้องเรียงลาดับ
้
ตามเนือหา ทังนีเ้ พราะข้อความหลายมิติมีการตัดข้อมู ลเป็นส่วนย่อยเป็น
้
้
้
ตอนๆ เรียกว่า “ จุ ดต่อ” (nodes) และเมื่อผู ้อ่านเรียกจุ ดต่อขึนมาอ่าน
เราเรียกว่า “การเลือกอ่าน” (browse) หรือเลือกที่จะเชื่อมต่อเข้าไปยัง
รายละเอียดในมิติอื่น
จุ ดต่อที่ผู้อ่านจะเรียกมาใช้ อ่านนันก็เมื่อจุ ดต่อนันมีความเกี่ยวข้องกับข้อมู ล
้
้
หรือเนือหาที่กาลังอ่านอยู ่นัน จุ ดต่ออาจจะประกอบด้วยคาเพียง 2–3 คา
้
้
หรือเป็นข้อมู ลเนือหาเกี่ยวกับเรื่องนันก็ได้
้
้
HYPERMEDIA

สื่อหลายมิติ (Hypermedia) เป็นการขยายแนวความคิดของข้อความ
หลายมิติในเรื่องของการเสนอข้อมู ลในลักษณะไม่เป็นเส้นตรง และเพิม
่
ความสามารถในการบรรจุ ข้อมู ลในลักษณะของภาพ ภาพกราฟิ กที่เป็น
ภาพนิงและภาพเคลื่อนไหว ภาพสามมิติ ภาพถ่าย เสียงพู ด เสียงดนตรี
่
เข้าไว้ในเนือหาด้วย เพื่อให้ผู้ใช้ หรือผู ้เรียนสามารถเข้าถึงเนือหาเรื่องราวใน
้
้
้
ลักษณะต่าง ๆ ได้หลายรูปแบบมากขึนกว่าเดิม (กิดานันท์ มลิทอง, 2540)
จุ ดประสงค์ของการใช้ สื่อหลายมิติ (HYPERMEDIA)
1.

ใช้ เป็นเครื่องมือในการสืบค้น (Browsing) สืบไปในข้อมู ล
สารสนเทศหรือบทเรียนต่างๆ

2. ใช้ เพื่อการการเชื่อมโยง (Linking) โดยผู ้ใช้ สามารถเชื่อมโยง
แฟ้ มข้อมู ลต่างๆ ภายในระบบเดียวกัน ตลอดจนเชื่อมต่อไป
ยังเครือข่ายภายนอก เช่ น การเชื่อมต่อกับระบบเครือข่าย
อินเทอร์เน็ต เป็นต้น
3. ใช้ ในการสร้างบทเรียน (Authoring) สร้างโปรแกรมนาเสนอ
รายงานสารสนเทศต่างๆ ซึ่ งถือว่าเป็นโปรแกรมที่มีความ
น่าสนใจ เนื่องจากสามารถนาเสนอได้ทังภาพ เสียง และ
้
ภาพเคลื่อนไหว
สื่อหลายมิตกับการเรียนการสอน
ิ

จากความสามารถของสื่อหลายมิติ ที่สามารถช่ วยให้ผู้ใช้
สามารถสืบค้นข้อมู ล เชื่อมโยงข้อมู ล และเขียนข้อมู ลได้
หลากหลายรูปแบบ ทาให้มีการสร้างบทเรียนบนระบบ
เครือข่าย เพื่อใช้ ในการเรียนการสอนในระดับต่างๆ และวิชา
เรียนต่างๆ ซ่ึงอาจจะเรียกว่า Web-Based Instruction
(WBI) หรืออาจจะพัฒนาเป็นระบบการจัดการเรียนการสอน
ที่เรียกว่า Learning Management System (LMS)
ประโยชน์ของสือหลายมิติในการเรียนการสอน
่
1. เรียกดูความหมายของคาศัพท์ ที่ผู้เรียนยังไม่เข้าใจได้ทันที
2. ขยายความเข้าใจในเนือหาบทเรียนด้วยการ
้
3. ดูแผนภาพหรือภาพวาด

4. ดูภาพถ่าย ภาพนิง และภาพเคลื่อนไหวที่บันทึกจากเครื่องเล่นแผ่นวีดิทัศน์
่
5. ฟังเสียงคาอธิบายที่เป็นเสียงพู ด หรือฟังเสียงดนตรี เสียง
6. ใช้ สมุ ดบันทึกที่มีอยู ่ในโปรแกรมเพื่อบันทึกใจความสาคัญของบทเรียน
7. ใช้ เครื่องมือวาดภาพในโปรแกรมนันเพื่อวาดผังมโนทัศน์เพื่อให้เข้าใจบทเรียนได้ง่ายยิงขึน
้
่ ้
้
8. สามารถเชื่อมโยงข้อมู ลต่าง ๆ ที่สนใจขึนมาอ่านหรือดูเพิมเติมได้โดยสะดวก
่

้
9. ใช้ แผนที่ระบบเพื่อดูว่าขณะนีกาลังตรงส่วนใดของบทเรียนและเพื่อช่ วยในการสรุ ปการเรียน
กิจกรรมหลังเรียน (COLLABORATIVE ACTIVITIES)
• ให้นักศึ กษาชมวีดิทัศน์ต่อไปนี้ แล้วอภิปรายร่วมกับเพื่อนร่วมชันเรียนอีก 1 คน เพื่อวิเคราะห์
้
ประเด็นสาคัญ 3 ประการ ที่นักวิชาการแต่ละคนกล่าวไว้ในวีดิทัศน์
http://www.youtube.com/watch?v=2NK0WR2GtFs
1. วิเคราะห์ความสาคัญของนวัตกรรม หมายถึง การแยกแยะสิงที่กาหนดมาให้ว่าอะไรสาคัญหรือ
่
จาเป็นหรือมีบทบาทที่สุด
2. วิเคราะห์ความสัมพันธ์ของของนวัตกรรม หมายถึง การค้นหาว่าความสาคัญย่อยๆ ของ
เรื่องราวหรือเหตุการณ์นันเกี่ยวพันกันอย่างไร
้
3. วิเคราะห์หลักการที่จะจัดว่าเป็นนวัตกรรม หมายถึง การค้นหาโครงสร้างและระบบของวัตถุ สิงของ
่
เรื่องราว และการกระทาต่างๆ ว่าสิงเหล่านันรวมกันจนดารงสภาพเช่ นนันอยู ่ได้เนื่องจากอะไร
้
้
่
โดยยึดอะไรเป็นหลัก เป็นแกนกลาง มีสิงใดเป็นตัวเชื่อมโยง ยึดถือหลักการใด
่
• ผลการวิเคราะห์ประเด็นสาคัญ 3 ประการนันนาไปสรุ ปเป็นการบ้านชุ ดที่ 2 (Next Page)
้
Homework 02
ให้นักศึ กษาสรุ ปประเด็นจากการวิเคราะห์ 3 ประการ (จากหน้าที่ผ่านมา) ในหัวข้อต่อไปนี้

1. นวัตกรรม (Innovation)
2. นวัตกรรมการศึ กษา (Educational Innovation)
3. สื่อประสม (Multimedia)
4. ข้อความหลายมิติ (Hypertext)
5. สื่อหลายมิติ (Hypermedia)
โดยแต่ละข้อวิเคราะห์ 3 ด้าน จัดทาไฟล์ Microsoft Word ประมาณ 2 หน้า แล้วบันทึกโดย
้
Save As เป็น PDF โดยตังชื่อ เช่ น 565050016-1-homework-02 จากนันให้อัพโหลดไฟล์ขึน
้
้
ในกลุ่ม Facebook.com โดยพิมพ์ชื่อ – สกุล รหัสประจาตัวด้านบนหน้าแรก
THANK YOU
E-MAIL: TAWSRA@GMAIL.COM
MOBILE: 08-3336-5871
FACEBOOK.COM/TAWSRA

More Related Content

What's hot

นวัตกรรมการศึกษา 7 ประเภท
นวัตกรรมการศึกษา 7 ประเภทนวัตกรรมการศึกษา 7 ประเภท
นวัตกรรมการศึกษา 7 ประเภทNGamtip
 
งานกลุ่มวิชานวัตกรรมการศึกษา กลุ่ม หนูน้อยหมวกแดง
งานกลุ่มวิชานวัตกรรมการศึกษา  กลุ่ม  หนูน้อยหมวกแดงงานกลุ่มวิชานวัตกรรมการศึกษา  กลุ่ม  หนูน้อยหมวกแดง
งานกลุ่มวิชานวัตกรรมการศึกษา กลุ่ม หนูน้อยหมวกแดงmicnattawat
 
Media&tech2learn 003 - Part 3
Media&tech2learn 003 - Part 3Media&tech2learn 003 - Part 3
Media&tech2learn 003 - Part 3Kittipun Udomseth
 
การประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศกับการศึกษา
การประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศกับการศึกษา การประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศกับการศึกษา
การประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศกับการศึกษา วีรวัฒน์ สว่างแสง
 
คู่มือการใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน นักเรีนน
คู่มือการใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน นักเรีนนคู่มือการใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน นักเรีนน
คู่มือการใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน นักเรีนนครูทัศรินทร์ บุญพร้อม
 
สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ กับ กระบวนทัศน์ใหม่ของการเรียนรู้
สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ กับ กระบวนทัศน์ใหม่ของการเรียนรู้สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ กับ กระบวนทัศน์ใหม่ของการเรียนรู้
สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ กับ กระบวนทัศน์ใหม่ของการเรียนรู้panisa thepthawat
 
Chapter 1 เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
Chapter 1 เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาChapter 1 เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
Chapter 1 เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาWuth Chokcharoen
 
โครงร่างวิทยานิพนธ์ นายปรัชญา จันตา
โครงร่างวิทยานิพนธ์ นายปรัชญา จันตาโครงร่างวิทยานิพนธ์ นายปรัชญา จันตา
โครงร่างวิทยานิพนธ์ นายปรัชญา จันตาKUSMP
 
Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...
Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...
Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...Panita Wannapiroon Kmutnb
 
ผลการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อสังคมออนไลน์ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง
ผลการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อสังคมออนไลน์ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเองผลการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อสังคมออนไลน์ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง
ผลการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อสังคมออนไลน์ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเองNattapon
 
การจัดเรียนเรียนรู้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Construct...
การจัดเรียนเรียนรู้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Construct...การจัดเรียนเรียนรู้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Construct...
การจัดเรียนเรียนรู้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Construct...Nattapon
 

What's hot (20)

Chapter1
Chapter1 Chapter1
Chapter1
 
นวัตกรรมการศึกษา 7 ประเภท
นวัตกรรมการศึกษา 7 ประเภทนวัตกรรมการศึกษา 7 ประเภท
นวัตกรรมการศึกษา 7 ประเภท
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
 
งานกลุ่มวิชานวัตกรรมการศึกษา กลุ่ม หนูน้อยหมวกแดง
งานกลุ่มวิชานวัตกรรมการศึกษา  กลุ่ม  หนูน้อยหมวกแดงงานกลุ่มวิชานวัตกรรมการศึกษา  กลุ่ม  หนูน้อยหมวกแดง
งานกลุ่มวิชานวัตกรรมการศึกษา กลุ่ม หนูน้อยหมวกแดง
 
บทที่ 10
บทที่ 10บทที่ 10
บทที่ 10
 
Utq 001
Utq 001Utq 001
Utq 001
 
นวัตกรรมทางการศึกษา
นวัตกรรมทางการศึกษานวัตกรรมทางการศึกษา
นวัตกรรมทางการศึกษา
 
บทความ5
บทความ5บทความ5
บทความ5
 
Media&tech2learn 003 - Part 3
Media&tech2learn 003 - Part 3Media&tech2learn 003 - Part 3
Media&tech2learn 003 - Part 3
 
Innovation333
Innovation333Innovation333
Innovation333
 
การประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศกับการศึกษา
การประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศกับการศึกษา การประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศกับการศึกษา
การประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศกับการศึกษา
 
คู่มือการใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน นักเรีนน
คู่มือการใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน นักเรีนนคู่มือการใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน นักเรีนน
คู่มือการใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน นักเรีนน
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ กับ กระบวนทัศน์ใหม่ของการเรียนรู้
สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ กับ กระบวนทัศน์ใหม่ของการเรียนรู้สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ กับ กระบวนทัศน์ใหม่ของการเรียนรู้
สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ กับ กระบวนทัศน์ใหม่ของการเรียนรู้
 
13นิตยา
13นิตยา13นิตยา
13นิตยา
 
Chapter 1 เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
Chapter 1 เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาChapter 1 เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
Chapter 1 เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
 
โครงร่างวิทยานิพนธ์ นายปรัชญา จันตา
โครงร่างวิทยานิพนธ์ นายปรัชญา จันตาโครงร่างวิทยานิพนธ์ นายปรัชญา จันตา
โครงร่างวิทยานิพนธ์ นายปรัชญา จันตา
 
Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...
Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...
Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...
 
ผลการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อสังคมออนไลน์ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง
ผลการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อสังคมออนไลน์ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเองผลการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อสังคมออนไลน์ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง
ผลการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อสังคมออนไลน์ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง
 
การจัดเรียนเรียนรู้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Construct...
การจัดเรียนเรียนรู้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Construct...การจัดเรียนเรียนรู้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Construct...
การจัดเรียนเรียนรู้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Construct...
 

Viewers also liked

Berlo's smcr model of communication
Berlo's smcr model of communicationBerlo's smcr model of communication
Berlo's smcr model of communicationdurgasathyan
 
Chapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
Chapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษาChapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
Chapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษาTeerasak Nantasan
 
Approaches to communication the idea of theory.
Approaches to communication   the idea of theory.Approaches to communication   the idea of theory.
Approaches to communication the idea of theory.Jimi Kayode
 
What is Journalism? Discuss Role and Types of Journalism
What is Journalism? Discuss Role and Types of Journalism What is Journalism? Discuss Role and Types of Journalism
What is Journalism? Discuss Role and Types of Journalism Kaushal Desai
 
Communication Theories
Communication TheoriesCommunication Theories
Communication TheoriesSomaiya
 
Online journalism presentation
Online journalism presentationOnline journalism presentation
Online journalism presentationZeeshan Qasim
 
Uses & gratification theory
Uses & gratification theoryUses & gratification theory
Uses & gratification theorycamilleproyart
 
Communication Models Presentation
Communication Models PresentationCommunication Models Presentation
Communication Models Presentationgerryhill
 
Diffusion Of Innovation
Diffusion Of InnovationDiffusion Of Innovation
Diffusion Of InnovationAditya008
 
Types of communication presentation
Types of communication presentationTypes of communication presentation
Types of communication presentationlukekeogh20
 
Introduction to Journalism
Introduction to JournalismIntroduction to Journalism
Introduction to JournalismKrish SJ
 

Viewers also liked (17)

Berlo’s smcr model
Berlo’s smcr modelBerlo’s smcr model
Berlo’s smcr model
 
Berlo's smcr model of communication
Berlo's smcr model of communicationBerlo's smcr model of communication
Berlo's smcr model of communication
 
David Berlo's Model of Communication
David Berlo's Model of CommunicationDavid Berlo's Model of Communication
David Berlo's Model of Communication
 
Chapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
Chapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษาChapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
Chapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
 
APProaches to Business Messages
APProaches to Business MessagesAPProaches to Business Messages
APProaches to Business Messages
 
Approaches to communication the idea of theory.
Approaches to communication   the idea of theory.Approaches to communication   the idea of theory.
Approaches to communication the idea of theory.
 
What is Journalism? Discuss Role and Types of Journalism
What is Journalism? Discuss Role and Types of Journalism What is Journalism? Discuss Role and Types of Journalism
What is Journalism? Discuss Role and Types of Journalism
 
Agenda setting theory ppt
Agenda setting theory pptAgenda setting theory ppt
Agenda setting theory ppt
 
Communication Theories
Communication TheoriesCommunication Theories
Communication Theories
 
Types of communication
Types of communicationTypes of communication
Types of communication
 
Online journalism presentation
Online journalism presentationOnline journalism presentation
Online journalism presentation
 
Uses & gratification theory
Uses & gratification theoryUses & gratification theory
Uses & gratification theory
 
Communication Models Presentation
Communication Models PresentationCommunication Models Presentation
Communication Models Presentation
 
Uses and gratifications theory
Uses and gratifications theoryUses and gratifications theory
Uses and gratifications theory
 
Diffusion Of Innovation
Diffusion Of InnovationDiffusion Of Innovation
Diffusion Of Innovation
 
Types of communication presentation
Types of communication presentationTypes of communication presentation
Types of communication presentation
 
Introduction to Journalism
Introduction to JournalismIntroduction to Journalism
Introduction to Journalism
 

Similar to Introduction to innovation 2013 10-27

สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้Nat Thida
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้Nat Thida
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้Nat Thida
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้Nat Thida
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้Nat Thida
 
สื่อและแหล่งการเรียน
สื่อและแหล่งการเรียนสื่อและแหล่งการเรียน
สื่อและแหล่งการเรียนmaymymay
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้Anny Hotelier
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้poms0077
 
สื่อ
สื่อสื่อ
สื่อpoms0077
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้poms0077
 
Introduction to teachnologies and educational medie
Introduction to teachnologies and educational medieIntroduction to teachnologies and educational medie
Introduction to teachnologies and educational medieKanatip Sriwarom
 
บทที่7ใหม่
บทที่7ใหม่บทที่7ใหม่
บทที่7ใหม่panisaae
 
บทที่7new
บทที่7newบทที่7new
บทที่7newpanisaae
 
บทที่7
บทที่7บทที่7
บทที่7panisaae
 
บทที่7 ใหม่ๆ
บทที่7 ใหม่ๆบทที่7 ใหม่ๆ
บทที่7 ใหม่ๆpanisaae
 
บทที่7
บทที่7บทที่7
บทที่7panisaae
 
บทที่7ใหม่ๆ
บทที่7ใหม่ๆบทที่7ใหม่ๆ
บทที่7ใหม่ๆpanisaae
 

Similar to Introduction to innovation 2013 10-27 (20)

สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
 
สื่อและแหล่งการเรียน
สื่อและแหล่งการเรียนสื่อและแหล่งการเรียน
สื่อและแหล่งการเรียน
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
 
test pppt
test pppttest pppt
test pppt
 
Testpppt
TestppptTestpppt
Testpppt
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
 
สื่อ
สื่อสื่อ
สื่อ
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
 
Introduction to teachnologies and educational medie
Introduction to teachnologies and educational medieIntroduction to teachnologies and educational medie
Introduction to teachnologies and educational medie
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่7ใหม่
บทที่7ใหม่บทที่7ใหม่
บทที่7ใหม่
 
บทที่7new
บทที่7newบทที่7new
บทที่7new
 
บทที่7
บทที่7บทที่7
บทที่7
 
บทที่7 ใหม่ๆ
บทที่7 ใหม่ๆบทที่7 ใหม่ๆ
บทที่7 ใหม่ๆ
 
บทที่7
บทที่7บทที่7
บทที่7
 
บทที่7ใหม่ๆ
บทที่7ใหม่ๆบทที่7ใหม่ๆ
บทที่7ใหม่ๆ
 

More from khon Kaen University

การปลูกฝังจิตวิญญาณความเป็นครู
การปลูกฝังจิตวิญญาณความเป็นครูการปลูกฝังจิตวิญญาณความเป็นครู
การปลูกฝังจิตวิญญาณความเป็นครูkhon Kaen University
 
EdT KKU student handbook 2015-08-02
EdT KKU student handbook 2015-08-02EdT KKU student handbook 2015-08-02
EdT KKU student handbook 2015-08-02khon Kaen University
 
Designing of Web-Based Instruction of Education
Designing of Web-Based Instruction of EducationDesigning of Web-Based Instruction of Education
Designing of Web-Based Instruction of Educationkhon Kaen University
 
Bloom’s Taxonomy for Designing Achievement Test (in Thai)
Bloom’s Taxonomy for Designing Achievement Test (in Thai)Bloom’s Taxonomy for Designing Achievement Test (in Thai)
Bloom’s Taxonomy for Designing Achievement Test (in Thai)khon Kaen University
 
The top 10 characteristics of a 21st century classroom
The top 10 characteristics of a 21st century classroomThe top 10 characteristics of a 21st century classroom
The top 10 characteristics of a 21st century classroomkhon Kaen University
 
Information technology in 21th Century Classroom
Information technology in 21th Century ClassroomInformation technology in 21th Century Classroom
Information technology in 21th Century Classroomkhon Kaen University
 
Introduction to Information Technology for Learning
Introduction to Information Technology for LearningIntroduction to Information Technology for Learning
Introduction to Information Technology for Learningkhon Kaen University
 
01 51-01-0401-m1-sci-lesson-plan-v1
01 51-01-0401-m1-sci-lesson-plan-v101 51-01-0401-m1-sci-lesson-plan-v1
01 51-01-0401-m1-sci-lesson-plan-v1khon Kaen University
 
P D C A cycle for Physical Education
P D C A cycle for Physical EducationP D C A cycle for Physical Education
P D C A cycle for Physical Educationkhon Kaen University
 

More from khon Kaen University (17)

Asean country
Asean countryAsean country
Asean country
 
Bloom's taxonomy for learning
Bloom's taxonomy for learningBloom's taxonomy for learning
Bloom's taxonomy for learning
 
การปลูกฝังจิตวิญญาณความเป็นครู
การปลูกฝังจิตวิญญาณความเป็นครูการปลูกฝังจิตวิญญาณความเป็นครู
การปลูกฝังจิตวิญญาณความเป็นครู
 
The assure model
The assure modelThe assure model
The assure model
 
EdT KKU student handbook 2015-08-02
EdT KKU student handbook 2015-08-02EdT KKU student handbook 2015-08-02
EdT KKU student handbook 2015-08-02
 
Designing of Web-Based Instruction of Education
Designing of Web-Based Instruction of EducationDesigning of Web-Based Instruction of Education
Designing of Web-Based Instruction of Education
 
Problem based learning
Problem based learningProblem based learning
Problem based learning
 
Webbasic
WebbasicWebbasic
Webbasic
 
Bloom’s Taxonomy for Designing Achievement Test (in Thai)
Bloom’s Taxonomy for Designing Achievement Test (in Thai)Bloom’s Taxonomy for Designing Achievement Test (in Thai)
Bloom’s Taxonomy for Designing Achievement Test (in Thai)
 
Edgar Dale’s Cone of Experience
Edgar Dale’s Cone of ExperienceEdgar Dale’s Cone of Experience
Edgar Dale’s Cone of Experience
 
The top 10 characteristics of a 21st century classroom
The top 10 characteristics of a 21st century classroomThe top 10 characteristics of a 21st century classroom
The top 10 characteristics of a 21st century classroom
 
Information technology in 21th Century Classroom
Information technology in 21th Century ClassroomInformation technology in 21th Century Classroom
Information technology in 21th Century Classroom
 
241203 t2 y2556_course_ syllabus
241203 t2 y2556_course_ syllabus241203 t2 y2556_course_ syllabus
241203 t2 y2556_course_ syllabus
 
Introduction to Information Technology for Learning
Introduction to Information Technology for LearningIntroduction to Information Technology for Learning
Introduction to Information Technology for Learning
 
01 51-01-0401-m1-sci-lesson-plan-v1
01 51-01-0401-m1-sci-lesson-plan-v101 51-01-0401-m1-sci-lesson-plan-v1
01 51-01-0401-m1-sci-lesson-plan-v1
 
Car tax 2556
Car tax 2556Car tax 2556
Car tax 2556
 
P D C A cycle for Physical Education
P D C A cycle for Physical EducationP D C A cycle for Physical Education
P D C A cycle for Physical Education
 

Introduction to innovation 2013 10-27

  • 2. วัตถุประสงค์การเรียนรู้ 1. เพื่อให้นักศึ กษาอธิบายความหมายของนวัตกรรมได้ 2. เพื่อให้นักศึ กษาอธิบายความหมายของนวัตกรรมการศึ กษาได้ 3. เพื่อให้นักศึ กษาอธิบายประเภทของนวัตกรรมการศึ กษาได้ 4. เพื่อให้นักศึ กษาอธิบายความหมายของสื่อประสมและสื่อหลายมิติได้ 5. เพื่อให้นักศึ กษาสามารถวิเคราะห์ความสาคัญ ความสัมพันธ์และหลักการของ นวัตกรรมได้
  • 3. ทบทวนเนือหาที่เรียนผ่านมา ้ 1. ความหมายของเทคโนโลยี 2. ความหมายของสารสนเทศ 3. ความหมายของของเทคโนโลยีสารสนเทศ 4. องค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศ 5. การประยุ กต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ กรณีศึกษา การถอนเงินจากธนาคาร
  • 4. ความหมายของนวัตกรรม นวัตกรรม เป็นศัพท์บัญญัติทางการศึ กษา ใช้แทนคาว่า Innovation ในภาษาอังกฤษ ซ่ึงมีรากศัพท์มาจากภาษา ลาตินว่า Innovare แปลว่า to renew หรือ to modify คาว่า”นวัตกรรม” มีรากศัพท์มาจาก นว + อตต (บาลี) มีความหมายว่า “ใหม่” + กรรม (สันสกฤต) มีความหมาย ว่า “การกระทา การปฏิบัติ ความคิด” หมายถึง ความคิด หรือการกระทา ใหม่ๆ ที่นามาใช้แก้ปัญหาในการปฏิบัติงาน ด้านต่างๆ และสามารถอานวยความสะดวกใน ชีวิตประจาวันของมนุษย์อย่างมีประสิทธิภาพ
  • 5. THOMAS HUGHES (1971) Pilot Project Development Invention ทอมัส ฮิวช์ (Thomas Hughes, 1971) ได้ให้ ความหมาย "นวัตกรรม" ว่าเป็นการนาวิธีการ ใหม่ๆ มาปฏิบัติหลังจากได้ผ่านการทดลองหรือ ได้รับการพัฒนามาเป็นขันๆ แล้ว ้ โดยเริมมาตังแต่การคิดค้น (Invention) การ ้ ่ พัฒนา (Development) ซ่ึงอาจมีการทดลอง ปฏิบัติก่อน (Pilot project) แล้วจึงนาไปปฏิบัติจริง ซ่ึงแตกต่างไปจากการปฏิบัตเิ ดิมที่เคยปฏิบัติมา
  • 6. กิดานันท์ มลิทอง (2543) แนวคิด การปฏิบัติ ใหม่ / ดัดแปลง กิดานันท์ มลิทอง (2543) ให้ความหมายว่า นวัตกรรมเป็นแนวความคิด การปฏิบัติหรือ สิงประดิษฐใ์ หม่ๆ ที่ยังไม่เคยมีใครใช้ มาก่อน ่ หรือเป็นการพัฒนาดัดแปลงจากของเดิม ที่มี อยู ่แล้วให้ทันสมัยและใช้ ได้ผลดีมีประสิทธิภาพ และประสิทธิผลสูงกว่าเดิมทังยังช่ วย ้ ประหยัดเวลาและแรงงานอีกด้วย
  • 7. ชัยยงค์ พรหมวงศ์ วิธีปฏิบัติ แนวคิด ใหม่ๆ ชัยยงค์ พรหมวงศ์ (2521) ได้ให้ความหมายไว้ว่า หลักการวิธีปฏิบัติและแนวคิดอย่างใดอย่างหนึ่ง ซ่ึงไม่ถือว่าเป็นนวัตกรรมของประเทศหนึ่งอาจจะ เป็นนวัตกรรมของประเทศอื่นก็ได้ และสิงที่ถือว่า ่ เป็นวัตกรรมแล้วในอดีต หากมีการใช้ กันอย่าง แพร่หลายแล้วก็ไม่ถือว่าเป็นนวัตกรรมแต่สิงที่ใช้ ไม่ ่ ได้ผลในอดีต หากมีการนามาปรับปรุ งใช้ ได้อย่างมี ประสิทธิภาพ สิงนันถือได้ว่าเป็นนวัตกรรม ่ ่
  • 8. สรุ ปความหมาย “นวัตกรรม” นวัตกรรม หมายถึง ความคิด การปฏิบัติ หรือ สิงประดิษฐใ์ หม่ๆ ที่ยังไม่เคยมีใช้ มาก่อนหรือเป็น ่ การพัฒนาดัดแปลงมาจากของเดิมที่มีอยู ่แล้วให้ ทันสมัยและใช้ ได้ผลดียิงขึน เมื่อนานวัตกรรมมา ่ ้ ใช้ จะช่ วยให้การทางานนันได้ผลดีมีประสิทธิภาพ ้ และประสิทธิผลมากยิงขึน ตลอดจนสามารถ ่ ้ ปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้อง รวดเร็ว และทันสมัย
  • 9. หลักสาคัญในการพิจารณาว่าเป็นนวัตกรรม เกณฑ์ให้เราพิจารณาได้วาสิงใดเป็นนวัตกรรมหรือไม่ โดย ชัยยงค์ พรหมวงศ์ ได้ ่ ่ ให้เกณฑ์ในการพิจารณาสิงที่จะถือว่าเป็น “นวัตกรรม” ไว้ดังนี้ ่ 1. ต้องเป็นสิงใหม่ทงหมดหรือบางส่วน ั้ ่ 2. ต้องมีการนาวิธีการจัดระบบมาใช้ โดยพิจารณาองค์ประกอบทังส่วนข้อมู ลที่ ้ ใส่เข้าไป กระบวนการ และผลลัพธ์ ให้เหมาะสมก่อนที่จะทาการเปลี่ยนแปลง 3. ต้องมีการพิสูจน์ด้วยการวิจัยหรืออยู ่ระหว่างการวิจยว่าจะช่ วยให้การ ั ้ ดาเนินงานบางอย่างมีประสิทธิภาพสูงขึน 4. ต้องยังไม่เป็นส่วนหนึ่งของระบบงานในปั จจุ บัน หากกลายเป็นส่วนหนึ่งของ ระบบงานที่ดาเนินอยู ่ในขณะนี้ ไม่ถือว่าเป็นนวัตกรรม
  • 10. หลักสาคัญในการนานวัตกรรมเข้ามาใช้ การที่จะรับนวัตกรรมเข้ามาใช้จาเป็นที่จะต้องมีการพิจารณาถึงประโยชน์ ความ เหมาะสม และความเป็นไปได้ โดยควรคานึงถึงสิงต่อไปนี้ (กิดานันท์ มลิทอง, 2541) ่ ั 1. นวัตกรรมที่จะนามาใช้นนมีจุดเด่นที่เห็นได้ชดกว่าวัสดุ อุ ปกรณ์ หรือวิธีการที่ ั้ ใช้อยู ่ในปั จจุ บันมากน้อยเพียงใด 2. นวัตกรรมนันมีความเหมาะสมหรือไม่กับระบบหรือสภาพที่เป็นอยู ่ ้ 3. มีการวิจัยหรือกรณีศึกษาที่ยนยันแน่นอนแล้วว่า สามารถนามาใช้ได้ดีใน ื สภาวการณ์ท่ีคล้ายคลึงกันนี้ 4. นวัตกรรมนันมีความเกี่ยวข้องกับความต้องการของผู ้ใช้อย่างจริงจัง ้
  • 11. นวัตกรรมการศึกษา (Educational Innovation) หมายถึง นวัตกรรมที่จะช่ วยให้การศึ กษาและการเรียนการ สอนมีประสิทธิภาพดียิงขึน ผู ้เรียนสามารถเกิดการเรียนรู้ ่ ้ ได้อย่างรวดเร็วมีประสิทธิผลสูงกว่าเดิม เกิดแรงจูงใจใน การเรียนด้วยนวัตกรรมเหล่านัน และประหยัดเวลาในการ ้ เรียนได้อีกด้วย ปั จจุ บันมีการใช้นวัตกรรมการศึ กษา มากมายหลายอย่างซ่ึงมีทังนวัตกรรมที่ใช้กันแพร่หลาย ้ แล้วและประเภทที่กาลังเผยแพร่ เช่ น บทเรียนคอมพิวเตอร์ ช่ วยสอน การใช้แผ่นวีดทัศน์เชิงโต้ตอบ สื่อหลายมิติ ิ บทเรียนบนเว็บ การเรียนการสอนผ่านสมาร์ทโฟน เป็นต้น
  • 12. ประเภทของนวัตกรรมการศึกษา มี 5 ประเภท • ด้านสื่อสาร การสอน • ด้านวิธีการ จัดการสอน • ด้านหลักสูตร การสอน Media Techniques curriculum 1. นวัตกรรมด้านสื่อสารการสอน 2. นวัตกรรมด้านวิธีการจัดการเรียนการสอน 3. นวัตกรรมด้านหลักสูตร • ด้านการ วัดผล Assessment • ด้านการ บริหาร 4. นวัตกรรมด้านการวัดและการประเมินผล 5. นวัตกรรมด้านการบริหารจัดการ
  • 13. นวัตกรรมด้านสื่อสารการสอน สื่อประสม (Multimedia) สือประสม หมายถึง การนาเอาสื่อหลายๆ ประเภทมาใช้ ่ ร่วมกันทังวัสดุ อุ ปกรณ์ และวิธีการเพื่อให้เกิด ้ ประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงสุดในการเรียนการสอน โดยการใช้ สื่อแต่ละอย่างตามลาดับขันตอนของเนือหา และ ้ ้ ในปั จจุ บันมีการนาคอมพิวเตอร์มาใช้ รวมด้วยเพื่อการ ่ พลิกหรือการควบคุมการทางานของอุ ปกรณ์ต่างๆ ใน การเสนอข้อมู ลทังตัวอักษร ภาพกราฟิ ก ภาพถ่าย ้ ภาพเคลื่อนไหวแบบวีดิทัศน์ และเสียง
  • 14. พัฒนาการของ MULTIMEDIA 1. สื่อประสม แบบที่ 1 (Multimedia type I) เป็นสื่อประสมที่ใช้ โดย การนาสื่อหลายประเภทมาใช้ ร่วมกันในการเรียนการสอน เช่ นนาวีดทัศน์ ิ มาสอนประกอบการบรรยายของผู ้สอนโดยมีสื่อสิงพิมพ์ประกอบด้วย ่ หรือการใช้ ชุดการเรียนหรือชุ ดการสอน การใช้ สื่อประสมประเภทนี้ ผู ้เรียนและสื่อจะไม่มีปฏิสัมพันธ์โต้ตอบกันโดยตรง และจะมีลักษณะการ ใช้ สื่อการสอนเป็น “สื่อหลายแบบ” 2. สื่อประสม แบบที่ 2 (Multimedia type II) เป็นสื่อประสมที่ใช้ คอมพิวเตอร์เป็นฐานในการเสนอสารสนเทศหรือการผลิตเพื่อเสนอ ข้อมู ลประเภทต่างๆ เช่ นภาพนิง ภาพเคลื่อนไหว ตัวอักษรและเสียงใน ่ ลักษณะของสื่อหลายมิติ โดยที่ผู้ใช้ มีการโต้ตอบกับสื่อโดยตรง
  • 15. การนาสื่อประสมมาใช้ ในการศึกษา 1. เกมเพื่อการศึ กษา คือ การใช้ เกมในลักษณะของสื่อประสมซึ่ งจะเป็นสิงที่ดึงดูดความสนใจของ ่ ผู ้เรียนได้เป็นอย่างดีนอกเหนือไปจากความสนุกสนานจากการเล่นเกมตามปกติ จะมีการสอดแทรก ความรู้ด้านต่างๆ เช่ น คาศัพท์ ความหมายของวัตถุ ฯลฯ 2. การสอนและการทบทวน คือ การใช้ สื่อประสมเพื่อการสอนและทบทวนซึ่ งมีด้วยการหลาย รูปแบบ เช่ น การฝึ กสะกดคา การคิดคานวณ ผู ้เรียนมีโอกาสเรียนรู้จากการสอนในเนือหา และ ้ ฝึ กปฏิบัติเพื่อทบทวนไปด้วยในตัว 3. สารสนเทศอ้างอิง คือ สื่อประสมที่ใช้ สาหรับสารสนเทศอ้างอิงเพื่อการศึ กษามักจะบรรจุ อยู ่ใน แผ่น CD, DVD เนื่องจากสามารถบรรจุ ข้อมู ลได้เป็นจานวนมาก โดยจะเป็นลักษณะเนือหาหลาย ้ ประเภท เช่ น สารนุกรม พจนานุกรม แผนที่โลก สารทางการแพทย์ ประวัติศาสตร์ ฯลฯ
  • 16. สื่อหลายมิติ (HYPERMEDIA) สือหลายมิติ คือ การเสนอข้อมู ลเพื่อให้ผู้รับสามารถรับ ่ สารสนเทศในรูปแบบต่าง ๆ ที่สื่อเสนอได้โดยการเชื่อมโยง ข้อมู ลจากรูปแบบหนึ่งไปยังอีกรูปแบบหนึ่งได้ในทันทีดวย ้ ความรวดเร็ว สือหลายมิติ (Hypermedia) พัฒนามาจาก ข้อความ ่ หลายมิติ (Hypertext) ซ่ึงเป็นการเสนอการเชื่อมโยงเพียง ข้อความตัวอักษร หากทาการเชื่อมโยงด้วยภาพกราฟิ ก และเสียง จะกลายมาเป็นสื่อหลายมิติ นันเอง เช่ น การ ่ เชื่อมโยงบนภาพหรือไอคอนในสื่อสังคมออนไลน์ เป็นต้น
  • 17. HYPERTEXT รูปแบบของข้อความหลายมิติมีลักษณะของการเสนอเนือหาสันๆ เพื่อให้ ้ ้ ผู ้อ่านสามารถอ่านเนือหาข้อมู ลในมิติอื่นๆ ได้โดยไม่จาเป็นต้องเรียงลาดับ ้ ตามเนือหา ทังนีเ้ พราะข้อความหลายมิติมีการตัดข้อมู ลเป็นส่วนย่อยเป็น ้ ้ ้ ตอนๆ เรียกว่า “ จุ ดต่อ” (nodes) และเมื่อผู ้อ่านเรียกจุ ดต่อขึนมาอ่าน เราเรียกว่า “การเลือกอ่าน” (browse) หรือเลือกที่จะเชื่อมต่อเข้าไปยัง รายละเอียดในมิติอื่น จุ ดต่อที่ผู้อ่านจะเรียกมาใช้ อ่านนันก็เมื่อจุ ดต่อนันมีความเกี่ยวข้องกับข้อมู ล ้ ้ หรือเนือหาที่กาลังอ่านอยู ่นัน จุ ดต่ออาจจะประกอบด้วยคาเพียง 2–3 คา ้ ้ หรือเป็นข้อมู ลเนือหาเกี่ยวกับเรื่องนันก็ได้ ้ ้
  • 18. HYPERMEDIA สื่อหลายมิติ (Hypermedia) เป็นการขยายแนวความคิดของข้อความ หลายมิติในเรื่องของการเสนอข้อมู ลในลักษณะไม่เป็นเส้นตรง และเพิม ่ ความสามารถในการบรรจุ ข้อมู ลในลักษณะของภาพ ภาพกราฟิ กที่เป็น ภาพนิงและภาพเคลื่อนไหว ภาพสามมิติ ภาพถ่าย เสียงพู ด เสียงดนตรี ่ เข้าไว้ในเนือหาด้วย เพื่อให้ผู้ใช้ หรือผู ้เรียนสามารถเข้าถึงเนือหาเรื่องราวใน ้ ้ ้ ลักษณะต่าง ๆ ได้หลายรูปแบบมากขึนกว่าเดิม (กิดานันท์ มลิทอง, 2540)
  • 19. จุ ดประสงค์ของการใช้ สื่อหลายมิติ (HYPERMEDIA) 1. ใช้ เป็นเครื่องมือในการสืบค้น (Browsing) สืบไปในข้อมู ล สารสนเทศหรือบทเรียนต่างๆ 2. ใช้ เพื่อการการเชื่อมโยง (Linking) โดยผู ้ใช้ สามารถเชื่อมโยง แฟ้ มข้อมู ลต่างๆ ภายในระบบเดียวกัน ตลอดจนเชื่อมต่อไป ยังเครือข่ายภายนอก เช่ น การเชื่อมต่อกับระบบเครือข่าย อินเทอร์เน็ต เป็นต้น 3. ใช้ ในการสร้างบทเรียน (Authoring) สร้างโปรแกรมนาเสนอ รายงานสารสนเทศต่างๆ ซึ่ งถือว่าเป็นโปรแกรมที่มีความ น่าสนใจ เนื่องจากสามารถนาเสนอได้ทังภาพ เสียง และ ้ ภาพเคลื่อนไหว
  • 20. สื่อหลายมิตกับการเรียนการสอน ิ จากความสามารถของสื่อหลายมิติ ที่สามารถช่ วยให้ผู้ใช้ สามารถสืบค้นข้อมู ล เชื่อมโยงข้อมู ล และเขียนข้อมู ลได้ หลากหลายรูปแบบ ทาให้มีการสร้างบทเรียนบนระบบ เครือข่าย เพื่อใช้ ในการเรียนการสอนในระดับต่างๆ และวิชา เรียนต่างๆ ซ่ึงอาจจะเรียกว่า Web-Based Instruction (WBI) หรืออาจจะพัฒนาเป็นระบบการจัดการเรียนการสอน ที่เรียกว่า Learning Management System (LMS)
  • 21. ประโยชน์ของสือหลายมิติในการเรียนการสอน ่ 1. เรียกดูความหมายของคาศัพท์ ที่ผู้เรียนยังไม่เข้าใจได้ทันที 2. ขยายความเข้าใจในเนือหาบทเรียนด้วยการ ้ 3. ดูแผนภาพหรือภาพวาด 4. ดูภาพถ่าย ภาพนิง และภาพเคลื่อนไหวที่บันทึกจากเครื่องเล่นแผ่นวีดิทัศน์ ่ 5. ฟังเสียงคาอธิบายที่เป็นเสียงพู ด หรือฟังเสียงดนตรี เสียง 6. ใช้ สมุ ดบันทึกที่มีอยู ่ในโปรแกรมเพื่อบันทึกใจความสาคัญของบทเรียน 7. ใช้ เครื่องมือวาดภาพในโปรแกรมนันเพื่อวาดผังมโนทัศน์เพื่อให้เข้าใจบทเรียนได้ง่ายยิงขึน ้ ่ ้ ้ 8. สามารถเชื่อมโยงข้อมู ลต่าง ๆ ที่สนใจขึนมาอ่านหรือดูเพิมเติมได้โดยสะดวก ่ ้ 9. ใช้ แผนที่ระบบเพื่อดูว่าขณะนีกาลังตรงส่วนใดของบทเรียนและเพื่อช่ วยในการสรุ ปการเรียน
  • 22. กิจกรรมหลังเรียน (COLLABORATIVE ACTIVITIES) • ให้นักศึ กษาชมวีดิทัศน์ต่อไปนี้ แล้วอภิปรายร่วมกับเพื่อนร่วมชันเรียนอีก 1 คน เพื่อวิเคราะห์ ้ ประเด็นสาคัญ 3 ประการ ที่นักวิชาการแต่ละคนกล่าวไว้ในวีดิทัศน์ http://www.youtube.com/watch?v=2NK0WR2GtFs 1. วิเคราะห์ความสาคัญของนวัตกรรม หมายถึง การแยกแยะสิงที่กาหนดมาให้ว่าอะไรสาคัญหรือ ่ จาเป็นหรือมีบทบาทที่สุด 2. วิเคราะห์ความสัมพันธ์ของของนวัตกรรม หมายถึง การค้นหาว่าความสาคัญย่อยๆ ของ เรื่องราวหรือเหตุการณ์นันเกี่ยวพันกันอย่างไร ้ 3. วิเคราะห์หลักการที่จะจัดว่าเป็นนวัตกรรม หมายถึง การค้นหาโครงสร้างและระบบของวัตถุ สิงของ ่ เรื่องราว และการกระทาต่างๆ ว่าสิงเหล่านันรวมกันจนดารงสภาพเช่ นนันอยู ่ได้เนื่องจากอะไร ้ ้ ่ โดยยึดอะไรเป็นหลัก เป็นแกนกลาง มีสิงใดเป็นตัวเชื่อมโยง ยึดถือหลักการใด ่ • ผลการวิเคราะห์ประเด็นสาคัญ 3 ประการนันนาไปสรุ ปเป็นการบ้านชุ ดที่ 2 (Next Page) ้
  • 23. Homework 02 ให้นักศึ กษาสรุ ปประเด็นจากการวิเคราะห์ 3 ประการ (จากหน้าที่ผ่านมา) ในหัวข้อต่อไปนี้ 1. นวัตกรรม (Innovation) 2. นวัตกรรมการศึ กษา (Educational Innovation) 3. สื่อประสม (Multimedia) 4. ข้อความหลายมิติ (Hypertext) 5. สื่อหลายมิติ (Hypermedia) โดยแต่ละข้อวิเคราะห์ 3 ด้าน จัดทาไฟล์ Microsoft Word ประมาณ 2 หน้า แล้วบันทึกโดย ้ Save As เป็น PDF โดยตังชื่อ เช่ น 565050016-1-homework-02 จากนันให้อัพโหลดไฟล์ขึน ้ ้ ในกลุ่ม Facebook.com โดยพิมพ์ชื่อ – สกุล รหัสประจาตัวด้านบนหน้าแรก
  • 24. THANK YOU E-MAIL: TAWSRA@GMAIL.COM MOBILE: 08-3336-5871 FACEBOOK.COM/TAWSRA