SlideShare a Scribd company logo
1 of 17
Download to read offline
CHAPTER 3
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและการสื่อสาร
เสนอ
ดร.อนุชา โสมาบุตร ดร.จารุณี ซามาตย์
รายวิชา 241203 นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ (กลุ่ม 2)
INNOVATION AND INFORMATION TECHNOLOGY FOR LEARNING (Section 2)
หลังจากที่ใช้วิธีการสอนที่เน้นให้นักเรียนจดจาความรู้ของครูเป็นหลัก ครู
สมศรีจึงเปลี่ยน วิธีการสอนใหม่เพื่อให้สอดคล้องกับความเปลี่ยนแปลงของ
เทคโนโลยีสารสนเทศในปัจจุบัน โดยนาสื่อเข้ามาใช้ในการเรียนการสอน โดยครู
สมศรีได้สร้างสื่อขึ้นมาตามแนวความคิด และประสบการณ์ของตนเอง เช่น ในสื่อ
อยากให้มีข้อความรู้ก็นาเนื้อหามาบรรจุ อยากให้มีรูปภาพประกอบก็นารูปภาพมา
บรรจุในสื่อ แทนการบอกจากครู และเพิ่มเทคนิคทางกราฟิกต่างๆ เข้าไป เพื่อให้
เกิดความสวยงามตรงตามแนวคิดของตน และส่งเสริมการสอนของตนเองให้มีระ
สิทธิภาพมากขึ้น
แต่พอใช้ไปได้ระยะหนึ่งพบว่า ในช่วงแรกๆ ผู้เรียนให้ความสนใจเป็นอย่าง
มาก เพราะมีกราฟิกที่ดึงดูดความสนใจ แต่พอหลังจากนั้นไปสักระยะผู้เรียนก็ไม่ให้
ความสนใจกับสื่อที่ครูสมศรีสร้างขึ้น ทั้งผลการเรียนและกระบวนการเรียนรู้ของ
ผู้เรียนเมื่อเปรียบเทียบกับวิธีการสอนแบบเดิมที่เคยใช้ก็ไม่แตกต่างกัน จึงทาให้
ครูสมศรีกลับมาทบทวนใหม่ว่าทาไมจึงเป็ นเช่นนี้ ในฐานะที่นักศึกษาเป็ นครูนัก
เทคโนโลยีทางการศึกษา จะมีวิธีการช่วยเหลือครูสมศรีอย่างไร
Problem-based learning
Missions
1. วิเคราะห์หาสาเหตุที่ทาให้การเรียนรู้จากสื่อของครูสมศรีไม่ตรงตาม
เป้าประสงค์ที่ต้องการให้เกิดขึ้น พร้อมอธิบายเหตุผล
2. วิเคราะห์ว่าแนวคิดเกี่ยวกับแนวคิดในการออกแบบการสอนและสื่อการ
สอนว่ามาจากพื้นฐานใดบ้างและพื้นฐานดังกล่าว มีความสัมพันธ์กันอย่างไร
3. วิเคราะห์ว่าในยุคปัจจุบันที่สังคมโลกมีการเปลี่ยนแปลง ตลอดจน
กระบวนทัศน์ใหม่ของการจัดการศึกษา ในการออกแบบการสอนและสื่อการสอนนั้น
ควรอยู่พื้นฐานของสิ่งใดบ้าง อธิบายพร้อมให้เหตุผลและยกตัวอย่างประกอบ
1. วิเคราะห์หาสาเหตุที่ทาให้การเรียนรู้จากสื่อของครูสมศรีไม่ตรงตามเป้าประสงค์ที่
ต้องการให้เกิดขึ้น พร้อมอธิบายเหตุผล
การสอนของครูสมศรีมีการเพิ่มสื่อการสอนเข้ามาใช้ ซึ่งดึงดูดความสนใจให้
ผู้เรียนได้เพียงช่วงแรกๆเท่านั้น แต่การสอนก็ยังเป็นรูปแบบเดิมซ้าๆ ทาให้ผู้เรียนเกิด
การเรียนรู้ตามแนวพฤติกรรมนิยม (Behaviorism/S-R Associationism)
การเรียนรู้ตามแนวพฤติกรรมนิยม หมายถึง การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมซึ่งเป็นผล
เนื่องมาจากการเชื่อมโยงความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งเร้า(Stimulus) และ การตอบสนอง
(Response) จะมุ่งเน้นเพียงเฉพาะพฤติกรรมที่สามารถวัดและสังเกตได้เท่านั้น โดยไม่
ศึกษาถึงกระบวนการภายในของมนุษย์ (Mental process)
การสอนของครูสมศรีในลักษณะนี้ทาให้เห็นว่า สื่อการสอน(สิ่งเร้า)
ดึงดูดความสนใจผู้เรียน(ตอบสนอง) ได้เพียงระยะหนึ่งเท่านั้น
Stimulus Response
Behavior
Environment
Learning Behaviorism Mapping
ลักษณะที่สาคัญของการออกแบบสื่อตามแนวพฤติกรรมนิยม
1) ระบุวัตถุประสงค์การสอนที่ชัดเจน
2) การสอนในแต่ละขั้นตอน นาไปสู่การเรียนแบบรอบรู้ (Mastery learning)
ในหน่วยการสอนรวม
3) ให้ผู้เรียนได้เรียนไปตามอัตราการเรียนรู้ของตนเอง
4) ดาเนินการสอนไปตามโปรแกรม จากง่ายไปยาก เพื่อให้ผู้เรียนสามารถ
จดจาได้ง่าย
5) การออกแบบการเรียนเป็นลักษณะเชิงเส้นที่เป็นลาดับขั้นตอน
6) การให้ผลตอบกลับทันทีทันใด
2. วิเคราะห์ว่าแนวคิดเกี่ยวกับแนวคิดในการออกแบบการสอนและสื่อ
การสอนว่ามาจากพื้นฐานใดบ้างและพื้นฐานดังกล่าว มีความสัมพันธ์
กันอย่างไร
แนวคิดในการออกแบบการสอนและสื่อการสอนมาจากพื้นฐานทางจิตวิทยา
ซึ่งความสัมพันธ์ของมุมมองทางจิตวิทยาที่มีทั้งความเหมือนและความต่างในแง่ของ
การเรียนรู้
การเรียนรู้ตามแนวพฤติกรรมนิยม (Behaviorism)
การเรียนรู้ตามแนวพุทธิปัญญานิยม (Cognitivism)
การเรียนรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ (Constructivism)
Behaviorism learning mapping
Teacher
Student
Immediate Response
การให้ความรู้ ผ่านแบบฝึกหัด
(เสริมแรง)
สร้างสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้
 Cognitivism learning mapping
Teacher
Knowledge
โครงสร้างทางปัญญา
(Mental Model)
บริบท/ปัญหาใหม่
Long-term memory
Learning
เปลี่ยนแปลงปริมาณและคุณภาพ
จัดระเบียบ
ถ่ายโยงความรู้
กระบวนการภายใน
 Constructivism learning mapping
Teacher
Student
Working Memory
Cognitive Guideสร้างสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้
Construct
Knowledge
เลือก
จัดหมู่
บูรณาการ
3. วิเคราะห์ว่าในยุคปัจจุบันที่สังคมโลกมีการเปลี่ยนแปลง ตลอดจนกระบวนทัศน์ใหม่ของการจัด
การศึกษา ในการออกแบบการสอนและสื่อการสอนนั้นควรอยู่พื้นฐานของสิ่งใดบ้าง อธิบาย
พร้อมให้เหตุผลและยกตัวอย่างประกอบ
พื้นฐานการออกแบบการสอนและสื่อการสอนเป็นสิ่งที่ผู้สอนต้องมีการ
เตรียมความพร้อมและตระหนักถึงอยู่เสมอ ซึ่งการเรียนรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
เป็นแนวทางที่จะทาให้ผู้เรียนเรียนรู้อย่างมีศักยภาพมากที่สุด เพราะผู้เรียนจะสามรถ
คิดแบบองค์รวมได้ เรียนรู้การทางานเป็นกลุ่ม ร่วมมืออย่างสร้างสรรค์ แก้ไข
สถานการณ์ที่หลากหลายเองได้ ทันโลกทันเหตุการณ์ และมีการเชื่อมโยงความรู้จาก
ประสบการณ์เดิม
การจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็ นศูนย์กลาง
สถานการณ์ปัญหา
แหล่งการเรียนรู้
ฐานการช่วยเหลือ
การร่วมมือกันแก้ปัญหา
การโค้ช
การจัดสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
(Constructivist Learning Environments)
Media
Methods
คุณลักษณะของการเรียนและการสอนตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
1
• นาเสนอและส่งเสริมให้ผู้เรียนเห็นความคิดรวบยอด
2
• เป้าหมายและวัตถุประสงค์ในการเรียนได้มาจากผู้เรียน
3
• ผู้สอนมีบทบาทของผู้แนะนา ผู้กากับ โค้ช และผู้อานวยความสะดวกในการเรียน
4
• กิจกรรม โอกาส เครื่องมือและสิ่งแวดล้อมต่างๆ จัดมาเพื่อส่งเสริมการกากับวิธีการ
เรียนรู้โดยอาศัยความคิดของตนเอง (metacognition)
5
• ผู้เรียนต้องมีบทบาทสาคัญในการใช้สื่อและควบคุมการเรียนรู้ด้วยตนเอง
6
• สถานการณ์เรียนรู้ สิ่งแวดล้อม ทักษะ เนื้อหาและภารกิจ จะเกี่ยวข้องกับสภาพจริง และ
สอดคล้องกับบริบทจริงที่มีความซับซ้อน
7 • ข้อมูลแหล่งเรียนจะถูกใช้เพื่อที่จะทาให้มั่นใจในสภาพจริง
8 • การสร้างความรู้เป็นสิ่งที่มุ่งเน้นในการเรียนรู้ไม่ใช่การคัดลอกความรู้
9
• การสร้างความรู้จะเกิดขึ้นในบริบทของแต่ละบุคคลที่ผ่านการต่อรองทางสังคม การร่วมมือ
และการมีประสบการณ์ร่วมกัน
10
• การสร้างความรู้เดิมของผู้เรียน ความเชื่อ และเจตคติ จะเป็นสิ่งสาคัญที่นามาพิจารณาใน
กระบวนการสร้างความรู้ใหม่
11 • เป็นกระบวนการที่มุ่งเน้นการแก้ปัญหา ทักษะการคิดขั้นสูง และความเข้าใจที่ลึกซึ้ง
12 • ความผิดพลาดเป็นสิ่งที่ทาให้เกิดโอกาสในการหยั่งรู้ที่นาไปสู่การสร้างความรู้ของผู้เรียน
13
• การสารวจเป็นวิธีการที่นิยมเพื่อที่จะส่งเสริมให้ผู้เรียนค้นหาความรู้ด้วยตนเองและจัดการ
เกี่ยวกับตนเองเพื่อให้บรรลุเป้าหมาย
14
• ผู้เรียนจะได้รับการจัดหาโอกาสสาหรับการฝึกหัดทางปัญญา ซึ่งจะอยู่ในภารกิจการเรียนรู้
ตามสภาพจริง ทักษะและการได้มาซึ่งความรู้
15
• ความซับซ้อนของความรู้จะถูกสะท้อนออกมาโดยมุ่งเน้นความเชื่อมโยงกับความคิดรวบ
ยอดที่หลากหลายและการเรียนรู้ที่ต้องเชื่อมโยงหลายศาสตร์
16
• การร่วมมือกันแก้ปัญหาและการเรียนแบบร่วมมือเป็นที่นิยมเพื่อที่จะส่งเสริมให้ผู้เรียนได้
แลกเปลี่ยนมุมมองที่หลากหลาย
17
• ฐานการช่วยเหลือถูกจัดไปเอื้ออานวยเพื่อช่วยผู้เรียนให้สามารถข้ามข้อจากัดทางการ
เรียนรู้
18
• การประเมินเป็นการประเมินตามสภาพจริง
Members
นางสาวชนิศา อิฐเขตต์ 553050003-5
นางสาวฉัตรฤดี ศรีบุญเรือง 553050063-7
นางสาวกีรติ กิ่งมิ่งแฮ 553050273-6
นางสาวขนิษฐา ชาลีเขียว 553050275-2
นักศึกษาปริญญาตรี ชั้นปีที่ 2
คณะศึกษาศาสตร์ สาขาวิชาคณิตศาสตรศึกษา
Thanks!

More Related Content

What's hot

มโนทัศน์ของเทคโนโลยีการศึกษา
มโนทัศน์ของเทคโนโลยีการศึกษามโนทัศน์ของเทคโนโลยีการศึกษา
มโนทัศน์ของเทคโนโลยีการศึกษาVitamilk
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้yuapawan
 
งานนวัตกรรม Chapter 3
งานนวัตกรรม Chapter 3งานนวัตกรรม Chapter 3
งานนวัตกรรม Chapter 3micnattawat
 
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยี
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยี
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีPennapa Kumpang
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้poms0077
 
Introduction to innovation 2013 10-27
Introduction to innovation 2013 10-27Introduction to innovation 2013 10-27
Introduction to innovation 2013 10-27khon Kaen University
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้Sujitra ComEdu
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้Nat Thida
 
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษาบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษาDee Arna'
 
สำรวจการใช้ ICT ในการเรียนรู้
สำรวจการใช้ ICT ในการเรียนรู้สำรวจการใช้ ICT ในการเรียนรู้
สำรวจการใช้ ICT ในการเรียนรู้unpununping
 
การเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญระดับอุดมศึกษา
การเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญระดับอุดมศึกษาการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญระดับอุดมศึกษา
การเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญระดับอุดมศึกษาPrachyanun Nilsook
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้yuapawan
 

What's hot (19)

บทที่ 4 new
บทที่ 4 newบทที่ 4 new
บทที่ 4 new
 
Chapter3
Chapter3Chapter3
Chapter3
 
มโนทัศน์ของเทคโนโลยีการศึกษา
มโนทัศน์ของเทคโนโลยีการศึกษามโนทัศน์ของเทคโนโลยีการศึกษา
มโนทัศน์ของเทคโนโลยีการศึกษา
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
 
งานนวัตกรรม Chapter 3
งานนวัตกรรม Chapter 3งานนวัตกรรม Chapter 3
งานนวัตกรรม Chapter 3
 
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยี
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยี
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยี
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
 
Chapter 3
Chapter 3Chapter 3
Chapter 3
 
Introduction to innovation 2013 10-27
Introduction to innovation 2013 10-27Introduction to innovation 2013 10-27
Introduction to innovation 2013 10-27
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
 
บทที่ 10
บทที่ 10บทที่ 10
บทที่ 10
 
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษาบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
 
2
22
2
 
สำรวจการใช้ ICT ในการเรียนรู้
สำรวจการใช้ ICT ในการเรียนรู้สำรวจการใช้ ICT ในการเรียนรู้
สำรวจการใช้ ICT ในการเรียนรู้
 
Paper
PaperPaper
Paper
 
Chapter 3
Chapter 3Chapter 3
Chapter 3
 
การเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญระดับอุดมศึกษา
การเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญระดับอุดมศึกษาการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญระดับอุดมศึกษา
การเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญระดับอุดมศึกษา
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
 

Similar to Theoretical foundation by math ed kku sec2

3มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
3มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา3มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
3มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษาa35974185
 
Sattakamon a4 group
Sattakamon a4 groupSattakamon a4 group
Sattakamon a4 groupSattakamon
 
A4 h3 งานนำเสนอบทที่3
A4 h3 งานนำเสนอบทที่3A4 h3 งานนำเสนอบทที่3
A4 h3 งานนำเสนอบทที่3Ann Pawinee
 
งานนำเสนอสัปดาห์ที่3
งานนำเสนอสัปดาห์ที่3งานนำเสนอสัปดาห์ที่3
งานนำเสนอสัปดาห์ที่3Thamonwan Kottapan
 
ภารกิจในบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
ภารกิจในบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษาภารกิจในบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
ภารกิจในบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษาB'nust Thaporn
 
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษาAomJi Math-ed
 
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษาN'Fern White-Choc
 
เรื่องมุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี
เรื่องมุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีเรื่องมุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี
เรื่องมุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีKidneepper Nana
 
มุมมองทางจิตวิทยา ที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยา ที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยา ที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยา ที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษาAlice Misty
 
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษาบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษาPennapa Kumpang
 

Similar to Theoretical foundation by math ed kku sec2 (20)

Chapter3 (1)
Chapter3 (1)Chapter3 (1)
Chapter3 (1)
 
Chapter3
Chapter3Chapter3
Chapter3
 
Chapter3
Chapter3Chapter3
Chapter3
 
Chapter3
Chapter3Chapter3
Chapter3
 
No3
No3No3
No3
 
3มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
3มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา3มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
3มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
 
Chapter 3
Chapter 3Chapter 3
Chapter 3
 
จืตวิทยาการศึกษา
จืตวิทยาการศึกษาจืตวิทยาการศึกษา
จืตวิทยาการศึกษา
 
จืตวิทยาการศึกษา
จืตวิทยาการศึกษาจืตวิทยาการศึกษา
จืตวิทยาการศึกษา
 
Sattakamon a4 group
Sattakamon a4 groupSattakamon a4 group
Sattakamon a4 group
 
A4 h3 งานนำเสนอบทที่3
A4 h3 งานนำเสนอบทที่3A4 h3 งานนำเสนอบทที่3
A4 h3 งานนำเสนอบทที่3
 
Chapter 3
Chapter 3 Chapter 3
Chapter 3
 
งานนำเสนอสัปดาห์ที่3
งานนำเสนอสัปดาห์ที่3งานนำเสนอสัปดาห์ที่3
งานนำเสนอสัปดาห์ที่3
 
ภารกิจในบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
ภารกิจในบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษาภารกิจในบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
ภารกิจในบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
 
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
 
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
 
เรื่องมุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี
เรื่องมุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีเรื่องมุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี
เรื่องมุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี
 
Chapter3 jp
Chapter3 jpChapter3 jp
Chapter3 jp
 
มุมมองทางจิตวิทยา ที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยา ที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยา ที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยา ที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
 
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษาบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
 

More from chatruedi

Mathematics lesson plans adding and subtracting fractions by math ed kku sec2
Mathematics lesson plans   adding and subtracting fractions by math ed kku sec2Mathematics lesson plans   adding and subtracting fractions by math ed kku sec2
Mathematics lesson plans adding and subtracting fractions by math ed kku sec2chatruedi
 
Choosing media and learning management method by math ed kku sec2
Choosing media and learning management method by math ed kku sec2Choosing media and learning management method by math ed kku sec2
Choosing media and learning management method by math ed kku sec2chatruedi
 
Evaluating quaility of learning media by math ed kku sec2
Evaluating quaility of learning media by math ed kku sec2Evaluating quaility of learning media by math ed kku sec2
Evaluating quaility of learning media by math ed kku sec2chatruedi
 
Making graphic media for education by math ed sec2
Making graphic media for education by math ed sec2Making graphic media for education by math ed sec2
Making graphic media for education by math ed sec2chatruedi
 
Technology for leanong by math ed kku sec2
Technology for leanong by math ed kku sec2Technology for leanong by math ed kku sec2
Technology for leanong by math ed kku sec2chatruedi
 
Learning media by math ed kku sec 2 new
Learning media by math ed kku sec 2 newLearning media by math ed kku sec 2 new
Learning media by math ed kku sec 2 newchatruedi
 
Learning media by math ed kku sec 2
Learning media by math ed kku sec 2Learning media by math ed kku sec 2
Learning media by math ed kku sec 2chatruedi
 
Changing of educational technology by math ed kku sec2 new
Changing of educational technology by math ed kku sec2 newChanging of educational technology by math ed kku sec2 new
Changing of educational technology by math ed kku sec2 newchatruedi
 
Changing of educational technology by math ed kku
Changing of educational technology by math ed kkuChanging of educational technology by math ed kku
Changing of educational technology by math ed kkuchatruedi
 
Educational technology by math ed kku sec 2 new
Educational technology by math ed kku sec 2 newEducational technology by math ed kku sec 2 new
Educational technology by math ed kku sec 2 newchatruedi
 
Educational technology by math ed kku sec 2
Educational technology by math ed kku sec 2Educational technology by math ed kku sec 2
Educational technology by math ed kku sec 2chatruedi
 
Educational technology by math ed kku sec 2
Educational technology by math ed kku sec 2Educational technology by math ed kku sec 2
Educational technology by math ed kku sec 2chatruedi
 

More from chatruedi (12)

Mathematics lesson plans adding and subtracting fractions by math ed kku sec2
Mathematics lesson plans   adding and subtracting fractions by math ed kku sec2Mathematics lesson plans   adding and subtracting fractions by math ed kku sec2
Mathematics lesson plans adding and subtracting fractions by math ed kku sec2
 
Choosing media and learning management method by math ed kku sec2
Choosing media and learning management method by math ed kku sec2Choosing media and learning management method by math ed kku sec2
Choosing media and learning management method by math ed kku sec2
 
Evaluating quaility of learning media by math ed kku sec2
Evaluating quaility of learning media by math ed kku sec2Evaluating quaility of learning media by math ed kku sec2
Evaluating quaility of learning media by math ed kku sec2
 
Making graphic media for education by math ed sec2
Making graphic media for education by math ed sec2Making graphic media for education by math ed sec2
Making graphic media for education by math ed sec2
 
Technology for leanong by math ed kku sec2
Technology for leanong by math ed kku sec2Technology for leanong by math ed kku sec2
Technology for leanong by math ed kku sec2
 
Learning media by math ed kku sec 2 new
Learning media by math ed kku sec 2 newLearning media by math ed kku sec 2 new
Learning media by math ed kku sec 2 new
 
Learning media by math ed kku sec 2
Learning media by math ed kku sec 2Learning media by math ed kku sec 2
Learning media by math ed kku sec 2
 
Changing of educational technology by math ed kku sec2 new
Changing of educational technology by math ed kku sec2 newChanging of educational technology by math ed kku sec2 new
Changing of educational technology by math ed kku sec2 new
 
Changing of educational technology by math ed kku
Changing of educational technology by math ed kkuChanging of educational technology by math ed kku
Changing of educational technology by math ed kku
 
Educational technology by math ed kku sec 2 new
Educational technology by math ed kku sec 2 newEducational technology by math ed kku sec 2 new
Educational technology by math ed kku sec 2 new
 
Educational technology by math ed kku sec 2
Educational technology by math ed kku sec 2Educational technology by math ed kku sec 2
Educational technology by math ed kku sec 2
 
Educational technology by math ed kku sec 2
Educational technology by math ed kku sec 2Educational technology by math ed kku sec 2
Educational technology by math ed kku sec 2
 

Theoretical foundation by math ed kku sec2