SlideShare a Scribd company logo
1 of 11
Download to read offline
 ภายหลังที่รัฐบาลได้จัดการปฏิรูปการศึกษา ซึ่งมีหัวใจสาคัญอยู่ที่ "การ
ยกระดับคุณภาพประชากรของประเทศให้สูงขึ้น คือ ผู้เรียนทุกคนมี
ความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้และถือว่าผู้เรียนมีความสาคัญที่สุด
ที่ต้องส่งเสริมและพัฒนาให้เต็มตามศักยภาพ ฝึกทักษะ กระบวนการคิด การ
ประยุกต์ความรู้ และการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง สามารถในการคิด
วิเคราะห์ และริเริ่มสร้างสรรค์ มีความสามารถในการแก้ปัญหา ตลอดจน
รู้จักการทางานเป็นหมู่คณะ" มีการนาเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาใช้เพื่อเพิ่ม
ประสิทธิภาพการเรียนรู้ ที่ผู้เรียนสามารถเข้าถึงได้อย่างหลากหลาย สามารถ
เรียนได้ทุกที่ทุกเวลา เพื่อที่จะทาให้ผู้เรียนเกิดความรู้ความเข้าใจ และเหมาะสม
กับยุคแห่งข้อมูลสารสนเทศที่มีอยู่อย่างมากมาย รวมไปถึงการทาให้การ
เรียนรู้นั้นเกิดประสิทธิภาพสูงสุด ทั้งยังเพื่อเป็นการเตรียมพัฒนาผู้เรียน ให้มี
คุณลักษณะที่เหมาะสมกับสังคมยุคโลกาภิวัฒน์ ในฐานะที่ท่านจะเป็นครูพันธ์
ใหม่ ท่านจะต้องปฏิบัติภารกิจต่อไปนี้
เป้ าหมายทางการศึกษาของประเทศที่พัฒนาแล้วอยู่ที่การให้การศึกษา
แก่ประชาชนเข้าสู่โลกแห่งเทคโนโลยี โดยเน้นปัจจัยสาคัญอยู่ที่ความรอบรู้ของ
คนในชาติ
การปฏิรูปการศึกษา มุ่งเน้นให้ผู้เรียนเป็นศูนย์กลางการเรียน แทนที่ครู
จะเป็นผู้มีบทบาทสาคัญเพียงอย่างเดียว ส่วนหนึ่งของการปฏิรูปการศึกษาคือ
การสร้างโอกาสให้แก่ผู้เรียนเข้าถึงแหล่งข้อมูล แหล่งความรู้ได้มากและสะดวก
ขึ้น
ดังนั้นการปฏิรูปการศึกษาจึงต้องใช้ระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเข้ามามี
บทบาทในการจัดการเรียนรู้การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศทาให้เกิดระบบการ
เรียนการสอนทางไกล ซึ่งผู้เรียนและผู้สอนสามารถตอบโต้กันได้แม้ว่าจะอยู่ห่าง
กัน ผู้เรียนสามารถส่งการบ้านทางอินเทอร์เน็ตได้ ครูสามารถตรวจงานให้
คะแนนได้ แม้กระทั่งการชี้แนะด้วยไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ (E-mail) หรือ
ใช้ระบบกระดานข่าว (Bulletin Board System)
การนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสามารถใช้ในด้าน
การศึกษา จะช่วยพัฒนาการเรียนรู้และอานวยความสะดวกในด้าน
การสอนและแหล่งการเรียนรู้ได้ตลอดเวลา ไม่มีข้อจากัดในด้าน
สถานที่
 ในการบูรณาการเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนการสอน ผู้สอนควร
จะศึกษาเทคนิค วิธีการ เทคโนโลยีต่างๆ ที่จะนามาใช้เพื่อช่วยให้ผู้เรียน
ได้รับความรู้ใหม่ซึ่งแต่เดิมมักเป็นการสอนให้ผู้เรียนเรียนโดยเน้นการ
ท่องจา และปรับเปลี่ยนมาสู่การใช้เทคนิควิธีการที่จะช่วยผู้เรียนได้รับ
ข้อเท็จจริงได้อย่างมีประสิทธิภาพรวมทั้งการจัดการสอนที่เน้นครูเป็น
ศูนย์กลางอาจนาไปใช้ให้เกิดประโยชน์ได้เช่นกัน อย่างไรก็ตามสิ่งที่สาคัญ
และเป็นความต้องการของการศึกษาในขณะนี้คือ การสอนที่ผู้เรียนควร
ได้รับคือ ทักษะการคิดในระดับสูง (Higher-order thinking
skills) ได้แก่ การคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ ตลอดจนการแก้ปัญหา และ
การถ่ายโยง (Transfer) โดยเน้นการใช้วิธีการต่าง ๆ อาทิ
สถานการณ์จาลอง การค้นพบ การแก้ปัญหา และการเรียนแบบร่วมมือ
สาหรับผู้เรียนจะได้รับประสบการณ์การแก้ปัญหาที่สอดคล้องกับสภาพ
ชีวิตจริง
 สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ (Learning environment)
ประกอบด้วยสถานการณ์ปัญหาที่กระตุ้นให้ผู้เรียนเรียนรู้ แหล่งการเรียนรู้
ชนิดต่างๆ ที่จัดเตรียมไว้สาหรับให้ค้นหาคาตอบ มีฐานการช่วยเหลือไว้คอย
สนับสนุนผู้เรียนในกรณีที่ไม่สามารถแก้ปัญหาได้ ตลอดจนการเรียนรู้แบบ
ร่วมมือกันแก้ปัญหาที่สนับสนุนให้ผู้เรียนขยายมุมมองแนวคิดต่างๆ
 การเรียนรู้แบบออนไลน์ (E-learning)เป็นการศึกษา เรียนรู้ผ่าน
เครือข่ายคอมพิวเตอร์อินเทอร์เน็ต (Internet) หรืออินทราเน็ต
(Intranet) เป็นการเรียนรู้ด้วยตัวเอง ผู้เรียนจะได้เรียนตาม
ความสามารถและความสนใจของตน
 หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-books) เป็นสื่อที่ใช้ในการอธิบายตัวอักษรที่มี
ลักษณะคล้ายคลึงกับหนังสือ อยู่ในรูปแบบดิจิตัล โดยแสดงให้เห็นบน
จอคอมพิวเตอร์
 ห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์ (E-library) มาจากคาว่า Electronic
Library หรือห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์ หมายถึง แหล่งความรู้ที่บันทึก
ข้อมูลไว้ในเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่ายและให้บริการสารสนเทศทาง
อิเล็กทรอนิกส์หรือผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
 แผนการจัดการเรียนรู้ เป็นการบูรณาการเทคโนโลยีสารสนเทศในขั้นตอน
ต่างๆ ของแผนการจัดการเรียนรู้ ที่ยึดหลักการบูรณาการที่เน้นผู้เป็นสาคัญ
โดยใช้เทคโนโลยีเข้ามาสางเสริม สนับสนุนและพัฒนาศักยภาพการเรียนรู้ของ
ผู้เรียน
สาหรับโรงเรียนบ้านหนองงูเห่าซึ่งเป็นโรงเรียนที่อยู่ในถิ่นทุรกันดาร อาจมี
บุคลากรทางการศึกษาที่ไม่เพียงพอ การที่จะให้นักเรียนได้รับความรู้ ได้เรียน
หนังสือเหมือนเด็กในเมืองที่มีครู บุคลากรทางการศึกษาที่เก่งๆสอนนั้น ใน
ความคิดของพวกเราในฐานะที่จะจบออกไปเป็นครูถ้าจะให้แก้ปัญหานี้โดยการนา
เทคโนโลยีการศึกษาไปใช้คือ ทาการบันทึกการสอนของครูที่เก่งๆบันทึกภาพเป็น
วิดีโอ ซึ่งจัดทาเป็นวีซีดีซึ่งแจกจ่ายไปยังกับโรงเรียนที่ขาดแคลนบุคลากรทาง
การศึกษา เพื่อทาให้นักเรียนได้เข้าถึงบทเรียนและมีความรู้เกี่ยวกับเนื้อหานั้นๆ
เพื่อให้นักเรียนเหล่านั้นเติบโตมาอย่างมีความรู้และมาช่วยกันพัฒนาประเทศให้
เจริญก้าวหน้าต่อไป
โรงเรียนมัธยมไฮโซเบตง เป็นโรงเรียนที่ตั้งอยู่ในเมือง มีความพร้อม
ทางด้านสื่อ เทคโนโลยี มีห้องคอมพิวเตอร์ มีระบบอินเตอร์เน็ตความเร็วสูง แต่
ครูมีไม่เพียงพอเนื่องจากย้ายหนีเหตุการณ์ความไม่สงบ
โรงเรียนมัธยมเบตงไฮโซ ซึ่งเป็นโรงเรียนที่เพียบพร้อมไปด้วยอุปกรณ์
ทางการศึกษา แต่ขาดแคลนบุคลากรทางการศึกษาเนื่องจากมีปัญหาความไม่
สงบนั้น เราควรจัดการเรียนการสอน ปกติถึงแม้ครูจะไม่เพียงพอต่อการสอนแต่
เพื่อให้เด็กได้เรียนและได้รับความรู้นั้นควรจัดให้มีการเรียนการสอนที่เรียกว่า
ระบบการเรียนการสอนทางไกลผ่านดาวเทียมเพราะโรงเรียนมีความพร้อมใน
ด้านอุปกรณ์คอมพิวเตอร์และระบบอินเตอร์เน็ต เพื่อให้เด็กได้เรียนหนังสือและ
ได้รับความรู้ ก็ต้องจัดให้มีการสอนในระบบนี้เกิดขึ้น
นายธวัช ปะธิเก 553050078-4
น.ส.พชรธรษ์ จาปีพรหม 553050086-5
นายวิวัฒน์ งามเสน่ห์ 553050100-7

More Related Content

What's hot

Chapter 06
Chapter 06Chapter 06
Chapter 06ukbass13
 
Chapter 6
Chapter 6Chapter 6
Chapter 6Zhao Er
 
Chapter 6 (INTRODUCTION TECHNOLOGIES AND EDUCATIONAL MEDIA)
Chapter 6 (INTRODUCTION TECHNOLOGIES AND EDUCATIONAL MEDIA)Chapter 6 (INTRODUCTION TECHNOLOGIES AND EDUCATIONAL MEDIA)
Chapter 6 (INTRODUCTION TECHNOLOGIES AND EDUCATIONAL MEDIA)Jutharat_thangsattayawiroon
 
นวัตกรรมบทที่6เทคโนโลยีสารสนเทศทางศึกษา
นวัตกรรมบทที่6เทคโนโลยีสารสนเทศทางศึกษานวัตกรรมบทที่6เทคโนโลยีสารสนเทศทางศึกษา
นวัตกรรมบทที่6เทคโนโลยีสารสนเทศทางศึกษาAmu P Thaiying
 
Powerpoint6
Powerpoint6Powerpoint6
Powerpoint6tross999
 
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้Pypaly Pypid
 
Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาChapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาPan Kannapat Hengsawat
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารThamonwan Kottapan
 
เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาFern's Supakyada
 
Chapter 6 new
Chapter 6 newChapter 6 new
Chapter 6 newboomakung
 
บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาบทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาB'nust Thaporn
 
Technology for leanong by math ed kku sec2
Technology for leanong by math ed kku sec2Technology for leanong by math ed kku sec2
Technology for leanong by math ed kku sec2chatruedi
 

What's hot (17)

บทท 6
บทท   6บทท   6
บทท 6
 
Chapter 06
Chapter 06Chapter 06
Chapter 06
 
Chapter 6
Chapter 6Chapter 6
Chapter 6
 
Chapter 6
Chapter 6Chapter 6
Chapter 6
 
Chapter 6
Chapter 6Chapter 6
Chapter 6
 
Chapter6
Chapter6Chapter6
Chapter6
 
Chapter 6 (INTRODUCTION TECHNOLOGIES AND EDUCATIONAL MEDIA)
Chapter 6 (INTRODUCTION TECHNOLOGIES AND EDUCATIONAL MEDIA)Chapter 6 (INTRODUCTION TECHNOLOGIES AND EDUCATIONAL MEDIA)
Chapter 6 (INTRODUCTION TECHNOLOGIES AND EDUCATIONAL MEDIA)
 
นวัตกรรมบทที่6เทคโนโลยีสารสนเทศทางศึกษา
นวัตกรรมบทที่6เทคโนโลยีสารสนเทศทางศึกษานวัตกรรมบทที่6เทคโนโลยีสารสนเทศทางศึกษา
นวัตกรรมบทที่6เทคโนโลยีสารสนเทศทางศึกษา
 
Powerpoint6
Powerpoint6Powerpoint6
Powerpoint6
 
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
 
Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาChapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
 
Chapter6
Chapter6Chapter6
Chapter6
 
Chapter 6 new
Chapter 6 newChapter 6 new
Chapter 6 new
 
บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาบทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
 
Technology for leanong by math ed kku sec2
Technology for leanong by math ed kku sec2Technology for leanong by math ed kku sec2
Technology for leanong by math ed kku sec2
 

Viewers also liked

Continuamos por nuestro camino en este viaje
Continuamos  por nuestro camino en este viajeContinuamos  por nuestro camino en este viaje
Continuamos por nuestro camino en este viajeoscarfire
 
Dossier prensa el corazon_la _boca
Dossier prensa el corazon_la _bocaDossier prensa el corazon_la _boca
Dossier prensa el corazon_la _bocagamuso
 
06 02-10 la-opinionp53_parra
06 02-10 la-opinionp53_parra06 02-10 la-opinionp53_parra
06 02-10 la-opinionp53_parragamuso
 
C.v cesar mita
C.v cesar mitaC.v cesar mita
C.v cesar mitaJ M Quispe
 
Presentacion personal cueva diaz alex
Presentacion personal cueva diaz alexPresentacion personal cueva diaz alex
Presentacion personal cueva diaz alexalJCD
 
การคัดลอกลายเส้นอันสมบรูณ์
การคัดลอกลายเส้นอันสมบรูณ์การคัดลอกลายเส้นอันสมบรูณ์
การคัดลอกลายเส้นอันสมบรูณ์sontayajomjam
 
Arbre genealògic
Arbre genealògicArbre genealògic
Arbre genealògicdavidflopi
 
3 manifestaciones religiosas y fiestas patronales en venezuela (1)
3 manifestaciones religiosas y fiestas patronales en venezuela (1)3 manifestaciones religiosas y fiestas patronales en venezuela (1)
3 manifestaciones religiosas y fiestas patronales en venezuela (1)Framely Dariely Bolivar Caraballo
 
Dog caller เป็นผลงานการออกแบบโดยบริษัท toronto humane society ที่ทำให้สุนัขข...
Dog caller  เป็นผลงานการออกแบบโดยบริษัท toronto humane society ที่ทำให้สุนัขข...Dog caller  เป็นผลงานการออกแบบโดยบริษัท toronto humane society ที่ทำให้สุนัขข...
Dog caller เป็นผลงานการออกแบบโดยบริษัท toronto humane society ที่ทำให้สุนัขข...Jame Natdanai
 
Semana cultural pwpoint
Semana cultural pwpointSemana cultural pwpoint
Semana cultural pwpointevimanza
 
Secure watermarking for multimedia content protection a review of its benefit...
Secure watermarking for multimedia content protection a review of its benefit...Secure watermarking for multimedia content protection a review of its benefit...
Secure watermarking for multimedia content protection a review of its benefit...Ecwayt
 
Harry Beda Malca lidera el sector energético en Colombia
Harry Beda Malca lidera el sector energético en ColombiaHarry Beda Malca lidera el sector energético en Colombia
Harry Beda Malca lidera el sector energético en ColombiaNatalia DeLucci
 
Instrumentos de inversion uft
Instrumentos de inversion uftInstrumentos de inversion uft
Instrumentos de inversion uftIsabelo10
 

Viewers also liked (20)

Continuamos por nuestro camino en este viaje
Continuamos  por nuestro camino en este viajeContinuamos  por nuestro camino en este viaje
Continuamos por nuestro camino en este viaje
 
Guia de Anteproyecto UNEFA
Guia de Anteproyecto UNEFAGuia de Anteproyecto UNEFA
Guia de Anteproyecto UNEFA
 
Dossier prensa el corazon_la _boca
Dossier prensa el corazon_la _bocaDossier prensa el corazon_la _boca
Dossier prensa el corazon_la _boca
 
06 02-10 la-opinionp53_parra
06 02-10 la-opinionp53_parra06 02-10 la-opinionp53_parra
06 02-10 la-opinionp53_parra
 
C.v cesar mita
C.v cesar mitaC.v cesar mita
C.v cesar mita
 
Presentacion personal cueva diaz alex
Presentacion personal cueva diaz alexPresentacion personal cueva diaz alex
Presentacion personal cueva diaz alex
 
การคัดลอกลายเส้นอันสมบรูณ์
การคัดลอกลายเส้นอันสมบรูณ์การคัดลอกลายเส้นอันสมบรูณ์
การคัดลอกลายเส้นอันสมบรูณ์
 
Arbre genealògic
Arbre genealògicArbre genealògic
Arbre genealògic
 
Coste
CosteCoste
Coste
 
3 manifestaciones religiosas y fiestas patronales en venezuela (1)
3 manifestaciones religiosas y fiestas patronales en venezuela (1)3 manifestaciones religiosas y fiestas patronales en venezuela (1)
3 manifestaciones religiosas y fiestas patronales en venezuela (1)
 
Analytical Study of AES and Proposed Variant with Enhance Block Length and Ke...
Analytical Study of AES and Proposed Variant with Enhance Block Length and Ke...Analytical Study of AES and Proposed Variant with Enhance Block Length and Ke...
Analytical Study of AES and Proposed Variant with Enhance Block Length and Ke...
 
Poligmesas1
Poligmesas1Poligmesas1
Poligmesas1
 
Dog caller เป็นผลงานการออกแบบโดยบริษัท toronto humane society ที่ทำให้สุนัขข...
Dog caller  เป็นผลงานการออกแบบโดยบริษัท toronto humane society ที่ทำให้สุนัขข...Dog caller  เป็นผลงานการออกแบบโดยบริษัท toronto humane society ที่ทำให้สุนัขข...
Dog caller เป็นผลงานการออกแบบโดยบริษัท toronto humane society ที่ทำให้สุนัขข...
 
Semana cultural pwpoint
Semana cultural pwpointSemana cultural pwpoint
Semana cultural pwpoint
 
Actividades
ActividadesActividades
Actividades
 
Secure watermarking for multimedia content protection a review of its benefit...
Secure watermarking for multimedia content protection a review of its benefit...Secure watermarking for multimedia content protection a review of its benefit...
Secure watermarking for multimedia content protection a review of its benefit...
 
Harry Beda Malca lidera el sector energético en Colombia
Harry Beda Malca lidera el sector energético en ColombiaHarry Beda Malca lidera el sector energético en Colombia
Harry Beda Malca lidera el sector energético en Colombia
 
Begüm Güven
Begüm GüvenBegüm Güven
Begüm Güven
 
Cadenas y valor[1]
Cadenas y valor[1]Cadenas y valor[1]
Cadenas y valor[1]
 
Instrumentos de inversion uft
Instrumentos de inversion uftInstrumentos de inversion uft
Instrumentos de inversion uft
 

Similar to Chapter 6

Introduction to technologies and educational media
Introduction to technologies  and  educational mediaIntroduction to technologies  and  educational media
Introduction to technologies and educational mediapompompam
 
เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาSattakamon
 
powerpoint บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อกาารเรียนรู้
powerpoint บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อกาารเรียนรู้powerpoint บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อกาารเรียนรู้
powerpoint บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อกาารเรียนรู้Kanatip Sriwarom
 
Chapter6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
Chapter6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้Chapter6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
Chapter6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้Prakaidao Suebwong
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6Pari Za
 
Innovation Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศ
Innovation Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศInnovation Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศ
Innovation Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศTeerasak Nantasan
 

Similar to Chapter 6 (12)

Introduction to technologies and educational media
Introduction to technologies  and  educational mediaIntroduction to technologies  and  educational media
Introduction to technologies and educational media
 
บทท 6..
บทท  6..บทท  6..
บทท 6..
 
เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
 
powerpoint บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อกาารเรียนรู้
powerpoint บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อกาารเรียนรู้powerpoint บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อกาารเรียนรู้
powerpoint บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อกาารเรียนรู้
 
Innovation chapter 6
Innovation chapter 6Innovation chapter 6
Innovation chapter 6
 
Chapter6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
Chapter6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้Chapter6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
Chapter6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
 
บทท 6
บทท   6บทท   6
บทท 6
 
แบบนำเสนอผลงานวิชาการ
แบบนำเสนอผลงานวิชาการแบบนำเสนอผลงานวิชาการ
แบบนำเสนอผลงานวิชาการ
 
241203 chapter06
241203 chapter06241203 chapter06
241203 chapter06
 
Innovation Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศ
Innovation Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศInnovation Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศ
Innovation Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
แบบนำเสนอผลงานวิชาการ
แบบนำเสนอผลงานวิชาการแบบนำเสนอผลงานวิชาการ
แบบนำเสนอผลงานวิชาการ
 

More from Wiwat Ngamsane

More from Wiwat Ngamsane (7)

Chap.8 (problem)
Chap.8 (problem)Chap.8 (problem)
Chap.8 (problem)
 
Chap.7 (problem)
Chap.7 (problem)Chap.7 (problem)
Chap.7 (problem)
 
Chapter 6
Chapter 6Chapter 6
Chapter 6
 
Chapter 5
Chapter 5Chapter 5
Chapter 5
 
Chap.4
Chap.4Chap.4
Chap.4
 
Chap.3
Chap.3Chap.3
Chap.3
 
Problem based learning (16 ม .ย. 56)
Problem based learning (16 ม .ย. 56)Problem based learning (16 ม .ย. 56)
Problem based learning (16 ม .ย. 56)
 

Chapter 6

  • 1.
  • 2.  ภายหลังที่รัฐบาลได้จัดการปฏิรูปการศึกษา ซึ่งมีหัวใจสาคัญอยู่ที่ "การ ยกระดับคุณภาพประชากรของประเทศให้สูงขึ้น คือ ผู้เรียนทุกคนมี ความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้และถือว่าผู้เรียนมีความสาคัญที่สุด ที่ต้องส่งเสริมและพัฒนาให้เต็มตามศักยภาพ ฝึกทักษะ กระบวนการคิด การ ประยุกต์ความรู้ และการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง สามารถในการคิด วิเคราะห์ และริเริ่มสร้างสรรค์ มีความสามารถในการแก้ปัญหา ตลอดจน รู้จักการทางานเป็นหมู่คณะ" มีการนาเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาใช้เพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพการเรียนรู้ ที่ผู้เรียนสามารถเข้าถึงได้อย่างหลากหลาย สามารถ เรียนได้ทุกที่ทุกเวลา เพื่อที่จะทาให้ผู้เรียนเกิดความรู้ความเข้าใจ และเหมาะสม กับยุคแห่งข้อมูลสารสนเทศที่มีอยู่อย่างมากมาย รวมไปถึงการทาให้การ เรียนรู้นั้นเกิดประสิทธิภาพสูงสุด ทั้งยังเพื่อเป็นการเตรียมพัฒนาผู้เรียน ให้มี คุณลักษณะที่เหมาะสมกับสังคมยุคโลกาภิวัฒน์ ในฐานะที่ท่านจะเป็นครูพันธ์ ใหม่ ท่านจะต้องปฏิบัติภารกิจต่อไปนี้
  • 3. เป้ าหมายทางการศึกษาของประเทศที่พัฒนาแล้วอยู่ที่การให้การศึกษา แก่ประชาชนเข้าสู่โลกแห่งเทคโนโลยี โดยเน้นปัจจัยสาคัญอยู่ที่ความรอบรู้ของ คนในชาติ การปฏิรูปการศึกษา มุ่งเน้นให้ผู้เรียนเป็นศูนย์กลางการเรียน แทนที่ครู จะเป็นผู้มีบทบาทสาคัญเพียงอย่างเดียว ส่วนหนึ่งของการปฏิรูปการศึกษาคือ การสร้างโอกาสให้แก่ผู้เรียนเข้าถึงแหล่งข้อมูล แหล่งความรู้ได้มากและสะดวก ขึ้น ดังนั้นการปฏิรูปการศึกษาจึงต้องใช้ระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเข้ามามี บทบาทในการจัดการเรียนรู้การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศทาให้เกิดระบบการ เรียนการสอนทางไกล ซึ่งผู้เรียนและผู้สอนสามารถตอบโต้กันได้แม้ว่าจะอยู่ห่าง กัน ผู้เรียนสามารถส่งการบ้านทางอินเทอร์เน็ตได้ ครูสามารถตรวจงานให้ คะแนนได้ แม้กระทั่งการชี้แนะด้วยไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ (E-mail) หรือ ใช้ระบบกระดานข่าว (Bulletin Board System)
  • 5.  ในการบูรณาการเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนการสอน ผู้สอนควร จะศึกษาเทคนิค วิธีการ เทคโนโลยีต่างๆ ที่จะนามาใช้เพื่อช่วยให้ผู้เรียน ได้รับความรู้ใหม่ซึ่งแต่เดิมมักเป็นการสอนให้ผู้เรียนเรียนโดยเน้นการ ท่องจา และปรับเปลี่ยนมาสู่การใช้เทคนิควิธีการที่จะช่วยผู้เรียนได้รับ ข้อเท็จจริงได้อย่างมีประสิทธิภาพรวมทั้งการจัดการสอนที่เน้นครูเป็น ศูนย์กลางอาจนาไปใช้ให้เกิดประโยชน์ได้เช่นกัน อย่างไรก็ตามสิ่งที่สาคัญ และเป็นความต้องการของการศึกษาในขณะนี้คือ การสอนที่ผู้เรียนควร ได้รับคือ ทักษะการคิดในระดับสูง (Higher-order thinking skills) ได้แก่ การคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ ตลอดจนการแก้ปัญหา และ การถ่ายโยง (Transfer) โดยเน้นการใช้วิธีการต่าง ๆ อาทิ สถานการณ์จาลอง การค้นพบ การแก้ปัญหา และการเรียนแบบร่วมมือ สาหรับผู้เรียนจะได้รับประสบการณ์การแก้ปัญหาที่สอดคล้องกับสภาพ ชีวิตจริง
  • 6.  สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ (Learning environment) ประกอบด้วยสถานการณ์ปัญหาที่กระตุ้นให้ผู้เรียนเรียนรู้ แหล่งการเรียนรู้ ชนิดต่างๆ ที่จัดเตรียมไว้สาหรับให้ค้นหาคาตอบ มีฐานการช่วยเหลือไว้คอย สนับสนุนผู้เรียนในกรณีที่ไม่สามารถแก้ปัญหาได้ ตลอดจนการเรียนรู้แบบ ร่วมมือกันแก้ปัญหาที่สนับสนุนให้ผู้เรียนขยายมุมมองแนวคิดต่างๆ  การเรียนรู้แบบออนไลน์ (E-learning)เป็นการศึกษา เรียนรู้ผ่าน เครือข่ายคอมพิวเตอร์อินเทอร์เน็ต (Internet) หรืออินทราเน็ต (Intranet) เป็นการเรียนรู้ด้วยตัวเอง ผู้เรียนจะได้เรียนตาม ความสามารถและความสนใจของตน
  • 7.  หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-books) เป็นสื่อที่ใช้ในการอธิบายตัวอักษรที่มี ลักษณะคล้ายคลึงกับหนังสือ อยู่ในรูปแบบดิจิตัล โดยแสดงให้เห็นบน จอคอมพิวเตอร์  ห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์ (E-library) มาจากคาว่า Electronic Library หรือห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์ หมายถึง แหล่งความรู้ที่บันทึก ข้อมูลไว้ในเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่ายและให้บริการสารสนเทศทาง อิเล็กทรอนิกส์หรือผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
  • 8.  แผนการจัดการเรียนรู้ เป็นการบูรณาการเทคโนโลยีสารสนเทศในขั้นตอน ต่างๆ ของแผนการจัดการเรียนรู้ ที่ยึดหลักการบูรณาการที่เน้นผู้เป็นสาคัญ โดยใช้เทคโนโลยีเข้ามาสางเสริม สนับสนุนและพัฒนาศักยภาพการเรียนรู้ของ ผู้เรียน
  • 9. สาหรับโรงเรียนบ้านหนองงูเห่าซึ่งเป็นโรงเรียนที่อยู่ในถิ่นทุรกันดาร อาจมี บุคลากรทางการศึกษาที่ไม่เพียงพอ การที่จะให้นักเรียนได้รับความรู้ ได้เรียน หนังสือเหมือนเด็กในเมืองที่มีครู บุคลากรทางการศึกษาที่เก่งๆสอนนั้น ใน ความคิดของพวกเราในฐานะที่จะจบออกไปเป็นครูถ้าจะให้แก้ปัญหานี้โดยการนา เทคโนโลยีการศึกษาไปใช้คือ ทาการบันทึกการสอนของครูที่เก่งๆบันทึกภาพเป็น วิดีโอ ซึ่งจัดทาเป็นวีซีดีซึ่งแจกจ่ายไปยังกับโรงเรียนที่ขาดแคลนบุคลากรทาง การศึกษา เพื่อทาให้นักเรียนได้เข้าถึงบทเรียนและมีความรู้เกี่ยวกับเนื้อหานั้นๆ เพื่อให้นักเรียนเหล่านั้นเติบโตมาอย่างมีความรู้และมาช่วยกันพัฒนาประเทศให้ เจริญก้าวหน้าต่อไป
  • 10. โรงเรียนมัธยมไฮโซเบตง เป็นโรงเรียนที่ตั้งอยู่ในเมือง มีความพร้อม ทางด้านสื่อ เทคโนโลยี มีห้องคอมพิวเตอร์ มีระบบอินเตอร์เน็ตความเร็วสูง แต่ ครูมีไม่เพียงพอเนื่องจากย้ายหนีเหตุการณ์ความไม่สงบ โรงเรียนมัธยมเบตงไฮโซ ซึ่งเป็นโรงเรียนที่เพียบพร้อมไปด้วยอุปกรณ์ ทางการศึกษา แต่ขาดแคลนบุคลากรทางการศึกษาเนื่องจากมีปัญหาความไม่ สงบนั้น เราควรจัดการเรียนการสอน ปกติถึงแม้ครูจะไม่เพียงพอต่อการสอนแต่ เพื่อให้เด็กได้เรียนและได้รับความรู้นั้นควรจัดให้มีการเรียนการสอนที่เรียกว่า ระบบการเรียนการสอนทางไกลผ่านดาวเทียมเพราะโรงเรียนมีความพร้อมใน ด้านอุปกรณ์คอมพิวเตอร์และระบบอินเตอร์เน็ต เพื่อให้เด็กได้เรียนหนังสือและ ได้รับความรู้ ก็ต้องจัดให้มีการสอนในระบบนี้เกิดขึ้น
  • 11. นายธวัช ปะธิเก 553050078-4 น.ส.พชรธรษ์ จาปีพรหม 553050086-5 นายวิวัฒน์ งามเสน่ห์ 553050100-7