SlideShare a Scribd company logo
1 of 16
Download to read offline
ภายหลังที่รัฐบาลได้จัดการปฏิรูปการศึกษา ซึ่งมีหัวใจสาคัญอยู่ที่ "การ ยกระดับคุณภาพประชากรของประเทศให้สูงขึ้น คือ ผู้เรียนทุกคนมีความสามารถ เรียนรู้และพัฒนาตนเองได้และถือว่าผู้เรียนมีความสาคัญที่สุด ที่ต้องส่งเสริมและพัฒนา ให้เต็มตามศักยภาพ ฝึกทักษะ กระบวนการคิด การประยุกต์ความรู้ และการแสวงหา ความรู้ด้วยตนเอง สามารถในการคิดวิเคราะห์ และริเริ่มสร้างสรรค์ มีความสามารถใน การแก้ปัญหา ตลอดจนรู้จักการทางานเป็นหมู่คณะ" มีการนาเทคโนโลยีสารสนเทศเข้า มาใช้เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการเรียนรู้ ที่ผู้เรียนสามารถเข้าถึงได้อย่างหลากหลาย สามารถเรียนได้ทุกที่ทุกเวลา เพื่อที่จะทาให้ผู้เรียนเกิดความรู้ความเข้าใจ และเหมาะสม กับยุคแห่งข้อมูลสารสนเทศที่มีอยู่อย่างมากมาย รวมไปถึงการทาให้การเรียนรู้นั้นเกิด ประสิทธิภาพสูงสุด ทั้งยังเพื่อเป็นการเตรียมพัฒนาผู้เรียน ให้มีคุณลักษณะที่เหมาะสม กับสังคมยุคโลกาภิวัฒน์
วิเคราะห์บทบาทและความสาคัญของเทคโนโลยี สารสนเทศกับการพัฒนาการศึกษาตามแนวทางปฏิรูป การศึกษา
เทคโนโลยีสารสนเทศในปัจจุบันได้มาการนามาพัฒนาและ ประยุกต์ใช้ให้เหมาะสมกับหลายๆด้าน เช่น การแพทย์ การติดต่อสื่อสาร ด้านวิทยาศาสตร์ การท่องเที่ยว เป็นต้น ทั้งนี้เพื่อเป็นการอานวยความสะดวก และให้การพัฒนาในด้านนั้นๆเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ในด้านการศึกษาก็ เช่นเดียวกัน เทคโนโลยีมีความเกี่ยวข้องกับการศึกษาเพื่อนามาใช้ในการเรียน การสอน ด้วยอุปกรณ์ที่ทันสมัย ไม่เพียงแค่เป็นเครื่องมือของครูเท่านั้น เทคโนโลยีที่เข้ามาเป็นตัวช่วยนี้ยังสามารถให้นักเรียนได้มีโอกาสเรียนด้วย ด้วยตัวเองผ่านเทคโนโลยีสารสนเทศได้อีกด้วย
ดังนั้นเทคโนโลยีสารสนเทศจึงมีบทบาทและ ความสาคัญต่อการศึกษาในปัจจุบัน เนื่องจากจะเป็นสิ่งที่จะ ช่วยพัฒนาการเรียนรู้และอานวยความสะดวกในด้านการสอน และสามารถเป็นแหล่งเรียนรู้ของผู้เรียนได้ตลอดเวลาเพื่อ ค้นคว้าข้อมูลต่างๆได้อย่างรวดเร็วอีกด้วย
วิเคราะห์หาวิธีการที่จะประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ จัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ
• สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ 
• การเรียนรู้แบบออนไลน์ (E-learning) 
• หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-books) 
• ห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์ (E-library) 
• แผนการจัดการเรียนรู้
สิ่งแวดล้อมการเรียนรู้ 
นาเอาทฤษฎีการเรียนรู้มาเป็นพื้นฐานการออกแบบร่วมกับสื่อ หรือเทคโนโลยีสารสนเทศ ประกอบด้วยสถานการณ์ มีฐานการช่วยเหลือ สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้สามารถแยกออกเป็น 3 รูปแบบ 
- สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้บนเครือข่าย 
- มัลติมีเดียที่พัฒนาตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ 
- ชุดการสร้างความรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
การเรียนรู้แบบออนไลน์ (E-learning) 
การเรียนรู้ผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์ เป็นการเรียนรู้ด้วย ตนเองผ่านข้อความ รูปภาพ เสียง วีดิโอและมัลติมีเดียอื่นๆ สามรถ เรียนรู้ได้ทุกเวลาและทุกสถานที่ องค์ประกอบการเรียนรู้แบบออนไลน์ มีดังนี้ 
- เนื้อหาของบทเรียน 
- ระบบบริหารการเรียน 
- การติดต่อสื่อสาร
หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-books) 
หนังสือที่ถูกนามาจัดพิมพ์ในรูปแบบดิจิตอล ไม่บังคับการพิมพ์และ การเข้าเล่ม แผ่นซีดีรอมสามารถจัดเก็บข้อมูลได้จานวนมากในรูปแบบของ ตัวอักษร ทั้งลักษณะภาพดิจิตอล ภาพอนิเมชั่น วีดิโอ ภาพเคลื่อนไหวต่อเนื่อง และอื่นๆที่ประกอบตัวอักษรเหล่านั้น
ห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์ (E-library) 
เป็นแหล่งความรู้ที่บันทึกข้อมูลไว้ในเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่าย และให้บริการสารสนเทศทางอิเล็กทรอนิกส์หรือผ่านเครือข่าย อินเตอร์เน็ต เทคโนโลยีของห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์ มีดังนี้ 
- การจัดการเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ เพื่อประโยชน์ในการรวบรวมและ จัดเก็บให้สะดวกในการบริการขนส่งสารสนเทศแก่ผู้ใช้ 
- ระบบเครือข่าย เพื่อเชื่อมโยงห้องสมุดกับผู้ใช้ 
- การส่งเอกสารสารสนเทศแก่ผู้ใช้
แผนการจัดการเรียนรู้ 
เป็นการบูรณาการเทคโนโลยีสารสนเทศในขั้นตอนต่างๆของแผนการ เรียนรู้ กรอบแนวคิดในการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่บูรณาการ 
- การเชื่อมโยงความรู้เดิมกับความรู้ใหม่ 
- กระตุ้นให้เกิดปัญหาและมอบหมายให้เรียนรู้ 
- ส่งเสริมการสร้างและการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง 
- ขยายแนวคิดที่หลากหลาย 
- ส่งเสริมการสร้างความเข้าใจด้วยตนเอง
ให้ท่านพิจารณาเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการ จัดการเรียนรู้ตามบริบทของโรงเรียนที่กาหนดให้ต่อไปนี้ พร้อมทั้งให้เหตุผลประกอบคาอธิบาย 
• โรงเรียนบ้านหนองงูเห่า เป็นโรงเรียนที่อยู่ห่างไกลในถิ่นธุระ กันดาร โรงเรียนมีคอมพิวเตอร์สามเครื่อง มีโทรทัศน์ ไม่มีสัญญาณโทรศัพท์ 
• โรงเรียนมัธยมไฮโซเบตง เป็นโรงเรียนที่ตั้งอยู่ในเมือง มีความ พร้อมทางด้านสื่อ เทคโนโลยี มีห้องคอมพิวเตอร์ มีระบบอินเตอร์เน็ต ความเร็วสูง แต่ครูมีไม่เพียงพอเนื่องจากย้ายหนีเหตุการณ์ความไม่สงบ
เนื่องจากโรงเรียนบ้านหนองงูเห่าไม่มีสัญญาโทรทัศน์ แต่สามารถใช้ได้โดย การใช้วิธีเปิดวิดีโอจากเครื่องเล่นวิดีโอ แล้วให้นักเรียนได้เรียนรู้จากวิดีโอนั้น โดยมีครูผู้สอนเป็นผู้คอยให้คาชี้แนะ และให้คาปรึกษาเมื่อผู้เรียนมีข้อสงสัย 
นอกจากโทรทัศน์แล้วคอมพิวเตอร์ที่โรงเรียนมีก็สามารถเป็นแหล่ง เรียนรู้ได้เช่นเดียวกัน ถึงแม้จะมีเพียง 3 เครื่อง ครูจึงควรจัดสรรจานวน นักเรียนเพื่อให้ได้เรียนรู้ร่วมกันอยู่มีความสุข
โรงเรียนไฮโซเบตงมีปัญหาที่พบคือจานวนครูไม่เพียงพอ แต่ เนื่องจากโรงเรียนมีความพร้อมทางเทคโนโลยีอยู่หลายด้านจึงสามารถ แก้ปัญหาได้โดยให้เทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาช่วยเหลือ เช่น นาเอา ระบบศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียมเข้ามาเป็นตัวช่วย เพื่อให้การเรียนการ สอนดาเนินต่อไปได้
Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา

More Related Content

What's hot

การสอบป้องกันวิทยานิพนธ์ ผศ.ดร.ชนินทร์ ตั้งพานทอง
การสอบป้องกันวิทยานิพนธ์ ผศ.ดร.ชนินทร์ ตั้งพานทองการสอบป้องกันวิทยานิพนธ์ ผศ.ดร.ชนินทร์ ตั้งพานทอง
การสอบป้องกันวิทยานิพนธ์ ผศ.ดร.ชนินทร์ ตั้งพานทอง
Prachyanun Nilsook
 
001 คำนำชุดฝึกทักษะ
001 คำนำชุดฝึกทักษะ001 คำนำชุดฝึกทักษะ
001 คำนำชุดฝึกทักษะ
Piyarerk Bunkoson
 
โครงการจิตอาสาปลูกป่าช่วยโลก
โครงการจิตอาสาปลูกป่าช่วยโลกโครงการจิตอาสาปลูกป่าช่วยโลก
โครงการจิตอาสาปลูกป่าช่วยโลก
พัน พัน
 
ความหมาย ความเป็นมาของศิลปะและการสร้างสรรค์
ความหมาย ความเป็นมาของศิลปะและการสร้างสรรค์ความหมาย ความเป็นมาของศิลปะและการสร้างสรรค์
ความหมาย ความเป็นมาของศิลปะและการสร้างสรรค์
sirikase
 
แฟ้มสะสมผลงานนักเรียน
แฟ้มสะสมผลงานนักเรียนแฟ้มสะสมผลงานนักเรียน
แฟ้มสะสมผลงานนักเรียน
bustid
 
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
AomJi Math-ed
 

What's hot (20)

การสอบป้องกันวิทยานิพนธ์ ผศ.ดร.ชนินทร์ ตั้งพานทอง
การสอบป้องกันวิทยานิพนธ์ ผศ.ดร.ชนินทร์ ตั้งพานทองการสอบป้องกันวิทยานิพนธ์ ผศ.ดร.ชนินทร์ ตั้งพานทอง
การสอบป้องกันวิทยานิพนธ์ ผศ.ดร.ชนินทร์ ตั้งพานทอง
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม part 2
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม part 2ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม part 2
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม part 2
 
Chapter2 communication-v62 a
Chapter2 communication-v62 aChapter2 communication-v62 a
Chapter2 communication-v62 a
 
กรอบแนวคิดการวิจัยกับตัวแปร
กรอบแนวคิดการวิจัยกับตัวแปรกรอบแนวคิดการวิจัยกับตัวแปร
กรอบแนวคิดการวิจัยกับตัวแปร
 
บทที่ 1 ประเภทของสารสนเทศท้องถิ่น
บทที่ 1 ประเภทของสารสนเทศท้องถิ่นบทที่ 1 ประเภทของสารสนเทศท้องถิ่น
บทที่ 1 ประเภทของสารสนเทศท้องถิ่น
 
รายงาน เรื่อง โครงงานสื่อการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ (E-book) : เทคนิคการถ่ายภาพ
รายงาน เรื่อง โครงงานสื่อการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ (E-book) : เทคนิคการถ่ายภาพรายงาน เรื่อง โครงงานสื่อการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ (E-book) : เทคนิคการถ่ายภาพ
รายงาน เรื่อง โครงงานสื่อการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ (E-book) : เทคนิคการถ่ายภาพ
 
001 คำนำชุดฝึกทักษะ
001 คำนำชุดฝึกทักษะ001 คำนำชุดฝึกทักษะ
001 คำนำชุดฝึกทักษะ
 
โครงการจิตอาสาปลูกป่าช่วยโลก
โครงการจิตอาสาปลูกป่าช่วยโลกโครงการจิตอาสาปลูกป่าช่วยโลก
โครงการจิตอาสาปลูกป่าช่วยโลก
 
แนวทางการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐาน-สอศ.2559.pdf
แนวทางการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐาน-สอศ.2559.pdfแนวทางการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐาน-สอศ.2559.pdf
แนวทางการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐาน-สอศ.2559.pdf
 
ความหมาย ความเป็นมาของศิลปะและการสร้างสรรค์
ความหมาย ความเป็นมาของศิลปะและการสร้างสรรค์ความหมาย ความเป็นมาของศิลปะและการสร้างสรรค์
ความหมาย ความเป็นมาของศิลปะและการสร้างสรรค์
 
วิวัฒนาการ การสื่อสารของมนุษย์
วิวัฒนาการ การสื่อสารของมนุษย์วิวัฒนาการ การสื่อสารของมนุษย์
วิวัฒนาการ การสื่อสารของมนุษย์
 
หน่วยที่ 4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศ
หน่วยที่  4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศหน่วยที่  4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศ
หน่วยที่ 4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศ
 
การจัดการห้องเรียนออนไลน์ด้วย Google Classroom
การจัดการห้องเรียนออนไลน์ด้วย Google Classroomการจัดการห้องเรียนออนไลน์ด้วย Google Classroom
การจัดการห้องเรียนออนไลน์ด้วย Google Classroom
 
เทคนิคการเขียนเอกสารประกอบการสอน
เทคนิคการเขียนเอกสารประกอบการสอนเทคนิคการเขียนเอกสารประกอบการสอน
เทคนิคการเขียนเอกสารประกอบการสอน
 
แฟ้มสะสมผลงานนักเรียน
แฟ้มสะสมผลงานนักเรียนแฟ้มสะสมผลงานนักเรียน
แฟ้มสะสมผลงานนักเรียน
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสื่อสิ่งพิมพ์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสื่อสิ่งพิมพ์ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสื่อสิ่งพิมพ์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสื่อสิ่งพิมพ์
 
บทที่ 2 การฟัง
บทที่ 2 การฟังบทที่ 2 การฟัง
บทที่ 2 การฟัง
 
Macro Economics C1 ความรู้เบื้องต้นเศรษฐศาสตร์
Macro Economics C1 ความรู้เบื้องต้นเศรษฐศาสตร์Macro Economics C1 ความรู้เบื้องต้นเศรษฐศาสตร์
Macro Economics C1 ความรู้เบื้องต้นเศรษฐศาสตร์
 
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
 
โครงการ “การพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-book) เพื่อการศึกษา”
โครงการ “การพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-book) เพื่อการศึกษา”โครงการ “การพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-book) เพื่อการศึกษา”
โครงการ “การพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-book) เพื่อการศึกษา”
 

Viewers also liked

บทที่6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
บทที่6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาบทที่6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
บทที่6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
janepi49
 
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
Nisachol Poljorhor
 
จักราวุธ เนื้อหา และตัวอย่างข้อสอบจรรยาบรรณวิชาชีพครู
จักราวุธ เนื้อหา และตัวอย่างข้อสอบจรรยาบรรณวิชาชีพครู จักราวุธ เนื้อหา และตัวอย่างข้อสอบจรรยาบรรณวิชาชีพครู
จักราวุธ เนื้อหา และตัวอย่างข้อสอบจรรยาบรรณวิชาชีพครู
นายจักราวุธ คำทวี
 

Viewers also liked (6)

บทที่6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
บทที่6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาบทที่6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
บทที่6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
 
Chapter6
Chapter6Chapter6
Chapter6
 
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
Mi sch3
Mi sch3Mi sch3
Mi sch3
 
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
 
จักราวุธ เนื้อหา และตัวอย่างข้อสอบจรรยาบรรณวิชาชีพครู
จักราวุธ เนื้อหา และตัวอย่างข้อสอบจรรยาบรรณวิชาชีพครู จักราวุธ เนื้อหา และตัวอย่างข้อสอบจรรยาบรรณวิชาชีพครู
จักราวุธ เนื้อหา และตัวอย่างข้อสอบจรรยาบรรณวิชาชีพครู
 

Similar to Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา

งานนำเสนอบทท 6จ_า (1)
งานนำเสนอบทท   6จ_า (1)งานนำเสนอบทท   6จ_า (1)
งานนำเสนอบทท 6จ_า (1)
Naparat Sriton
 
Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาChapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
Wuth Chokcharoen
 
เทคโนโลย สารสนเทศเพ _อการเร_ยนร__
เทคโนโลย สารสนเทศเพ _อการเร_ยนร__เทคโนโลย สารสนเทศเพ _อการเร_ยนร__
เทคโนโลย สารสนเทศเพ _อการเร_ยนร__
Chanaaun Ying
 
Chapter 06
Chapter 06Chapter 06
Chapter 06
ukbass13
 
นวัตกรรมบทที่6เทคโนโลยีสารสนเทศทางศึกษา
นวัตกรรมบทที่6เทคโนโลยีสารสนเทศทางศึกษานวัตกรรมบทที่6เทคโนโลยีสารสนเทศทางศึกษา
นวัตกรรมบทที่6เทคโนโลยีสารสนเทศทางศึกษา
Amu P Thaiying
 
เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
Fern's Supakyada
 
Chapter 6
Chapter 6Chapter 6
Chapter 6
Zhao Er
 
Powerpoint6
Powerpoint6Powerpoint6
Powerpoint6
tross999
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
Thamonwan Kottapan
 

Similar to Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา (20)

Chapter 6
Chapter 6Chapter 6
Chapter 6
 
Lesson6
Lesson6Lesson6
Lesson6
 
งานนำเสนอบทท 6จ_า (1)
งานนำเสนอบทท   6จ_า (1)งานนำเสนอบทท   6จ_า (1)
งานนำเสนอบทท 6จ_า (1)
 
presentation 6
presentation 6presentation 6
presentation 6
 
นวัต6เทคโนโลยีการศึกษา
นวัต6เทคโนโลยีการศึกษานวัต6เทคโนโลยีการศึกษา
นวัต6เทคโนโลยีการศึกษา
 
Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาChapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
 
บทท 6
บทท   6บทท   6
บทท 6
 
เทคโนโลย สารสนเทศเพ _อการเร_ยนร__
เทคโนโลย สารสนเทศเพ _อการเร_ยนร__เทคโนโลย สารสนเทศเพ _อการเร_ยนร__
เทคโนโลย สารสนเทศเพ _อการเร_ยนร__
 
Chapter 06
Chapter 06Chapter 06
Chapter 06
 
Chapter6
Chapter6Chapter6
Chapter6
 
นวัตกรรมบทที่6เทคโนโลยีสารสนเทศทางศึกษา
นวัตกรรมบทที่6เทคโนโลยีสารสนเทศทางศึกษานวัตกรรมบทที่6เทคโนโลยีสารสนเทศทางศึกษา
นวัตกรรมบทที่6เทคโนโลยีสารสนเทศทางศึกษา
 
Chapter 6 (INTRODUCTION TECHNOLOGIES AND EDUCATIONAL MEDIA)
Chapter 6 (INTRODUCTION TECHNOLOGIES AND EDUCATIONAL MEDIA)Chapter 6 (INTRODUCTION TECHNOLOGIES AND EDUCATIONAL MEDIA)
Chapter 6 (INTRODUCTION TECHNOLOGIES AND EDUCATIONAL MEDIA)
 
เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
 
Chapter 6
Chapter 6Chapter 6
Chapter 6
 
Chapter 6
Chapter 6Chapter 6
Chapter 6
 
Powerpoint6
Powerpoint6Powerpoint6
Powerpoint6
 
Chapter 6
Chapter 6Chapter 6
Chapter 6
 
บทท 6..
บทท  6..บทท  6..
บทท 6..
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
 

Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา