SlideShare a Scribd company logo
1 of 16
Download to read offline
โดยกลุ่ม โจโจ้ซัง 
เสนอ อ.ดร.อนุชา โสมาบุตร 
รายวิชา 241208 นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
สถานการณ์ปัญหา (Problem-based learning) 
ภายหลังที่รัฐบาลได้จัดการปฏิรูปการศึกษา ซึ่งมีหัวใจสาคัญ อยู่ที่ การยกระดับคุณภาพประชากรของประเทศให้สูงขึ้น คือ ผู้เรียน ทุกคนมี ความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้และถือว่าผู้เรียนมี ความสาคัญที่สุด ที่ต้องส่งเสริมและพัฒนาให้เต็มตามศักยภาพ ฝึก ทักษะ กระบวนการคิด การประยุกต์ความรู้และการแสวงหาความรู้ด้วย ตนเอง สามารถในการคิดวิเคราะห์และริเริ่มสร้างสรรค์มีความสามารถ ในการแก้ปัญหา ตลอดจนรู้จักการทางานเป็นหมู่คณะ 
โดยกลุ่ม โจโจ้ซัง 
โดยกลุ่ม โจโจ้ซัง
สถานการณ์ปัญหา (Problem-based learning) (ต่อ) มีการนาเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาใช้เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการเรียนรู้ ที่ ผู้เรียนสามารถเข้าถึงได้อย่างหลากหลาย สามารถเรียนได้ทุกที่ทุกเวลา เพื่อที่จะทาให้ผู้เรียนเกิดความรู้ความเข้าใจ และเหมาะสมกับยุคแห่งข้อมูล สารสนเทศที่มีอยู่อย่างมากมาย รวมไปถึงการทาให้การเรียนรู้นั้นเกิด ประสิทธิภาพสูงสุด ทั้งยังเพื่อเป็นการเตรียมพัฒนาผู้เรียน ให้มีคุณลักษณะ ที่เหมาะสมกับสังคมยุคโลกาภิวัตน์ ในฐานะที่ท่านจะเป็นครูพันธุ์ใหม่ ท่าน จะต้องปฏิบัติภารกิจต่อไปนี้ 
โดยกลุ่ม โจโจ้ซัง
ภารกิจที่ 1 
วิเคราะห์บทบาทและความสาคัญของ เทคโนโลยีสารสนเทศกับการพัฒนา การศึกษาตามแนวทางปฏิรูปการศึกษา 
ภารกิจที่ 1 
โดยกลุ่ม โจโจ้ซัง
ภารกิจที่ 1 
1. สร้างโอกาสในการเข้าถึงแหล่งข้อมูล : ผู้เรียนสามารถเข้าถึง แหล่งข้อมูลได้สะดวกและรวดเร็วมากขึ้น ทั้งยังลงทุนต่า ดังนั้นเครือข่าย อินเตอร์เน็ตจึงเป็นสิ่งสาคัญในการเรียนการสอนอย่างยิ่งยวด 
2. เกิดระบบการเรียนการสอนทางไกล : ผู้เรียนและผู้สอนสามารถถ ตอบโต้กันได้แม้ว่าจะอยู่ห่างกัน ผู้เรียนสามารถส่งการบ้านทางอินเทอร์เน็ตได้ ครู 
สามารถตรวจงานให้คะแนนได้ แม้กระทั่งการชี้แนะด้วยไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ (E-mail) หรือใช้ระบบกระดานข่าว (Bulletin Board System) 
3. อานวยความสะดวกในการสอน : ครูสามารถเทคโนโลยีสารสนเทศ ในลักษะต่างๆ เพื่อสร้างให้เกิดการเรียนการสอนที่มีประสิทธิภาพ แม่นยา น่าสนใจ และมีความหมายกับผู้เรียน 
โดยกลุ่ม โจโจ้ซัง
ภารกิจที่ 1 
4. ทาลายขีดจากัดในเรื่องสถานที่ และเวลา : ผู้เรียนและผู้สอนไม่ จาเป็นต้องมีสถานที่ในการจัดการเรียนการสอน ผู้เรียนสามารถศึกษาเรียนรู้ ด้วยตนเองผ่านอินเตอร์เน็ต โดยผู้สอนจะต้องใช้เทคโนโลยีเพื่อสร้างความรู้ ปฏิสัมพันธ์ คุณลักษณะอันพึ่งประสงค์ และทักษะต่างๆให้เกิดกับผู้เรียนได้ อย่างมีประสิทธิภาพ 
5. สามารถจัดการเรียนรู้ได้ตามความแตกต่างของผู้เรียน : ผู้สอน สามารถเลือกใช้ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศให้เหมาะสมกับความแตกต่างระหว่าง บุคคลของผู้เรียน เพื่อให้เกิดการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ และประสบผลสาเร็จ มากที่สุด 
โดยกลุ่ม โจโจ้ซัง
ภารกิจที่ 2 
วิเคราะห์หาวิธีการที่จะประยุกต์เทคโนโลยี สารสนเทศมาใช้ในการจัดการเรียนรู้ที่เน้น ผู้เรียนเป็นสาคัญ 
ภารกิจที่ 2 
โดยกลุ่ม โจโจ้ซัง
ภารกิจที่ 2 
การจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญนั้น จะต้อง คานึงถึงเนื้อหาการเรียนรู้ที่ผู้เรียนเป็นผู้ตัดสินใจเลือกเรียนรู้เอง ตามความสนใจและการมีส่วนร่วมกันในการเรียนรู้โดยยึดตัว ผู้เรียนเป็นหลัก ซึ่งการนาเทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้ในการจัดการ เรียนรู้ที่เน้นผุ้เรียนเป็นสาคัญมีดังนี้ 
โดยกลุ่ม โจโจ้ซัง
ภารกิจที่ 2 
1.ตั้งคาถามหรือพูดคุยเกี่ยวเรื่องที่ผู้เรียนชอบ/สนใจ โดยกระตุ้น ความสนใจด้วยสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เช่น video, power point เป็นต้น 
2. นาเสนอสถานการณ์ปัญหาหรือภารกิจที่ผู้เรียนต้องอาศัย ทักษะการคิดวิเคราะห์ และมีการเชื่อมโยงกับความรู้เดิม โดยสามารถใช้ เทคโนโลยีต่างๆเข้ามาช่วย เช่น WebQuest, Web-based Learning โดย ผู้สอนจะต้องออกแบบอย่างสร้างสรรค์และมีคุณภาพ 
3. ให้ผู้เรียนวิเคราะห์สถานการณ์ปัญหาและค้นหาคาตอบด้วย ตนเองจากแหล่งเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ต่างๆ เช่น Website, Internet, Multimedia เป็นต้น 
โดยกลุ่ม โจโจ้ซัง
ภารกิจที่ 2 
4. ให้ผู้เรียนร่วมมือและระดมสมองในการแก้ไขปัญหาเป็นกลุ่ม มี การร่วมมือกันระหว่างสมาชิกในกลุ่ม เพื่อเป็นการแลกเปลี่ยนมุมมองที่ หลากหลาย มีการแสดงความคิดเห็นและยอมรับความคิดเห็นซึ่งกันและกัน ผ่าน ทางเทคโนโลยีเพื่อการสื่อสาร เช่น Social Media, E-mail, Chat room, weblog เป็นต้น 
5. ให้ผู้เรียนนาเสนอผลงานกลุ่มของตนเอง และช่วยกันสรุปบทเรียน ทั้งชั้นเรียนที่ได้เรียนรู้มา พร้อมทั้งสะท้อนการเรียนรู้ของตนเอง สะท้อนการคิด ของเพื่อนคนอื่น และนาความรู้ที่ได้เรียนรู้ไปสร้างสรรค์ผลงานใหม่ๆ ต่อยอดไป ยังองค์ความรู้อื่น หรือนาไปใช้ในชีวิตประจาวัน โดยใช้เทคโนโลยีต่างๆเข้ามามี บทบาทในการนาเสนอ เช่น ใช้ Power point ในการนาเสนองาน, บันทึกสิ่งที่ได้ เรียนรู้ใน weblog, สรุปบทเรียนโดยใช้ Imindmap 
โดยกลุ่ม โจโจ้ซัง
ภารกิจที่ 3 
ให้ท่านพิจารณาเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการเรียนรู้ ตาม บริบทของโรงเรียนที่กาหนดให้ต่อไปนี้พร้อมทั้ง ให้เหตุผลประกอบการอธิบาย 
ภารกิจที่ 3 
โดยกลุ่ม โจโจ้ซัง
1.โรงเรียนบ้านหนองงูเห่า เป็นโรงเรียนที่อยู่ห่างไกลในถิ่นธุระ กันดาร โรงเรียนมีคอมพิวเตอร์สามเครื่อง มีโทรทัศน์ ไม่มีสัญญาณโทรศัพท์ 
เนื่องจากสื่อและเทคโนโลยีที่มีไม่เพียงต่อจานวนนักเรียน 
แนวทางการเลือกใช้เทคโนโลยี 
การใช้เทคโนโลยีเพื่อส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ให้มีประสิทธิภาพ ครูควรเป็นผู้นาเสนอหัวข้อ/ประเด็นคาถามให้นักเรียนเลือกเรียน โดยใช้ เทคโนโลยี เช่น วีดิทัศน์จากโทรทัศน์หรือคอมพิวเตอร์ (เช่น สารคดี, รายการวิทยาศาสตร์) (หากเกี่ยวกับสิ่งที่อยู่รอบๆตัวนักเรียน อย่างเช่น ธรรมชาติ หรือวิธีการได้มาซึ่งสิ่งหนึ่งๆอย่างเช่นไอน้า จะดีมากเพราะเป็น สิ่งที่นักเรียนสามารถสัมผัสและมองเห็นได้อย่างเป็นรูปธรรม) 
ภารกิจที่ 3 
โดยกลุ่ม โจโจ้ซัง
ภารกิจที่ 3 
แนวทางการเลือกใช้เทคโนโลยี (ต่อ) 
จากนั้นให้นักเรียนได้ลงมือแก้ไขปัญหา/เรียนรู้ด้วยการลงมือทา ด้วยตนเอง อาจจะโดยวิธีการทดลองหรือสังเกตจริงๆ จากนั้นให้นักเรียนแต่ ละกลุ่มสรุปเป็นองค์ความรู้โดยใช้โปรแกรมหรือแอพลิเคชั่นในเครื่อง คอมพิวเตอร์ โดยผลัดเปลี่ยนกันทา จากนั้นก็นาเสนอในชั้นเรียนเพื่อสรุป เป็นองค์ความรู้เดียวกัน ซึ่งการจัดการเรียนรู้แบบนี้ครูจะต้องคอยดูแล นักเรียนอย่างใกล้ชิดเพราะนักเรียนต้องลงมือปฏิบัติจริงๆ แต่จะไม่เข้าไป แทรกในกระบวนการคิดของนักเรียน 
โดยกลุ่ม โจโจ้ซัง
ภารกิจที่ 3 
2.โรงเรียนมัธยมไฮโซเบตง เป็นโรงเรียนที่ตั้งอยู่ในเมือง มีความพร้อม ทางด้านสื่อ เทคโนโลยี มีห้องคอมพิวเตอร์ มีระบบอินเตอร์เน็ตความเร็วสูง แต่ครู มีไม่เพียงพอเนื่องจากย้ายหนีเหตุการณ์ความไม่สงบ 
แนวทางการเลือกใช้เทคโนโลยี 
เนื่องจากจานวนครูมีไม่เพียงพอต่อความต้องการ การศึกษาและเรียนรู้ ด้วยตนเองจึงมีความเหมาะสมมากที่สุด โดยการศึกษาและเรียนรู้ด้วยตนเองนั้น นักเรียนสามารถสืบค้น/ค้นคว้าหาข้อมูลที่นักเรียนต้องการเรียนรู้ได้เลย โดยมีการ ตกลงกันเพื่อหาหัวข้อหรือปัญหาในการเรียนรู้ ซึ่งจะต้องเป็นเรื่องที่เพื่อนๆทุกคน สนใจและอยากเรียนรู้ เพราะโรงเรียนมีความพร้อมในเทคโนโลยีและสื่อ อีกทั้ง นักเรียนยังสามารถระดมสอง/ปรึกษาพูดคุยกันเกี่ยวกับเรื่องที่จะเรียนรู้ผ่านทาง เทคโนโลยีเพื่อการสื่อสาร เช่น social media, chat room เป็นต้น 
โดยกลุ่ม โจโจ้ซัง
แนวทางการเลือกใช้เทคโนโลยี (ต่อ) 
และนาเสนอผลงานของตนเอง/กลุ่มของตนเอง โดยใช้เทคโนโลยี เช่น power point เป็นต้น และรวบรวมองค์ความรู้จากที่แต่ละกลุ่มได้มาก ให้เป็นองค์ความรู้ที่ตรงกัน ซึ่งอาจจะสรุปโดยการใช้ mind mapping ซึ่ง สามารถสร้างได้โดยแอพลิเคชั่น imindmap ทั้งนี้ ครูจะต้องคอยดูแล นักเรียนอยู่ห่างๆ และเพราะนักเรียนสามารถค้นหาและเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง จากเทคโนโลยีที่มีอยู่ จึงไม่จาเป็นที่จะต้องมีครูคอยควบคุมตลอดเวลา ดังนั้น จานวนครูที่มีน้อยจึงไม่เปนปัญหาต่อการเรียนรู้ของนักเรียน 
ภารกิจที่ 3 
โดยกลุ่ม โจโจ้ซัง
จัดทำโดย 
กลุ่ม โจโจ้ซัง 
นำงสำวพรรณวิภำ พรพิรุณโรจน์ 563050113-9 
นำงสำวรติพร หินคำ 563050125-2 
นำงสำววิจิตรำ เทศประสิทธิ์ 563050133-3 
นำงสำวอัจฉริยำ เชื้อเพชร 563050408-0 
นักศึกษำคณะศึกษำศำสตร์ สำขำวิชำคณิตศำสตรศึกษำ 
มหำวิทยำลัยขอนแก่น 
โดยกลุ่ม โจโจ้ซัง

More Related Content

What's hot

บทที่6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร
บทที่6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสารบทที่6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร
บทที่6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสารKanlayanee Thongthab
 
บทที่6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
บทที่6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาบทที่6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
บทที่6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาjanepi49
 
บทท 7 นว_ตกรรมทางการศ_กษา
บทท  7 นว_ตกรรมทางการศ_กษาบทท  7 นว_ตกรรมทางการศ_กษา
บทท 7 นว_ตกรรมทางการศ_กษาsinarack
 
นวัตกรรมบทที่6เทคโนโลยีสารสนเทศทางศึกษา
นวัตกรรมบทที่6เทคโนโลยีสารสนเทศทางศึกษานวัตกรรมบทที่6เทคโนโลยีสารสนเทศทางศึกษา
นวัตกรรมบทที่6เทคโนโลยีสารสนเทศทางศึกษาAmu P Thaiying
 
เอกสารประกอบการอบรมการสร้างเว็บไซต์ด้วยเวิร์ดเพรส รวมขึ้นเว็บ
เอกสารประกอบการอบรมการสร้างเว็บไซต์ด้วยเวิร์ดเพรส รวมขึ้นเว็บเอกสารประกอบการอบรมการสร้างเว็บไซต์ด้วยเวิร์ดเพรส รวมขึ้นเว็บ
เอกสารประกอบการอบรมการสร้างเว็บไซต์ด้วยเวิร์ดเพรส รวมขึ้นเว็บKobwit Piriyawat
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6Pari Za
 
เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาFern's Supakyada
 
Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาChapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาPan Kannapat Hengsawat
 
Introduction to technologies and educational media
Introduction to technologies  and  educational mediaIntroduction to technologies  and  educational media
Introduction to technologies and educational mediapompompam
 
E learning กับ social media จะไปด้วยกันอย่างไรเพื่อพัฒนาการศึกษาไทย
E learning กับ social media จะไปด้วยกันอย่างไรเพื่อพัฒนาการศึกษาไทยE learning กับ social media จะไปด้วยกันอย่างไรเพื่อพัฒนาการศึกษาไทย
E learning กับ social media จะไปด้วยกันอย่างไรเพื่อพัฒนาการศึกษาไทยKobwit Piriyawat
 
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษาN'Fern White-Choc
 
ICt For School & Reading Promotion
ICt For School & Reading PromotionICt For School & Reading Promotion
ICt For School & Reading Promotiondecnun
 
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยี
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยี
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีPennapa Kumpang
 
Smart learning environment
Smart learning environmentSmart learning environment
Smart learning environmentTar Bt
 
งานนำเสนอ มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้
งานนำเสนอ มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้งานนำเสนอ มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้
งานนำเสนอ มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้Aon Onuma
 
ภารกิจในบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
ภารกิจในบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษาภารกิจในบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
ภารกิจในบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษาB'nust Thaporn
 

What's hot (18)

บทที่6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร
บทที่6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสารบทที่6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร
บทที่6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร
 
บทที่6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
บทที่6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาบทที่6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
บทที่6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
 
บทท 7 นว_ตกรรมทางการศ_กษา
บทท  7 นว_ตกรรมทางการศ_กษาบทท  7 นว_ตกรรมทางการศ_กษา
บทท 7 นว_ตกรรมทางการศ_กษา
 
นวัตกรรมบทที่6เทคโนโลยีสารสนเทศทางศึกษา
นวัตกรรมบทที่6เทคโนโลยีสารสนเทศทางศึกษานวัตกรรมบทที่6เทคโนโลยีสารสนเทศทางศึกษา
นวัตกรรมบทที่6เทคโนโลยีสารสนเทศทางศึกษา
 
Digital e book
Digital e bookDigital e book
Digital e book
 
เอกสารประกอบการอบรมการสร้างเว็บไซต์ด้วยเวิร์ดเพรส รวมขึ้นเว็บ
เอกสารประกอบการอบรมการสร้างเว็บไซต์ด้วยเวิร์ดเพรส รวมขึ้นเว็บเอกสารประกอบการอบรมการสร้างเว็บไซต์ด้วยเวิร์ดเพรส รวมขึ้นเว็บ
เอกสารประกอบการอบรมการสร้างเว็บไซต์ด้วยเวิร์ดเพรส รวมขึ้นเว็บ
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
 
เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
 
Ch6 cognitive weapons 201700
Ch6 cognitive weapons 201700Ch6 cognitive weapons 201700
Ch6 cognitive weapons 201700
 
Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาChapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
 
Introduction to technologies and educational media
Introduction to technologies  and  educational mediaIntroduction to technologies  and  educational media
Introduction to technologies and educational media
 
E learning กับ social media จะไปด้วยกันอย่างไรเพื่อพัฒนาการศึกษาไทย
E learning กับ social media จะไปด้วยกันอย่างไรเพื่อพัฒนาการศึกษาไทยE learning กับ social media จะไปด้วยกันอย่างไรเพื่อพัฒนาการศึกษาไทย
E learning กับ social media จะไปด้วยกันอย่างไรเพื่อพัฒนาการศึกษาไทย
 
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
 
ICt For School & Reading Promotion
ICt For School & Reading PromotionICt For School & Reading Promotion
ICt For School & Reading Promotion
 
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยี
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยี
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยี
 
Smart learning environment
Smart learning environmentSmart learning environment
Smart learning environment
 
งานนำเสนอ มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้
งานนำเสนอ มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้งานนำเสนอ มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้
งานนำเสนอ มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้
 
ภารกิจในบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
ภารกิจในบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษาภารกิจในบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
ภารกิจในบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
 

Viewers also liked

Chapter9การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้ กลุ่มโจโจ้ซัง
Chapter9การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้ กลุ่มโจโจ้ซังChapter9การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้ กลุ่มโจโจ้ซัง
Chapter9การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้ กลุ่มโจโจ้ซังAchariyaChuerpet
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับฐานข้อมูลและการสืบค้น
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับฐานข้อมูลและการสืบค้นความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับฐานข้อมูลและการสืบค้น
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับฐานข้อมูลและการสืบค้นวีรวัฒน์ สว่างแสง
 
Ppt ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์
Ppt ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์Ppt ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์
Ppt ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์Khanittha Wongrakorn
 
ผลกระทบเชิงลบของการใช้นวัตกรรม เทคโนโลยี และสารสนเทศที่มีต่อ บุคคล การจัดการ...
ผลกระทบเชิงลบของการใช้นวัตกรรม เทคโนโลยี และสารสนเทศที่มีต่อ บุคคล การจัดการ...ผลกระทบเชิงลบของการใช้นวัตกรรม เทคโนโลยี และสารสนเทศที่มีต่อ บุคคล การจัดการ...
ผลกระทบเชิงลบของการใช้นวัตกรรม เทคโนโลยี และสารสนเทศที่มีต่อ บุคคล การจัดการ...Dokhed Gam
 
ผลกระทบเชิงลบ
ผลกระทบเชิงลบผลกระทบเชิงลบ
ผลกระทบเชิงลบTongsai Boonta
 
ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศไพบูลย์ วงษ์ปาน
 
การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...
การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...
การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...Nakhon Phanom University
 
ผลกระทบเชิงลบ ICT
ผลกระทบเชิงลบ ICTผลกระทบเชิงลบ ICT
ผลกระทบเชิงลบ ICTKunnanatya Pare
 
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์namtoey
 
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์lhinnn
 
ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์
ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์
ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์Rathapol Siriphimolwat
 
ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์
ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์
ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์phatthra jampathong
 
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6krunuy5
 
นวัตกรรม เรื่อง ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์
นวัตกรรม เรื่อง ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์นวัตกรรม เรื่อง ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์
นวัตกรรม เรื่อง ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์kruchanon2555
 

Viewers also liked (20)

Chapter 5
Chapter 5Chapter 5
Chapter 5
 
Chapter9การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้ กลุ่มโจโจ้ซัง
Chapter9การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้ กลุ่มโจโจ้ซังChapter9การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้ กลุ่มโจโจ้ซัง
Chapter9การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้ กลุ่มโจโจ้ซัง
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับฐานข้อมูลและการสืบค้น
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับฐานข้อมูลและการสืบค้นความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับฐานข้อมูลและการสืบค้น
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับฐานข้อมูลและการสืบค้น
 
Chapter 10
Chapter 10Chapter 10
Chapter 10
 
ใบงาน 2-8
ใบงาน 2-8ใบงาน 2-8
ใบงาน 2-8
 
ใบงาน 4
ใบงาน 4ใบงาน 4
ใบงาน 4
 
Ppt ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์
Ppt ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์Ppt ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์
Ppt ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์
 
ผลกระทบเชิงลบของการใช้นวัตกรรม เทคโนโลยี และสารสนเทศที่มีต่อ บุคคล การจัดการ...
ผลกระทบเชิงลบของการใช้นวัตกรรม เทคโนโลยี และสารสนเทศที่มีต่อ บุคคล การจัดการ...ผลกระทบเชิงลบของการใช้นวัตกรรม เทคโนโลยี และสารสนเทศที่มีต่อ บุคคล การจัดการ...
ผลกระทบเชิงลบของการใช้นวัตกรรม เทคโนโลยี และสารสนเทศที่มีต่อ บุคคล การจัดการ...
 
เทคโนโลยี ตอนที่ 2 ป.1 ถึง ป.3
เทคโนโลยี ตอนที่ 2 ป.1 ถึง ป.3เทคโนโลยี ตอนที่ 2 ป.1 ถึง ป.3
เทคโนโลยี ตอนที่ 2 ป.1 ถึง ป.3
 
ผลกระทบเชิงลบ
ผลกระทบเชิงลบผลกระทบเชิงลบ
ผลกระทบเชิงลบ
 
ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...
การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...
การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...
 
ผลกระทบเชิงลบ ICT
ผลกระทบเชิงลบ ICTผลกระทบเชิงลบ ICT
ผลกระทบเชิงลบ ICT
 
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
 
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
 
ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์
ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์
ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์
 
ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์
ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์
ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์
 
ใบงานที่ 1
ใบงานที่ 1ใบงานที่ 1
ใบงานที่ 1
 
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
 
นวัตกรรม เรื่อง ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์
นวัตกรรม เรื่อง ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์นวัตกรรม เรื่อง ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์
นวัตกรรม เรื่อง ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์
 

Similar to เทคโนโลยีสารนเทศทางการศึกษา โดยกลุ่มโจโจ้ซัง

ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่noiiso_M2
 
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1Ailada_oa
 
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่Ailada_oa
 
chapter 6 information technology for learning
chapter 6 information technology for learningchapter 6 information technology for learning
chapter 6 information technology for learningPacharaporn087-3
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ (งานคู่)
โครงงานคอมพิวเตอร์ (งานคู่)โครงงานคอมพิวเตอร์ (งานคู่)
โครงงานคอมพิวเตอร์ (งานคู่)Nothern Eez
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slidesharepaewwaew
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slidesharepaewwaew
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slidesharepaewwaew
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่Noppasorn Boonsena
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11wanneemayss
 
11 170819173826
11 17081917382611 170819173826
11 170819173826gam030
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11benty2443
 

Similar to เทคโนโลยีสารนเทศทางการศึกษา โดยกลุ่มโจโจ้ซัง (20)

ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
 
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่
 
Chapter 7
Chapter 7 Chapter 7
Chapter 7
 
chapter 6 information technology for learning
chapter 6 information technology for learningchapter 6 information technology for learning
chapter 6 information technology for learning
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ (งานคู่)
โครงงานคอมพิวเตอร์ (งานคู่)โครงงานคอมพิวเตอร์ (งานคู่)
โครงงานคอมพิวเตอร์ (งานคู่)
 
ใบงานที่ 4
ใบงานที่ 4ใบงานที่ 4
ใบงานที่ 4
 
Ch 2
Ch 2Ch 2
Ch 2
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
 
project
projectproject
project
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
ใบงานที่ 4 โครงงานประเภท การพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
ใบงานที่ 4 โครงงานประเภท  การพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา ใบงานที่ 4 โครงงานประเภท  การพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
ใบงานที่ 4 โครงงานประเภท การพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
11 170819173826
11 17081917382611 170819173826
11 170819173826
 
11 170819173826
11 17081917382611 170819173826
11 170819173826
 
11 170819173826
11 17081917382611 170819173826
11 170819173826
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
11 170819173826
11 17081917382611 170819173826
11 170819173826
 

เทคโนโลยีสารนเทศทางการศึกษา โดยกลุ่มโจโจ้ซัง

  • 1. โดยกลุ่ม โจโจ้ซัง เสนอ อ.ดร.อนุชา โสมาบุตร รายวิชา 241208 นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
  • 2. สถานการณ์ปัญหา (Problem-based learning) ภายหลังที่รัฐบาลได้จัดการปฏิรูปการศึกษา ซึ่งมีหัวใจสาคัญ อยู่ที่ การยกระดับคุณภาพประชากรของประเทศให้สูงขึ้น คือ ผู้เรียน ทุกคนมี ความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้และถือว่าผู้เรียนมี ความสาคัญที่สุด ที่ต้องส่งเสริมและพัฒนาให้เต็มตามศักยภาพ ฝึก ทักษะ กระบวนการคิด การประยุกต์ความรู้และการแสวงหาความรู้ด้วย ตนเอง สามารถในการคิดวิเคราะห์และริเริ่มสร้างสรรค์มีความสามารถ ในการแก้ปัญหา ตลอดจนรู้จักการทางานเป็นหมู่คณะ โดยกลุ่ม โจโจ้ซัง โดยกลุ่ม โจโจ้ซัง
  • 3. สถานการณ์ปัญหา (Problem-based learning) (ต่อ) มีการนาเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาใช้เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการเรียนรู้ ที่ ผู้เรียนสามารถเข้าถึงได้อย่างหลากหลาย สามารถเรียนได้ทุกที่ทุกเวลา เพื่อที่จะทาให้ผู้เรียนเกิดความรู้ความเข้าใจ และเหมาะสมกับยุคแห่งข้อมูล สารสนเทศที่มีอยู่อย่างมากมาย รวมไปถึงการทาให้การเรียนรู้นั้นเกิด ประสิทธิภาพสูงสุด ทั้งยังเพื่อเป็นการเตรียมพัฒนาผู้เรียน ให้มีคุณลักษณะ ที่เหมาะสมกับสังคมยุคโลกาภิวัตน์ ในฐานะที่ท่านจะเป็นครูพันธุ์ใหม่ ท่าน จะต้องปฏิบัติภารกิจต่อไปนี้ โดยกลุ่ม โจโจ้ซัง
  • 4. ภารกิจที่ 1 วิเคราะห์บทบาทและความสาคัญของ เทคโนโลยีสารสนเทศกับการพัฒนา การศึกษาตามแนวทางปฏิรูปการศึกษา ภารกิจที่ 1 โดยกลุ่ม โจโจ้ซัง
  • 5. ภารกิจที่ 1 1. สร้างโอกาสในการเข้าถึงแหล่งข้อมูล : ผู้เรียนสามารถเข้าถึง แหล่งข้อมูลได้สะดวกและรวดเร็วมากขึ้น ทั้งยังลงทุนต่า ดังนั้นเครือข่าย อินเตอร์เน็ตจึงเป็นสิ่งสาคัญในการเรียนการสอนอย่างยิ่งยวด 2. เกิดระบบการเรียนการสอนทางไกล : ผู้เรียนและผู้สอนสามารถถ ตอบโต้กันได้แม้ว่าจะอยู่ห่างกัน ผู้เรียนสามารถส่งการบ้านทางอินเทอร์เน็ตได้ ครู สามารถตรวจงานให้คะแนนได้ แม้กระทั่งการชี้แนะด้วยไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ (E-mail) หรือใช้ระบบกระดานข่าว (Bulletin Board System) 3. อานวยความสะดวกในการสอน : ครูสามารถเทคโนโลยีสารสนเทศ ในลักษะต่างๆ เพื่อสร้างให้เกิดการเรียนการสอนที่มีประสิทธิภาพ แม่นยา น่าสนใจ และมีความหมายกับผู้เรียน โดยกลุ่ม โจโจ้ซัง
  • 6. ภารกิจที่ 1 4. ทาลายขีดจากัดในเรื่องสถานที่ และเวลา : ผู้เรียนและผู้สอนไม่ จาเป็นต้องมีสถานที่ในการจัดการเรียนการสอน ผู้เรียนสามารถศึกษาเรียนรู้ ด้วยตนเองผ่านอินเตอร์เน็ต โดยผู้สอนจะต้องใช้เทคโนโลยีเพื่อสร้างความรู้ ปฏิสัมพันธ์ คุณลักษณะอันพึ่งประสงค์ และทักษะต่างๆให้เกิดกับผู้เรียนได้ อย่างมีประสิทธิภาพ 5. สามารถจัดการเรียนรู้ได้ตามความแตกต่างของผู้เรียน : ผู้สอน สามารถเลือกใช้ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศให้เหมาะสมกับความแตกต่างระหว่าง บุคคลของผู้เรียน เพื่อให้เกิดการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ และประสบผลสาเร็จ มากที่สุด โดยกลุ่ม โจโจ้ซัง
  • 7. ภารกิจที่ 2 วิเคราะห์หาวิธีการที่จะประยุกต์เทคโนโลยี สารสนเทศมาใช้ในการจัดการเรียนรู้ที่เน้น ผู้เรียนเป็นสาคัญ ภารกิจที่ 2 โดยกลุ่ม โจโจ้ซัง
  • 8. ภารกิจที่ 2 การจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญนั้น จะต้อง คานึงถึงเนื้อหาการเรียนรู้ที่ผู้เรียนเป็นผู้ตัดสินใจเลือกเรียนรู้เอง ตามความสนใจและการมีส่วนร่วมกันในการเรียนรู้โดยยึดตัว ผู้เรียนเป็นหลัก ซึ่งการนาเทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้ในการจัดการ เรียนรู้ที่เน้นผุ้เรียนเป็นสาคัญมีดังนี้ โดยกลุ่ม โจโจ้ซัง
  • 9. ภารกิจที่ 2 1.ตั้งคาถามหรือพูดคุยเกี่ยวเรื่องที่ผู้เรียนชอบ/สนใจ โดยกระตุ้น ความสนใจด้วยสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เช่น video, power point เป็นต้น 2. นาเสนอสถานการณ์ปัญหาหรือภารกิจที่ผู้เรียนต้องอาศัย ทักษะการคิดวิเคราะห์ และมีการเชื่อมโยงกับความรู้เดิม โดยสามารถใช้ เทคโนโลยีต่างๆเข้ามาช่วย เช่น WebQuest, Web-based Learning โดย ผู้สอนจะต้องออกแบบอย่างสร้างสรรค์และมีคุณภาพ 3. ให้ผู้เรียนวิเคราะห์สถานการณ์ปัญหาและค้นหาคาตอบด้วย ตนเองจากแหล่งเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ต่างๆ เช่น Website, Internet, Multimedia เป็นต้น โดยกลุ่ม โจโจ้ซัง
  • 10. ภารกิจที่ 2 4. ให้ผู้เรียนร่วมมือและระดมสมองในการแก้ไขปัญหาเป็นกลุ่ม มี การร่วมมือกันระหว่างสมาชิกในกลุ่ม เพื่อเป็นการแลกเปลี่ยนมุมมองที่ หลากหลาย มีการแสดงความคิดเห็นและยอมรับความคิดเห็นซึ่งกันและกัน ผ่าน ทางเทคโนโลยีเพื่อการสื่อสาร เช่น Social Media, E-mail, Chat room, weblog เป็นต้น 5. ให้ผู้เรียนนาเสนอผลงานกลุ่มของตนเอง และช่วยกันสรุปบทเรียน ทั้งชั้นเรียนที่ได้เรียนรู้มา พร้อมทั้งสะท้อนการเรียนรู้ของตนเอง สะท้อนการคิด ของเพื่อนคนอื่น และนาความรู้ที่ได้เรียนรู้ไปสร้างสรรค์ผลงานใหม่ๆ ต่อยอดไป ยังองค์ความรู้อื่น หรือนาไปใช้ในชีวิตประจาวัน โดยใช้เทคโนโลยีต่างๆเข้ามามี บทบาทในการนาเสนอ เช่น ใช้ Power point ในการนาเสนองาน, บันทึกสิ่งที่ได้ เรียนรู้ใน weblog, สรุปบทเรียนโดยใช้ Imindmap โดยกลุ่ม โจโจ้ซัง
  • 11. ภารกิจที่ 3 ให้ท่านพิจารณาเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการเรียนรู้ ตาม บริบทของโรงเรียนที่กาหนดให้ต่อไปนี้พร้อมทั้ง ให้เหตุผลประกอบการอธิบาย ภารกิจที่ 3 โดยกลุ่ม โจโจ้ซัง
  • 12. 1.โรงเรียนบ้านหนองงูเห่า เป็นโรงเรียนที่อยู่ห่างไกลในถิ่นธุระ กันดาร โรงเรียนมีคอมพิวเตอร์สามเครื่อง มีโทรทัศน์ ไม่มีสัญญาณโทรศัพท์ เนื่องจากสื่อและเทคโนโลยีที่มีไม่เพียงต่อจานวนนักเรียน แนวทางการเลือกใช้เทคโนโลยี การใช้เทคโนโลยีเพื่อส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ให้มีประสิทธิภาพ ครูควรเป็นผู้นาเสนอหัวข้อ/ประเด็นคาถามให้นักเรียนเลือกเรียน โดยใช้ เทคโนโลยี เช่น วีดิทัศน์จากโทรทัศน์หรือคอมพิวเตอร์ (เช่น สารคดี, รายการวิทยาศาสตร์) (หากเกี่ยวกับสิ่งที่อยู่รอบๆตัวนักเรียน อย่างเช่น ธรรมชาติ หรือวิธีการได้มาซึ่งสิ่งหนึ่งๆอย่างเช่นไอน้า จะดีมากเพราะเป็น สิ่งที่นักเรียนสามารถสัมผัสและมองเห็นได้อย่างเป็นรูปธรรม) ภารกิจที่ 3 โดยกลุ่ม โจโจ้ซัง
  • 13. ภารกิจที่ 3 แนวทางการเลือกใช้เทคโนโลยี (ต่อ) จากนั้นให้นักเรียนได้ลงมือแก้ไขปัญหา/เรียนรู้ด้วยการลงมือทา ด้วยตนเอง อาจจะโดยวิธีการทดลองหรือสังเกตจริงๆ จากนั้นให้นักเรียนแต่ ละกลุ่มสรุปเป็นองค์ความรู้โดยใช้โปรแกรมหรือแอพลิเคชั่นในเครื่อง คอมพิวเตอร์ โดยผลัดเปลี่ยนกันทา จากนั้นก็นาเสนอในชั้นเรียนเพื่อสรุป เป็นองค์ความรู้เดียวกัน ซึ่งการจัดการเรียนรู้แบบนี้ครูจะต้องคอยดูแล นักเรียนอย่างใกล้ชิดเพราะนักเรียนต้องลงมือปฏิบัติจริงๆ แต่จะไม่เข้าไป แทรกในกระบวนการคิดของนักเรียน โดยกลุ่ม โจโจ้ซัง
  • 14. ภารกิจที่ 3 2.โรงเรียนมัธยมไฮโซเบตง เป็นโรงเรียนที่ตั้งอยู่ในเมือง มีความพร้อม ทางด้านสื่อ เทคโนโลยี มีห้องคอมพิวเตอร์ มีระบบอินเตอร์เน็ตความเร็วสูง แต่ครู มีไม่เพียงพอเนื่องจากย้ายหนีเหตุการณ์ความไม่สงบ แนวทางการเลือกใช้เทคโนโลยี เนื่องจากจานวนครูมีไม่เพียงพอต่อความต้องการ การศึกษาและเรียนรู้ ด้วยตนเองจึงมีความเหมาะสมมากที่สุด โดยการศึกษาและเรียนรู้ด้วยตนเองนั้น นักเรียนสามารถสืบค้น/ค้นคว้าหาข้อมูลที่นักเรียนต้องการเรียนรู้ได้เลย โดยมีการ ตกลงกันเพื่อหาหัวข้อหรือปัญหาในการเรียนรู้ ซึ่งจะต้องเป็นเรื่องที่เพื่อนๆทุกคน สนใจและอยากเรียนรู้ เพราะโรงเรียนมีความพร้อมในเทคโนโลยีและสื่อ อีกทั้ง นักเรียนยังสามารถระดมสอง/ปรึกษาพูดคุยกันเกี่ยวกับเรื่องที่จะเรียนรู้ผ่านทาง เทคโนโลยีเพื่อการสื่อสาร เช่น social media, chat room เป็นต้น โดยกลุ่ม โจโจ้ซัง
  • 15. แนวทางการเลือกใช้เทคโนโลยี (ต่อ) และนาเสนอผลงานของตนเอง/กลุ่มของตนเอง โดยใช้เทคโนโลยี เช่น power point เป็นต้น และรวบรวมองค์ความรู้จากที่แต่ละกลุ่มได้มาก ให้เป็นองค์ความรู้ที่ตรงกัน ซึ่งอาจจะสรุปโดยการใช้ mind mapping ซึ่ง สามารถสร้างได้โดยแอพลิเคชั่น imindmap ทั้งนี้ ครูจะต้องคอยดูแล นักเรียนอยู่ห่างๆ และเพราะนักเรียนสามารถค้นหาและเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง จากเทคโนโลยีที่มีอยู่ จึงไม่จาเป็นที่จะต้องมีครูคอยควบคุมตลอดเวลา ดังนั้น จานวนครูที่มีน้อยจึงไม่เปนปัญหาต่อการเรียนรู้ของนักเรียน ภารกิจที่ 3 โดยกลุ่ม โจโจ้ซัง
  • 16. จัดทำโดย กลุ่ม โจโจ้ซัง นำงสำวพรรณวิภำ พรพิรุณโรจน์ 563050113-9 นำงสำวรติพร หินคำ 563050125-2 นำงสำววิจิตรำ เทศประสิทธิ์ 563050133-3 นำงสำวอัจฉริยำ เชื้อเพชร 563050408-0 นักศึกษำคณะศึกษำศำสตร์ สำขำวิชำคณิตศำสตรศึกษำ มหำวิทยำลัยขอนแก่น โดยกลุ่ม โจโจ้ซัง