SlideShare a Scribd company logo
1 of 12
Download to read offline
เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
สถานการณ์ปัญหา(Problem-based learning)
ภายหลังที่รัฐบาลได้จัดการปฏิรูปการศึกษา ซึ่งมีหัวใจสาคัญอยู่ที่ "การยกระดับคุณภาพ
ประชากรของประเทศให้สูงขึ้น คือ ผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้และ
ถือว่าผู้เรียนมีความสาคัญที่สุด ที่ต้องส่งเสริมและพัฒนาให้เต็มตามศักยภาพ ฝึกทักษะ
กระบวนการคิด การประยุกต์ความรู้ และการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง สามารถในการคิด
วิเคราะห์ และริเริ่มสร้างสรรค์ มีความสามารถในการแก้ปัญหา ตลอดจนรู้จักการทางานเป็นหมู่
คณะ มีการนาเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาใช้เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการเรียนรู้ ที่ผู้เรียนสามารถ
เข้าถึงได้อย่างหลากหลาย สามารถเรียนได้ทุกที่ทุกเวลา เพื่อที่จะทาให้ผู้เรียนเกิดความรู้ความ
เข้าใจ และเหมาะสมกับยุคแห่งข้อมูลสารสนเทศที่มีอยู่อย่างมากมาย รวมไปถึงการทาให้การ
เรียนรู้นั้นเกิดประสิทธิภาพสูงสุด ทั้งยังเพื่อเป็นการเตรียมพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะที่
เหมาะสมกับสังคมยุคโลกาภิวัตน์
ในฐานะที่ท่านจะเป็นครูพันธุ์ใหม่ ท่านจะต้องปฏิบัติภารกิจต่อไปนี้
ภารกิจ
1. วิเคราะห์บทบาทและความสาคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศกับการพัฒนา
การศึกษาตามแนวทางปฏิรูปการศึกษา
ปัจจุบันการศึกษาของประเทศเราเน้นการจัดการ
เรียนการสอนแบบเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญโดยการให้ผู้เรียนเป็น
ผู้สร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง และเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้เข้าถึง
แหล่งข้อมูลและแหล่งความรู้ได้ด้วยตนเองมากขึ้น ดังนั้นการ
ปฏิรูปการศึกษาจึงต้องใช้ระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเข้ามามี
บทบาทในการจัดการเรียนรู้หรืออาจกล่าวได้ว่า เทคโนโลยี
สารสนเทศมีบทบาททางด้านการศึกษา เช่น มีโปรแกรม
คอมพิวเตอร์ช่วยสอน ซอร์ฟแวร์สื่อการสอน อินเตอร์เน็ต
(Internet) เป็นต้น
นอกจากนี้เทคโนโลยีที่เข้ามาสนับสนุนการ
จัดการศึกษาในการจัดการศึกษาสมัยใหม่จาเป็นต้อง
อาศัยข้อมูลข่าวสารเพื่อการวางแผนการดาเนินการ
การติดตามและประเมินผลคอมพิวเตอร์และระบบสื่อสาร
โทรคมนาคมเข้ามามีบทบาทที่สาคัญในเรื่องนี้และ
เทคโนโลยีที่เข้ามาช่วยให้การสื่อสารระหว่างบุคคล
ทางด้านการศึกษาจาเป็นต้องอาศัยการสื่อสารระหว่าง
ผู้สอนกับผู้เรียน ผู้เรียนกับผู้เรียน เป็นต้น ซึ่งจะช่วย
เพิ่มประสิทธิภาพในกระบวนการเรียนการสอน และ
การดาเนินงานในหลายด้านโดยอาศัยเทคโนโลยีการ
สื่อสาร เช่น การใช้โทรศัพท์ โทรสาร เทเลคอนเฟอ
เรนส์ และไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ เป็นต้น
2. วิเคราะห์หาวิธีการที่จะประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการจัดการ
เรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ
การเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง โดยอันดับแรกผู้ที่เป็นครูจะต้องเข้าใจในบทบาท
หน้าที่ที่ตนเองจะต้องทาซึ่งจะไม่ใช่ผู้ที่ทาหน้าที่ถ่ายทอดความรู้เพียงอย่างเดียวเหมือนเช่นเดิม แต่
ต้องเป็นผู้ที่สามารถจัดการสอนเพื่อให้ผู้เรียนสามารถเกิดทักษะ และสร้างองค์ความรู้ใหม่ขึ้นมาได้
ด้วยตัวของผู้เรียนเอง ซึ่งผู้เรียนเองก็จะไม่ได้มีหน้าที่เพียงแต่เป็นผู้รับความรู้จากครูอีกต่อไป
เนื่องจากผู้เรียนจะต้องคิด ค้นคว้าเสาะหาความรู้เพิ่มเติมด้วยตนเองอยู่เสมอ ซึ่งผู้เรียนจาเป็นต้อง
มีแหล่งการเรียนรู้ที่เปิดกว้างเป็นอย่างมาก และเทคโนโลยีสารสนเทศก็เป็นคาตอบที่เหมาะสม
ที่สุดในการค้นคว้าศึกษาด้วยตนเองอย่างไร้ขีดจากัด ซึ่งผู้เรียนจะได้รับความสะดวกรวดเร็วในการ
ค้นคว้า ดังนั้นในยุคการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญการนาเทคโนโลยีสารสนเทศมา
ช่วยจะช่วยได้มาก รวมไปถึงการใช้ระบบอินเทอร์เน็ตเข้ามาช่วยการจัดการเรียนรู้
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศทาให้เกิดระบบการเรียน
การสอนทางไกล ซึ่งผู้เรียนและผู้สอนสามารถตอบโต้กันได้
แม้ว่าจะอยู่ห่างกันผู้เรียนสามารถส่งการบ้านทางอินเทอร์เน็ต
ได้ครูสามารถตรวจงานให้ คะแนนได้แม้กระทั่งการชี้แนะ
ด้วยไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ ( E-mail) หรือใช้ระบบ
กระดานข่าว (Bulletin Board System) จะช่วย
พัฒนาการเรียนรู้และอานวยความสะดวกในด้านการสอน
และแหล่งการเรียนรู้ ได้ ตลอดเวลา ไม่มีข้อจากัดในด้าน
สถานที่ การสอนโดยใช้ ระบบสารสนเทศจะจัดการเรียนรู้
ได้ ตามความแตกต่างของผู้เรียน ระบบการเรียนรู้ ที่ใช้
ในด้านการศึกษามี หลายระบบ เช่น e-learning,
e – Book, e –Library และ e – Classroom
การจัดการเรียนรู้ โดยใช้ เทคโนโลยี และสารสนเทศในการเรียนรู้ เป็นการเปิด
โอกาสทางการศึกษาที่ทาให้เกิดการเรียนรู้โดยไม่มีข้อจากัดในประเด็นต่าง ๆ ซึ่งผู้เรียน
สามารถจะจัดสรร เวลาในการค้นคว้าศึกษาเพิ่มเติมในเรื่องที่ตนเองสนใจได้ที่นอกเหนือจาก
เนื้อหาในการเรียนได้อีกด้วย
3. ให้ท่านพิจารณาเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการเรียนรู้ ตาม
บริบทของโรงเรียนที่กาหนดให้ต่อไปนี้ พร้อมทั้งให้เหตุผลประกอบการอธิบาย
โรงเรียนบ้านหนองงูเห่า เป็นโรงเรียนที่อยู่ห่างไกลในถิ่นธุระกันดาร โรงเรียนมี
คอมพิวเตอร์สามเครื่อง มีโทรทัศน์ ไม่มีสัญญาณโทรศัพท์
โรงเรียนมัธยมไฮโซเบตง เป็นโรงเรียนที่ตั้งอยู่ในเมือง มีความพร้อมทางด้านสื่อ
เทคโนโลยี มีห้องคอมพิวเตอร์ มีระบบอินเตอร์เน็ตความเร็วสูง แต่ครูมีไม่เพียงพอเนื่องจาก
ย้ายหนีเหตุการณ์ความไม่สงบ
โรงเรียนบ้านหนองงูเห่า เป็นโรงเรียนที่อยู่ห่างไกลในถิ่นธุระกันดาร โรงเรียนมี
คอมพิวเตอร์สามเครื่อง มีโทรทัศน์ ไม่มีสัญญาณโทรศัพท์
สถานการณ์ปัญหา
แหล่งการเรียนรู้
+ จัดพิมพ์ใน
รูปแบบ
ดิจิตอล
โรงเรียนบ้านหนองครูเห่า อยู่ห่างไกล มีคอมพิวเตอร์สามเครื่อง มีโทรทัศน์ และไม่มีสัญญาณโทรศัพท์ ดังนั้นจึงควร
เลือกใช้สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ ซึ่งประกอบด้วยสถานการณ์ปัญหาที่กระตุ้นให้ผู้เรียนเรียนรู้ แหล่งการเรียนรู้ชนิด
ต่างๆ มีฐานการช่วยเหลือไว้คอยสนับสนุนผู้เรียนในกรณีที่ไม่สามารถแก้ปัญหาได้ และหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เป็น
หนังสือถูกนามาจัดพิมพ์ในรูปแบบดิจิตอล ไม่บังคับการพิมพ์ และการเข้าเล่ม แผ่นซีดีรอมสามารถจัดเก็บข้อมูลได้
จานวนมากในรูปแบบของตัวอักษร ทั้งลักษณะภาพ ดิจิตอล ภาพอนิเมชั่น วิดีโอ ภาพเคลื่อนไหวต่อเนื่อง คาพูด
เสียงดนตรี และเสียง
สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้
(Learning environment)
หนังสืออิเล็กทรอนิกส์
(E-books)
+
ควรใช้
เนื่องจาก
โรงเรียนมัธยมไฮโซเบตง เป็นโรงเรียนที่ตั้งอยู่ในเมือง มีความพร้อมทางด้านสื่อ เทคโนโลยี
มีห้องคอมพิวเตอร์ มีระบบอินเตอร์เน็ตความเร็วสูง แต่ครูมีไม่เพียงพอเนื่องจากย้ายหนี
เหตุการณ์ความไม่สงบ
ควรใช้
+
เนื่องจาก
การเรียนรู้แบบออนไลน์
(E-learning)
แผนการจัดการเรียนรู้+
โรงเรียนมัธยม”ไฮโซเบตง มีความพร้อมทางด้านสื่อ มีห้องคอมพิวเตอร์ มีระบบอินเตอร์เน็ตความเร็วสูง แต่มีครูไม่
เพียงพอ ควรใช้การเรียนรู้แบบออนไลน์ เพราะการเรียนแบบนี้สามารถเรียนรู้ได้ทุกที่ทุกเวลา ครูไม่จาเป็นต้อง
สอนในห้องเรียนแต่สอนผ่านทางออนไลน์ และแผนการจัดการเรียนรู้ ซึ่งยึดหลักการบูรณาการที่เน้นผู้เรียนเป็น
สาคัญโดยใช้เทคโนโลยีเข้ามาสางเสริม สนับสนุนและพัฒนาศักยภาพการเรียนรู้ของผู้เรียน
-เนื้อหาของ
บทเรียน
-ระบบบริการ
การเรียน
- การ
ติดต่อสื่อสาร
การบูรณาการ
เทคโนโลยี
สารสนเทศ
สมาชิก
นางสาวชนาทิพย์ นครังสุ รหัสนักศึกษา 553050065-3
นางสาววิภารัตน์ ขานเกตุ รหัสนักศึกษา 553050099-6
นางสาวช่อผกา นาค-อก รหัสนักศึกษา 553050281-7
นายณรงค์ฤทธิ์ บัวใหญ่ รหัสนักศึกษา 553050283-3
รายวิชา 241203 Innovation and information
technology for learning section 2

More Related Content

What's hot

Chapter 06
Chapter 06Chapter 06
Chapter 06ukbass13
 
Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาChapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาPan Kannapat Hengsawat
 
บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาบทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาB'nust Thaporn
 
Chapter 6 (INTRODUCTION TECHNOLOGIES AND EDUCATIONAL MEDIA)
Chapter 6 (INTRODUCTION TECHNOLOGIES AND EDUCATIONAL MEDIA)Chapter 6 (INTRODUCTION TECHNOLOGIES AND EDUCATIONAL MEDIA)
Chapter 6 (INTRODUCTION TECHNOLOGIES AND EDUCATIONAL MEDIA)Jutharat_thangsattayawiroon
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารThamonwan Kottapan
 
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้Pypaly Pypid
 
Chapter6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
Chapter6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้Chapter6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
Chapter6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้Prakaidao Suebwong
 
Chapter 6 new
Chapter 6 newChapter 6 new
Chapter 6 newboomakung
 
Technology for leanong by math ed kku sec2
Technology for leanong by math ed kku sec2Technology for leanong by math ed kku sec2
Technology for leanong by math ed kku sec2chatruedi
 

What's hot (16)

Chapter 06
Chapter 06Chapter 06
Chapter 06
 
Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาChapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
 
บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาบทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
 
Chapter 6
Chapter 6Chapter 6
Chapter 6
 
Chapter 6 (INTRODUCTION TECHNOLOGIES AND EDUCATIONAL MEDIA)
Chapter 6 (INTRODUCTION TECHNOLOGIES AND EDUCATIONAL MEDIA)Chapter 6 (INTRODUCTION TECHNOLOGIES AND EDUCATIONAL MEDIA)
Chapter 6 (INTRODUCTION TECHNOLOGIES AND EDUCATIONAL MEDIA)
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
 
Chapter 6
Chapter 6Chapter 6
Chapter 6
 
Chapter 6
Chapter 6Chapter 6
Chapter 6
 
Chapter 6
Chapter 6Chapter 6
Chapter 6
 
Chapter6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
Chapter6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้Chapter6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
Chapter6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
 
Chapter 6 new
Chapter 6 newChapter 6 new
Chapter 6 new
 
Chapter 6
Chapter 6Chapter 6
Chapter 6
 
Innovation chapter 6
Innovation chapter 6Innovation chapter 6
Innovation chapter 6
 
บทท 6
บทท   6บทท   6
บทท 6
 
Technology for leanong by math ed kku sec2
Technology for leanong by math ed kku sec2Technology for leanong by math ed kku sec2
Technology for leanong by math ed kku sec2
 

Similar to บทท 6

Chapter 6
Chapter 6Chapter 6
Chapter 6Zhao Er
 
Powerpoint6
Powerpoint6Powerpoint6
Powerpoint6tross999
 
เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาSattakamon
 
powerpoint บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อกาารเรียนรู้
powerpoint บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อกาารเรียนรู้powerpoint บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อกาารเรียนรู้
powerpoint บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อกาารเรียนรู้Kanatip Sriwarom
 
เทคโนโลย สารสนเทศเพ _อการเร_ยนร__
เทคโนโลย สารสนเทศเพ _อการเร_ยนร__เทคโนโลย สารสนเทศเพ _อการเร_ยนร__
เทคโนโลย สารสนเทศเพ _อการเร_ยนร__Chanaaun Ying
 
Introduction to technologies and educational media
Introduction to technologies  and  educational mediaIntroduction to technologies  and  educational media
Introduction to technologies and educational mediapompompam
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6Pari Za
 
งานกลุ่ม Chapter 6
งานกลุ่ม Chapter 6งานกลุ่ม Chapter 6
งานกลุ่ม Chapter 6Pronsawan Petklub
 

Similar to บทท 6 (16)

Chapter 6
Chapter 6Chapter 6
Chapter 6
 
Chapter 6
Chapter 6Chapter 6
Chapter 6
 
Chapter 6
Chapter 6Chapter 6
Chapter 6
 
Powerpoint6
Powerpoint6Powerpoint6
Powerpoint6
 
บทท 6..
บทท  6..บทท  6..
บทท 6..
 
เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
 
powerpoint บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อกาารเรียนรู้
powerpoint บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อกาารเรียนรู้powerpoint บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อกาารเรียนรู้
powerpoint บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อกาารเรียนรู้
 
Chapter6
Chapter6Chapter6
Chapter6
 
เทคโนโลย สารสนเทศเพ _อการเร_ยนร__
เทคโนโลย สารสนเทศเพ _อการเร_ยนร__เทคโนโลย สารสนเทศเพ _อการเร_ยนร__
เทคโนโลย สารสนเทศเพ _อการเร_ยนร__
 
Introduction to technologies and educational media
Introduction to technologies  and  educational mediaIntroduction to technologies  and  educational media
Introduction to technologies and educational media
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
 
แบบนำเสนอผลงานวิชาการ
แบบนำเสนอผลงานวิชาการแบบนำเสนอผลงานวิชาการ
แบบนำเสนอผลงานวิชาการ
 
Ch6 cognitive weapons 201700
Ch6 cognitive weapons 201700Ch6 cognitive weapons 201700
Ch6 cognitive weapons 201700
 
งานกลุ่ม Chapter 6
งานกลุ่ม Chapter 6งานกลุ่ม Chapter 6
งานกลุ่ม Chapter 6
 
Chapter6
Chapter6Chapter6
Chapter6
 
แบบนำเสนอผลงานวิชาการ
แบบนำเสนอผลงานวิชาการแบบนำเสนอผลงานวิชาการ
แบบนำเสนอผลงานวิชาการ
 

More from Dexdum Ch

Chapter 8การผลิต สื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
Chapter 8การผลิต สื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอนChapter 8การผลิต สื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
Chapter 8การผลิต สื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอนDexdum Ch
 
นว ตกรรมมมม
นว ตกรรมมมมนว ตกรรมมมม
นว ตกรรมมมมDexdum Ch
 

More from Dexdum Ch (7)

Chapter 10
Chapter 10Chapter 10
Chapter 10
 
Chapter 8การผลิต สื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
Chapter 8การผลิต สื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอนChapter 8การผลิต สื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
Chapter 8การผลิต สื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
 
Chapter7
Chapter7 Chapter7
Chapter7
 
Chapter 5
Chapter 5Chapter 5
Chapter 5
 
Single dad
Single dadSingle dad
Single dad
 
Chapter 3
Chapter 3Chapter 3
Chapter 3
 
นว ตกรรมมมม
นว ตกรรมมมมนว ตกรรมมมม
นว ตกรรมมมม
 

บทท 6