SlideShare a Scribd company logo
1 of 6
Download to read offline
การพัฒนาการเรียนการสอนผ่านเทคโนโลยี DLIT และโซเชียลมีเดีย
การจัดการเรียนการสอนรายวิชาคอมพิวเตอร์ในปัจจุบัน มุ่งให้นักเรียนมีความรู้และทักษะขั้นพื้นฐาน
เกี่ยวกับการใช้งานและบริการต่าง ๆ ที่มีอยู่บนอินเทอร์เน็ต มีความรู้และทักษะการใช้บริการสื่อออนไลน์ต่าง
ๆ และเพื่อให้มีจิตสานึกรับผิดชอบต่อสังคมในการใช้งานสื่อออนไลน์ การใช้ Social Media และเทคโนโลยี
เพื่อการเรียนรู้ เป็นการมุ่งเน้นเพื่อสร้างความหลากหลาย และสร้างพัฒนาการขบวนการเรียนรู้สาหรับช่วยใน
การเรียนการสอน เนื่องจากคอมพิวเตอร์เข้ามามีบทบาทในการใช้งานที่หลากหลายในชีวิตประจาวันของแต่ละ
บุคคล ดังนั้นการเรียนรู้และการมีความรู้ในพื้นฐานเดิมของแต่ละบุคคลจึงต่างกัน การรับรู้หรือความเข้าใจใน
การเรียนจึงมีความหลากหลายและแตกต่างกัน
ในปีการศึกษา 2558 นี้ได้มีการสนับสนุนโครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาด้วยเทคโนโลยี
สารสนเทศ (DLIT) จากโครงการนี้ได้มีการสนับสนุนการเรียนการสอนทั้งด้าน Software Hardware
Peopleware และ Data ภาคเอกชนเข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนากิจกรรมการเรียนการสอนในโครงการนี้
เช่น บริษัท กูเกิ้ล ประเทศไทย (Google App for education) บริษัทไมโครซอฟต์ประเทศไทย (Office 365
for education) บริษัทแอบเปิ้ล ประเทศไทย (iTunes U) ซึ่งสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ Digital Economy
ของรัฐบาลปัจจุบันกิจกรรมการเรียนการสอนได้รับการสนับสนุนให้ใช้สื่อที่ทันสมัยนั้นเกิดกิจกรรมการเรียน
การสอนขึ้นทั้งในรูปแบบออนไลน์และในรูปแบบออฟไลน์ จึง ทาให้กิจกรรมการเรียนการสอนในปีนี้เริ่มมีเค้า
โครงการเข้าสู่การเรียนรู้ในรูปแบบออนไลน์มากขึ้น บทบาทในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนของครูในชั้น
เรียนจึงควรมีความหลากหลายสามารถเชื่อมต่อการเรียนรู้กับส่วนอื่น มีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล มี
ความเป็นไปได้ มีความเหมาะสม มีความถูกต้อง เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด
การเรียนรู้ในปัจจุบันไม่ได้เกิดขึ้นเฉพาะในชั้นเรียนอีกต่อไป นักเรียนเรียนสามารถเรียนรู้ได้ทั้งที่
โรงเรียน ที่บ้านและทุกที่ที่ต้องการเรียนรู้ แต่การเรียนรู้นั้นต้องเกิดในระดับบุคคลก่อนจึงจะเกิดการเรียนรู้
ระดับกลุ่ม และระดับองค์กร การแลกเปลี่ยนเรียนรู้เหล่านี้เกิดจากการใช้บริการที่มีอยู่บนอินเทอร์เน็ตมี
มากมายหลากหลายไม่ว่าจะเป็นบริการ Social media หรือสังคมการสื่อสารในรูปแบบออนไลน์ต่างๆ เช่น
Facebook , Blog , Office365 , Google App for Education E-mail เป็นต้น เป็นสื่อและบริการ
เพื่อให้นักเรียนสามารถถามตอบและศึกษาเพิ่มเติมได้ตลอดเวลา การจัดการเรียนการสอนจึงเป็นการมุ่งเน้น
เพื่อให้นักเรียนที่เรียนไม่ทันหรือไม่เข้าใจในบทเรียนสามารถเรียนรู้เพิ่มเติมหรือศึกษาเพื่อทาความเข้าใจก่อน
เข้าชั้นเรียน ซึ่งเป็นการสร้างการเรียนรู้และปรับระดับการเรียนรู้ที่มีความแตกต่างของนักเรียนแต่ละคน ให้
สามารถเรียนรู้และเข้าใจในบทเรียนให้อยู่ในระดับเดียวหรือใกล้เคียงกันมากที่สุดและเป็นการพัฒนาการเรียน
การสอนให้มีประสิทธิภาพมากที่สุด
เนื่องจากลักษณะการเรียนการสอนของวิชาสื่อสังคมออนไลน์ รหัส ง30249 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 นั้น
นักเรียนต้องเรียนรู้ผ่านเครื่องคอมพิวเตอร์ ผู้วิจัยจึงนาอินเทอร์เน็ตมาเป็นสื่อในการเรียนของผู้เรียน กล่าวคือ
อินเทอร์เน็ตเป็นเสมือนเครื่องมือสื่อสารที่เชื่อมให้สามารถติดต่อกันได้ทุกที่ ทุกเวลา ทางการศึกษาเองก็
เช่นกัน ผู้สอนสามารถพัฒนาทักษะต่างๆ ของผู้ เรียนผ่านทางอินเทอร์เน็ตโดยการประยุกต์ใช้ไซต์ (Sites) ทา
เป็นบทเรียนออนไลน์แบบเปิด และทางานร่วมกับบริการอื่น ๆ ที่มีอยู่บนอินเทอร์เน็ตเช่น Google Drive,
Google Doc และ Google รูปภาพ เป็นต้น ซึ่งเป็นบริการที่ให้สามารถใช้งานได้ฟรีของ Google เพียงแค่มี
อีเมล์ของ Gmail เท่านั้น และในตัวไซต์ (Sites) เอง ก็มีช่องทางในการสื่อสารหลายช่องทางที่ให้นักเรียนและ
ครูผู้สอนสามารถใช้ติดต่อสื่อสารกัน ตลอดจนเป็นการเปิดโอกาสให้นักเรียนได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้และแสดง
ความคิดเห็นอันจะส่งผลให้การเรียนการสอนสามารถบรรลุวัตถุประสงค์ของรายวิชาได้อย่างสมบูรณ์มากขึ้น
2. จุดประสงค์และเป้าหมายของการดาเนินงาน
จากเอกลักษณ์ของโรงเรียนที่ว่า “ใช้ไอซีทีเป็น ดีเด่นรักษ์สิ่งแวดล้อม” โรงเรียนนามนพิทยาคม จึง
ได้มีนโยบายการบริหารโรงเรียนโดยเน้นการพัฒนาศักยภาพของผู้เรียน ในด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการ
สื่อสาร ส่งเสริมคณะครูในการผลิตสื่อการเรียนการสอนต่าง ๆ ให้ผู้เรียนสามารถเข้าถึงแหล่งความรู้ได้อย่าง
เท่าเทียม อีกทั้งยังสามารถนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ICT) มาช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการ
เรียนการสอน ดังต่อไปนี้
1. พัฒนาบทเรียนออนไลน์ โดยประยุกต์ใช้เทคโนโลยี DLIT
2. เพิ่มช่องทางในการเรียนรู้ให้กับผู้เรียน
3. ลดปัญหาการเรียนไม่ทัน โดยผู้เรียนสามารถศึกษาเพิ่มเติมเองได้จากบล็อกและบทเรียนออนไลน์
4. ผู้เรียนรู้จักใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (SocialMedia) ให้เกิดประโยชน์ได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม
3. กระบวนการผลิตผลงาน หรือขั้นตอนการดาเนินงาน
มีขั้นตอนการสร้างและพัฒนาดังนี้
ขั้นเตรียมการ (Plan)
1) ศึกษาวิเคราะห์หลักสูตรแกนกลาง ตัวชี้วัด และ สาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้
การงานอาชีพและเทคโนโลยี ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
2) วิเคราะห์ผู้เรียน โดยใช้แบบสอบถามและแบบทดสอบความรู้และทักษะทางด้านคอมพิวเตอร์
3) วิเคราะห์สภาพปัญหา จาก
(1) บันทึกหลังแผนการจัดการเรียนรู้
(2) ศึกษาและเข้าอบรมวิธีการสร้างและออกแบบจัดกิจกรรมการเรียนการสอนผ่านบล็อก ไซต์
และบทเรียนออนไลน์
ขั้นดาเนินการ (DO)
1) จัดทาเว็บบล็อก ไซต์ และบทเรียนออนไลน์ขึ้นมาใช้สอนในหน่วยการเรียนตลอดภาคเรียน
2) จัดทาแผนการจัดการเรียนรู้
3) จัดกระบวนการเรียนรู้ด้วยเว็บบล็อก ไซต์ และบทเรียนออนไลน์
ขั้นการตรวจสอบประเมินผล ( Check )
1) ใช้แบบทดสอบก่อนเรียน หลังเรียน และคาถามหลังกิจกรรม
2) ประเมินจากการปฏิบัติกิจกรรม
3) ประเมินผลการเรียนรู้โดยใช้แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
4) ประเมินผลการจัดการเรียนรู้ด้วยแบบสอบถามวัดความพึงพอใจการใช้บล็อกเพื่อการเรียนรู้
ขั้นการปรับปรุงพัฒนา (Action)
1) ปรับปรุงนวัตกรรมให้เนื้อหามีความเหมาะสมและเป็นปัจจุบันมากขึ้น
2) ปรับปรุงนวัตกรรมให้สอดคล้องกับ มาตรฐาน ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
3) นาข้อเสนอแนะในการนาไปใช้และการศึกษาค้นคว้าครั้งต่อไปจากนวัตกรรมเดิมไปพัฒนา
4) ปรับปรุงพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้ โดยนาข้อเสนอแนะและข้อควรปรับปรุงพัฒนาให้
สอดคล้องกับนวัตกรรมที่ปรับปรุง
5) ขยายเครือข่ายและจัดทาโครงงานบูรณาการข้ามกลุ่มสาระการเรียนรู้และขยายสู่ภายนอก
4. ผลการดาเนินงาน
1. นักเรียนมีความพึงพอใจต่อสื่อการสอนและบทเรียนออนไลน์ โดยใช้โดยประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสา
สรสนเทศ (DLIT) รายวิชา สื่อสังคมออนไลน์ รหัส ง30249 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ในระดับมาก
2. ผู้เรียนมีความรู้ความสามารถในการใช้ Social Media และเทคโนโลยี DLIT มากขึ้น
3. ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจใช้เทคโนโลยี ในการแสวงหาความรู้ และสร้างสรรค์ชิ้นงานออกมาได้
อย่างถูกต้องและเหมาะสม
4. โรงเรียนมีสื่อการเรียน และแหล่งเรียนรู้ที่สามารถเรียนรู้ได้ตลอดเวลา
5. ผู้เรียนสามารถนาความรู้ที่ได้ เข้าร่วมแข่งขันทักษะทางด้านคอมพิวเตอร์ในระดับต่าง ๆ
5. ปัจจัยความสาเร็จ
- ผู้เรียนมีความสนใจ ตั้งใจให้ความร่วมมือในการเรียนรู้
- โรงเรียนมีนโยบายสนับสนุนกิจกรรมการพัฒนาด้านไอซีที แก่ครูผู้สอน และแก่ผู้เรียนอย่างชัดเจน
- การจัดการเรียนรู้โดยใช้เว็บบล็อก เป็นกิจกรรมที่ผู้เรียนและผู้สอนสามารถโต้ตอบกันได้ ผ่านสื่อ
ออนไลน์ผู้เรียนเกิดความสนใจและใฝ่รู้
- จัดกิจกรรมส่งเสริมเพิ่มขีดความสามารถโดยส่งประกวด แข่งขันในระดับเขตพื้นที่การศึกษา ระดับ
ภาค และร่วมประกวดในระดับสูงนอกสถานที่ เพื่อกระตุ้นให้ผู้เรียนสนใจมากยิ่งขึ้น
- ใช้หลักการจัดกิจกรรมแบบมีส่วนร่วม โดยอาศัยความร่วมมือของผู้บริหาร ครู นักเรียน ผู้ปกครอง
และ ชุมชนหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
- ได้รับความอนุเคราะห์จาก สพม. 24 ให้เข้าร่วมอบรมรับความรู้ DLIT รุ่น Train the Trainner
- ได้รับความอนุเคราะห์จากท่านผู้อานวยการโรงเรียนนามนพิทยาคมในการบริหารจัดการระบบ
สัญญาณอินเทอร์เน็ตมาใช้ในการจัดการเรียนการสอน
- ได้รับความช่วยเหลือจากเครือข่ายครูผู้สอนคอมพิวเตอร์จังหวัดกาฬสินธุ์ในการตรวจสอบเครื่องมือ
- ได้รับความอนุเคราะห์จาก ครูอภิวัฒน์ วงศ์กัณหา ครูโรงเรียนหกสิบพรรษาวิทยาคมอุบลราชธานี
จังหวัดอุบลราชธานี ในการให้คาปรึกษาในการออกแบบ Theme ของ Googlesite
- ได้รับความอนุเคราะห์จาก ครูนรินทร์ อนงค์ชัย ครูโรงเรียนเทพอุดมวิทยา จังหวัดสุรินทร์ ในการ
ให้คาปรึกษาในการใช้เครื่องมือ (App) จาก Google
6. บทเรียนที่ได้รับ
ข้อสรุปที่ได้รับ
1) กิจกรรมการเรียนรู้ผ่านเว็บบล็อก เป็นกิจกรรมที่ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการเรียนรู้ โดยสามารถศึกษา
ได้เอง หากไม่เข้าใจก็ยังสามารถสอบถามครูผู้สอนผ่าน Social Media หรือช่องทางหลาย ๆ ช่องทาง โดย
กิจกรรมการเรียนรู้มุ่งส่งเสริมและพัฒนากระบวนการคิดวิเคราะห์ให้กับผู้เรียน ในการศึกษาหาความรู้ ความ
จริงจนได้ข้อสรุป เป็นองค์ความรู้ใหม่ และส่งผลออกมาเป็นผลงานเชิงสร้างสรรค์ พัฒนาเป็นความรู้ที่คงทน
ตลอดไป
2) นักเรียนมีมีเจตคติที่ดีต่อคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยี
3) ประยุกต์ความรู้สู่การแข่งขันทักษะด้านคอมพิวเตอร์ และการพัฒนาเว็บบล็อกจนได้รับรางวัล
ระดับเขตพื้นที่การศึกษา ระดับภาค และระดับประเทศ
ข้อควรระวังในการนาไปใช้
1) ควรมีข้อตกลงในการเรียนรู้ระหว่างครูผู้สอนและผู้เรียน เพื่อให้การเรียนรู้ดาเนินไปได้ตามขั้นตอน
2) ครูผู้สอนต้องอธิบายการเรียนรู้โดยใช้เว็บบล็อกให้ผู้เรียนเข้าใจขั้นตอน อย่างละเอียด
3) การนาสื่อไปใช้ ควรมีคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์เชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตที่มีความเสถียร
4) ควรศึกษาผลกระทบด้านลบจากการใช้สื่อบทเรียนออนไลน์
7. การเผยแพร่/การได้รับการยอมรับ/รางวัลที่ได้รับ
การเผยแพร่
- เผยแพร่ผลงานในการประกวด OBEC Awards ระดับภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กลุ่มสาระการ
เรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา
- เผยแพร่ผลงานในการประกวด OBEC Awards ระดับชาติ กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและ
เทคโนโลยี ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา
- เผยแพร่ในการอบรมขยายผล DLIT ในระดับสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 24
- เผยแพร่ในการอบรมยกระดับผลสัมฤทธิ์ แก่ครูในโรงเรียนสังกัดสหวิทยาเขตพลังผึ้ง ปี 2558
- เผยแพร่ในการอบรมยกระดับผลสัมฤทธิ์ 5 กลุ่มสาระการเรียนรู้ แก่ครูในโรงเรียนสังกัด สพม.24 ปี
2560
การเผยแพร่ผ่านสื่อสังคมออนไลน์
- http://combasicnpk.wordpress.com
- http://comkrutae.wordpress.com
- http://www.facebook.com/krutae
- https://www.youtube.com/user/krutae123
- http://www.namonpit.ac.th
รางวัลที่ได้รับ
1) ได้รับรางวัล ครูดีในดวงใจ จากสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ครั้งที่ 13 ปี 2559
2) ได้รับรางวัล ชนะเลิศ การประกวดสื่อการเรียนการสอนด้าน ICT ประเภท BLOG ระดับชาติ จาก
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปี 2559
3) ได้รับรางวัล ครูผู้ทาคุณประโยชน์ทางด้านการศึกษา จากสานักงานคณะกรรมการ สกสค. ปี 2559
4) ได้รับรางวัล เกียรติบัตร ระดับเหรียญเงิน ระดับชาติ ครูผู้สอนยอดเยี่ยม นวัตกรรมและเทคโนโลยี
เพื่อการเรียนการสอน (OBEC AWARDS) ปี 2559
5) ได้รับรางวัล เกียรติบัตร ระดับเหรียญเงิน ระดับชาติ ครูผู้สอนยอดเยี่ยม นวัตกรรมและเทคโนโลยี
เพื่อการเรียนการสอน (OBEC AWARDS) ปี 2558
6) ได้รับรางวัล เกียรติบัตร ระดับเหรียญทองชนะเลิศ ระดับภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ครูผู้สอนยอด
เยี่ยม ด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อการเรียนการสอน (OBEC AWARDS) จังหวัดบึงกาฬ ปี 2559
7) ได้รับรางวัล เกียรติบัตร ระดับเหรียญทองชนะเลิศ ระดับภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ครูผู้สอนยอด
เยี่ยม ด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อการเรียนการสอน (OBEC AWARDS) จังหวัดสุรินทร์ ปี 2558
8) ได้รับรางวัล รองชนะเลิศอันดับ 1 การประกวด Best Practice โรงเรียนในฝัน ระดับภาค
ตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน จากสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปี 2559
9) ได้รับรางวัล Thailand Social Media Awards 2013 ระดับประเทศ จาก สานักงาน
คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ในการประกวดเว็บบล็อกเพื่อการศึกษา ปี 2556
10) ได้รับคัดเลือก เป็นครูผู้นาด้านนวัตกรรมด้านการเรียนการสอน ระดับภูมิภาค โครงการ
Thailand Innovative Teacher Leadership Award 2016
11) ได้รับรางวัล เกียรติบัตร ระดับเหรียญทอง ครูผู้สอนยอดเยี่ยม ด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อ
การเรียนการสอน (OBEC AWARDS) ระดับภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ณ จังหวัดนครพนม ปี 2556

More Related Content

What's hot

การประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศกับการศึกษา
การประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศกับการศึกษา การประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศกับการศึกษา
การประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศกับการศึกษา วีรวัฒน์ สว่างแสง
 
บทที่6เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่6เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้บทที่6เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่6เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้Nichaya100376
 
เทคโนโลยีสารนเทศทางการศึกษา โดยกลุ่มโจโจ้ซัง
เทคโนโลยีสารนเทศทางการศึกษา โดยกลุ่มโจโจ้ซังเทคโนโลยีสารนเทศทางการศึกษา โดยกลุ่มโจโจ้ซัง
เทคโนโลยีสารนเทศทางการศึกษา โดยกลุ่มโจโจ้ซังPanwipa' Pornpirunroj
 
บทที่6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร
บทที่6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสารบทที่6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร
บทที่6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสารKanlayanee Thongthab
 
6 บทที่ 1 บทนำ
6 บทที่  1  บทนำ6 บทที่  1  บทนำ
6 บทที่ 1 บทนำAugusts Programmer
 
Introduction to technologies and educational media
Introduction to technologies  and  educational mediaIntroduction to technologies  and  educational media
Introduction to technologies and educational mediapompompam
 
ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์Ktmaneewan
 
บทที่6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
บทที่6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาบทที่6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
บทที่6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาjanepi49
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5Naruephon
 
โซเชียลมีเดียกับการศึกษาไทย
โซเชียลมีเดียกับการศึกษาไทยโซเชียลมีเดียกับการศึกษาไทย
โซเชียลมีเดียกับการศึกษาไทยKruBeeKa
 
โซเชียลมีเดียกับการศึกษาไทย
โซเชียลมีเดียกับการศึกษาไทยโซเชียลมีเดียกับการศึกษาไทย
โซเชียลมีเดียกับการศึกษาไทยKruBeeKa
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6Pari Za
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หัวข้อที่1เส็ดแล้ว
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หัวข้อที่1เส็ดแล้วเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หัวข้อที่1เส็ดแล้ว
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หัวข้อที่1เส็ดแล้วfrankenjay
 
E learning กับ social media จะไปด้วยกันอย่างไรเพื่อพัฒนาการศึกษาไทย
E learning กับ social media จะไปด้วยกันอย่างไรเพื่อพัฒนาการศึกษาไทยE learning กับ social media จะไปด้วยกันอย่างไรเพื่อพัฒนาการศึกษาไทย
E learning กับ social media จะไปด้วยกันอย่างไรเพื่อพัฒนาการศึกษาไทยKobwit Piriyawat
 
Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาChapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาPan Kannapat Hengsawat
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารThamonwan Kottapan
 

What's hot (20)

การประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศกับการศึกษา
การประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศกับการศึกษา การประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศกับการศึกษา
การประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศกับการศึกษา
 
บทที่6เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่6เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้บทที่6เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่6เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
 
เทคโนโลยีสารนเทศทางการศึกษา โดยกลุ่มโจโจ้ซัง
เทคโนโลยีสารนเทศทางการศึกษา โดยกลุ่มโจโจ้ซังเทคโนโลยีสารนเทศทางการศึกษา โดยกลุ่มโจโจ้ซัง
เทคโนโลยีสารนเทศทางการศึกษา โดยกลุ่มโจโจ้ซัง
 
บทที่6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร
บทที่6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสารบทที่6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร
บทที่6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร
 
6 บทที่ 1 บทนำ
6 บทที่  1  บทนำ6 บทที่  1  บทนำ
6 บทที่ 1 บทนำ
 
Introduction to technologies and educational media
Introduction to technologies  and  educational mediaIntroduction to technologies  and  educational media
Introduction to technologies and educational media
 
ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
 
บทที่6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
บทที่6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาบทที่6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
บทที่6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
บทที่ 1 - 5
บทที่ 1 - 5 บทที่ 1 - 5
บทที่ 1 - 5
 
โซเชียลมีเดียกับการศึกษาไทย
โซเชียลมีเดียกับการศึกษาไทยโซเชียลมีเดียกับการศึกษาไทย
โซเชียลมีเดียกับการศึกษาไทย
 
โซเชียลมีเดียกับการศึกษาไทย
โซเชียลมีเดียกับการศึกษาไทยโซเชียลมีเดียกับการศึกษาไทย
โซเชียลมีเดียกับการศึกษาไทย
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หัวข้อที่1เส็ดแล้ว
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หัวข้อที่1เส็ดแล้วเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หัวข้อที่1เส็ดแล้ว
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หัวข้อที่1เส็ดแล้ว
 
Email system
Email systemEmail system
Email system
 
2 2
2 22 2
2 2
 
E learning กับ social media จะไปด้วยกันอย่างไรเพื่อพัฒนาการศึกษาไทย
E learning กับ social media จะไปด้วยกันอย่างไรเพื่อพัฒนาการศึกษาไทยE learning กับ social media จะไปด้วยกันอย่างไรเพื่อพัฒนาการศึกษาไทย
E learning กับ social media จะไปด้วยกันอย่างไรเพื่อพัฒนาการศึกษาไทย
 
Chapter 6
Chapter 6Chapter 6
Chapter 6
 
Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาChapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 

Viewers also liked

แผนการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์บูรณาการการใช้สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ
แผนการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์บูรณาการการใช้สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศแผนการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์บูรณาการการใช้สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ
แผนการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์บูรณาการการใช้สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศchaimate
 
แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมท้องถิ่นไทดำ
แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมท้องถิ่นไทดำแผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมท้องถิ่นไทดำ
แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมท้องถิ่นไทดำMine Pantip
 
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนแผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนดอกหญ้า ธรรมดา
 
รายงานผลการดำเนินงานโครงงานคอมพิวเตอร์ สารคดีพื้นบ้านตามรอยวัฒนธรรมกู่สันตรัตน์
รายงานผลการดำเนินงานโครงงานคอมพิวเตอร์ สารคดีพื้นบ้านตามรอยวัฒนธรรมกู่สันตรัตน์รายงานผลการดำเนินงานโครงงานคอมพิวเตอร์ สารคดีพื้นบ้านตามรอยวัฒนธรรมกู่สันตรัตน์
รายงานผลการดำเนินงานโครงงานคอมพิวเตอร์ สารคดีพื้นบ้านตามรอยวัฒนธรรมกู่สันตรัตน์chaiwat vichianchai
 
รายงานผลการดำเนินงานโครงงานคอมพิวเตอร์
รายงานผลการดำเนินงานโครงงานคอมพิวเตอร์รายงานผลการดำเนินงานโครงงานคอมพิวเตอร์
รายงานผลการดำเนินงานโครงงานคอมพิวเตอร์chaiwat vichianchai
 
รายงานผลการดำเนินงานโครงงานคอมพิวเตอร์ การพัฒนาหนังสั้นภูมิปัญญาไทยบ้านเรือนไ...
รายงานผลการดำเนินงานโครงงานคอมพิวเตอร์ การพัฒนาหนังสั้นภูมิปัญญาไทยบ้านเรือนไ...รายงานผลการดำเนินงานโครงงานคอมพิวเตอร์ การพัฒนาหนังสั้นภูมิปัญญาไทยบ้านเรือนไ...
รายงานผลการดำเนินงานโครงงานคอมพิวเตอร์ การพัฒนาหนังสั้นภูมิปัญญาไทยบ้านเรือนไ...chaiwat vichianchai
 
รายงานผลการดำเนินงานโครงงานคอมพิวเตอร์ ต่ำเสื่อทอสาด
รายงานผลการดำเนินงานโครงงานคอมพิวเตอร์ ต่ำเสื่อทอสาดรายงานผลการดำเนินงานโครงงานคอมพิวเตอร์ ต่ำเสื่อทอสาด
รายงานผลการดำเนินงานโครงงานคอมพิวเตอร์ ต่ำเสื่อทอสาดchaiwat vichianchai
 

Viewers also liked (8)

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 17
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  17แผนการจัดการเรียนรู้ที่  17
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 17
 
แผนการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์บูรณาการการใช้สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ
แผนการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์บูรณาการการใช้สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศแผนการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์บูรณาการการใช้สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ
แผนการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์บูรณาการการใช้สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมท้องถิ่นไทดำ
แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมท้องถิ่นไทดำแผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมท้องถิ่นไทดำ
แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมท้องถิ่นไทดำ
 
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนแผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
 
รายงานผลการดำเนินงานโครงงานคอมพิวเตอร์ สารคดีพื้นบ้านตามรอยวัฒนธรรมกู่สันตรัตน์
รายงานผลการดำเนินงานโครงงานคอมพิวเตอร์ สารคดีพื้นบ้านตามรอยวัฒนธรรมกู่สันตรัตน์รายงานผลการดำเนินงานโครงงานคอมพิวเตอร์ สารคดีพื้นบ้านตามรอยวัฒนธรรมกู่สันตรัตน์
รายงานผลการดำเนินงานโครงงานคอมพิวเตอร์ สารคดีพื้นบ้านตามรอยวัฒนธรรมกู่สันตรัตน์
 
รายงานผลการดำเนินงานโครงงานคอมพิวเตอร์
รายงานผลการดำเนินงานโครงงานคอมพิวเตอร์รายงานผลการดำเนินงานโครงงานคอมพิวเตอร์
รายงานผลการดำเนินงานโครงงานคอมพิวเตอร์
 
รายงานผลการดำเนินงานโครงงานคอมพิวเตอร์ การพัฒนาหนังสั้นภูมิปัญญาไทยบ้านเรือนไ...
รายงานผลการดำเนินงานโครงงานคอมพิวเตอร์ การพัฒนาหนังสั้นภูมิปัญญาไทยบ้านเรือนไ...รายงานผลการดำเนินงานโครงงานคอมพิวเตอร์ การพัฒนาหนังสั้นภูมิปัญญาไทยบ้านเรือนไ...
รายงานผลการดำเนินงานโครงงานคอมพิวเตอร์ การพัฒนาหนังสั้นภูมิปัญญาไทยบ้านเรือนไ...
 
รายงานผลการดำเนินงานโครงงานคอมพิวเตอร์ ต่ำเสื่อทอสาด
รายงานผลการดำเนินงานโครงงานคอมพิวเตอร์ ต่ำเสื่อทอสาดรายงานผลการดำเนินงานโครงงานคอมพิวเตอร์ ต่ำเสื่อทอสาด
รายงานผลการดำเนินงานโครงงานคอมพิวเตอร์ ต่ำเสื่อทอสาด
 

Similar to Dlit socialmedia

การเรียนรู้ดิจิทัลเทคโนโลยีโรงเรียนมาตรฐานสากล
การเรียนรู้ดิจิทัลเทคโนโลยีโรงเรียนมาตรฐานสากลการเรียนรู้ดิจิทัลเทคโนโลยีโรงเรียนมาตรฐานสากล
การเรียนรู้ดิจิทัลเทคโนโลยีโรงเรียนมาตรฐานสากลธนเดช วิไลรัตนากูล
 
งานนำเสนอแนวคิดใช้Itpresent
งานนำเสนอแนวคิดใช้Itpresentงานนำเสนอแนวคิดใช้Itpresent
งานนำเสนอแนวคิดใช้ItpresentYaowaluck Promdee
 
การศึกษาอิเล็กทรอนิกส์
การศึกษาอิเล็กทรอนิกส์การศึกษาอิเล็กทรอนิกส์
การศึกษาอิเล็กทรอนิกส์guestf26745
 
ใบความรู้ 1.1ความหมายและคุณค่าของโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 1.1ความหมายและคุณค่าของโครงงานคอมพิวเตอร์ใบความรู้ 1.1ความหมายและคุณค่าของโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 1.1ความหมายและคุณค่าของโครงงานคอมพิวเตอร์sa_jaimun
 
MOOC - OER ... Royal Project in Thailand
MOOC - OER ... Royal Project in ThailandMOOC - OER ... Royal Project in Thailand
MOOC - OER ... Royal Project in ThailandBoonlert Aroonpiboon
 
Social media in the classroom: Why and how to use it
Social media in the classroom: Why and how to use itSocial media in the classroom: Why and how to use it
Social media in the classroom: Why and how to use itAnucha Somabut
 
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์Aon Narinchoti
 
Effects of Integrated Learning using Social Media with e-Learning. [NEC2012]
Effects of Integrated Learning using Social Media with e-Learning. [NEC2012]Effects of Integrated Learning using Social Media with e-Learning. [NEC2012]
Effects of Integrated Learning using Social Media with e-Learning. [NEC2012]Panita Wannapiroon Kmutnb
 
โครงงานคอม1
โครงงานคอม1โครงงานคอม1
โครงงานคอม1Thanyalux Kanthong
 
โครงงานคอม1
โครงงานคอม1โครงงานคอม1
โครงงานคอม1Thanyalux Kanthong
 
โครงงานคอม1
โครงงานคอม1โครงงานคอม1
โครงงานคอม1Thanyalux Kanthong
 
Chapter6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
Chapter6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้Chapter6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
Chapter6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้Prakaidao Suebwong
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11wanneemayss
 
11 170819173826
11 17081917382611 170819173826
11 170819173826gam030
 

Similar to Dlit socialmedia (20)

การเรียนรู้ดิจิทัลเทคโนโลยี
การเรียนรู้ดิจิทัลเทคโนโลยีการเรียนรู้ดิจิทัลเทคโนโลยี
การเรียนรู้ดิจิทัลเทคโนโลยี
 
การเรียนรู้ดิจิทัลเทคโนโลยีโรงเรียนมาตรฐานสากล
การเรียนรู้ดิจิทัลเทคโนโลยีโรงเรียนมาตรฐานสากลการเรียนรู้ดิจิทัลเทคโนโลยีโรงเรียนมาตรฐานสากล
การเรียนรู้ดิจิทัลเทคโนโลยีโรงเรียนมาตรฐานสากล
 
งานนำเสนอแนวคิดใช้Itpresent
งานนำเสนอแนวคิดใช้Itpresentงานนำเสนอแนวคิดใช้Itpresent
งานนำเสนอแนวคิดใช้Itpresent
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
Chapter 6
Chapter 6Chapter 6
Chapter 6
 
การศึกษาอิเล็กทรอนิกส์
การศึกษาอิเล็กทรอนิกส์การศึกษาอิเล็กทรอนิกส์
การศึกษาอิเล็กทรอนิกส์
 
ใบความรู้ 1.1ความหมายและคุณค่าของโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 1.1ความหมายและคุณค่าของโครงงานคอมพิวเตอร์ใบความรู้ 1.1ความหมายและคุณค่าของโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 1.1ความหมายและคุณค่าของโครงงานคอมพิวเตอร์
 
MOOC - OER ... Royal Project in Thailand
MOOC - OER ... Royal Project in ThailandMOOC - OER ... Royal Project in Thailand
MOOC - OER ... Royal Project in Thailand
 
Social media in the classroom: Why and how to use it
Social media in the classroom: Why and how to use itSocial media in the classroom: Why and how to use it
Social media in the classroom: Why and how to use it
 
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
 
Effects of Integrated Learning using Social Media with e-Learning. [NEC2012]
Effects of Integrated Learning using Social Media with e-Learning. [NEC2012]Effects of Integrated Learning using Social Media with e-Learning. [NEC2012]
Effects of Integrated Learning using Social Media with e-Learning. [NEC2012]
 
ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 3
ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 3ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 3
ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 3
 
โครงงานคอม1
โครงงานคอม1โครงงานคอม1
โครงงานคอม1
 
โครงงานคอม1
โครงงานคอม1โครงงานคอม1
โครงงานคอม1
 
โครงงานคอม1
โครงงานคอม1โครงงานคอม1
โครงงานคอม1
 
Chapter6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
Chapter6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้Chapter6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
Chapter6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
11 170819173826
11 17081917382611 170819173826
11 170819173826
 
11 170819173826
11 17081917382611 170819173826
11 170819173826
 
11 170819173826
11 17081917382611 170819173826
11 170819173826
 

Dlit socialmedia

  • 1. การพัฒนาการเรียนการสอนผ่านเทคโนโลยี DLIT และโซเชียลมีเดีย การจัดการเรียนการสอนรายวิชาคอมพิวเตอร์ในปัจจุบัน มุ่งให้นักเรียนมีความรู้และทักษะขั้นพื้นฐาน เกี่ยวกับการใช้งานและบริการต่าง ๆ ที่มีอยู่บนอินเทอร์เน็ต มีความรู้และทักษะการใช้บริการสื่อออนไลน์ต่าง ๆ และเพื่อให้มีจิตสานึกรับผิดชอบต่อสังคมในการใช้งานสื่อออนไลน์ การใช้ Social Media และเทคโนโลยี เพื่อการเรียนรู้ เป็นการมุ่งเน้นเพื่อสร้างความหลากหลาย และสร้างพัฒนาการขบวนการเรียนรู้สาหรับช่วยใน การเรียนการสอน เนื่องจากคอมพิวเตอร์เข้ามามีบทบาทในการใช้งานที่หลากหลายในชีวิตประจาวันของแต่ละ บุคคล ดังนั้นการเรียนรู้และการมีความรู้ในพื้นฐานเดิมของแต่ละบุคคลจึงต่างกัน การรับรู้หรือความเข้าใจใน การเรียนจึงมีความหลากหลายและแตกต่างกัน ในปีการศึกษา 2558 นี้ได้มีการสนับสนุนโครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาด้วยเทคโนโลยี สารสนเทศ (DLIT) จากโครงการนี้ได้มีการสนับสนุนการเรียนการสอนทั้งด้าน Software Hardware Peopleware และ Data ภาคเอกชนเข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนากิจกรรมการเรียนการสอนในโครงการนี้ เช่น บริษัท กูเกิ้ล ประเทศไทย (Google App for education) บริษัทไมโครซอฟต์ประเทศไทย (Office 365 for education) บริษัทแอบเปิ้ล ประเทศไทย (iTunes U) ซึ่งสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ Digital Economy ของรัฐบาลปัจจุบันกิจกรรมการเรียนการสอนได้รับการสนับสนุนให้ใช้สื่อที่ทันสมัยนั้นเกิดกิจกรรมการเรียน การสอนขึ้นทั้งในรูปแบบออนไลน์และในรูปแบบออฟไลน์ จึง ทาให้กิจกรรมการเรียนการสอนในปีนี้เริ่มมีเค้า โครงการเข้าสู่การเรียนรู้ในรูปแบบออนไลน์มากขึ้น บทบาทในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนของครูในชั้น เรียนจึงควรมีความหลากหลายสามารถเชื่อมต่อการเรียนรู้กับส่วนอื่น มีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล มี ความเป็นไปได้ มีความเหมาะสม มีความถูกต้อง เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด การเรียนรู้ในปัจจุบันไม่ได้เกิดขึ้นเฉพาะในชั้นเรียนอีกต่อไป นักเรียนเรียนสามารถเรียนรู้ได้ทั้งที่ โรงเรียน ที่บ้านและทุกที่ที่ต้องการเรียนรู้ แต่การเรียนรู้นั้นต้องเกิดในระดับบุคคลก่อนจึงจะเกิดการเรียนรู้ ระดับกลุ่ม และระดับองค์กร การแลกเปลี่ยนเรียนรู้เหล่านี้เกิดจากการใช้บริการที่มีอยู่บนอินเทอร์เน็ตมี มากมายหลากหลายไม่ว่าจะเป็นบริการ Social media หรือสังคมการสื่อสารในรูปแบบออนไลน์ต่างๆ เช่น Facebook , Blog , Office365 , Google App for Education E-mail เป็นต้น เป็นสื่อและบริการ เพื่อให้นักเรียนสามารถถามตอบและศึกษาเพิ่มเติมได้ตลอดเวลา การจัดการเรียนการสอนจึงเป็นการมุ่งเน้น เพื่อให้นักเรียนที่เรียนไม่ทันหรือไม่เข้าใจในบทเรียนสามารถเรียนรู้เพิ่มเติมหรือศึกษาเพื่อทาความเข้าใจก่อน เข้าชั้นเรียน ซึ่งเป็นการสร้างการเรียนรู้และปรับระดับการเรียนรู้ที่มีความแตกต่างของนักเรียนแต่ละคน ให้ สามารถเรียนรู้และเข้าใจในบทเรียนให้อยู่ในระดับเดียวหรือใกล้เคียงกันมากที่สุดและเป็นการพัฒนาการเรียน การสอนให้มีประสิทธิภาพมากที่สุด
  • 2. เนื่องจากลักษณะการเรียนการสอนของวิชาสื่อสังคมออนไลน์ รหัส ง30249 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 นั้น นักเรียนต้องเรียนรู้ผ่านเครื่องคอมพิวเตอร์ ผู้วิจัยจึงนาอินเทอร์เน็ตมาเป็นสื่อในการเรียนของผู้เรียน กล่าวคือ อินเทอร์เน็ตเป็นเสมือนเครื่องมือสื่อสารที่เชื่อมให้สามารถติดต่อกันได้ทุกที่ ทุกเวลา ทางการศึกษาเองก็ เช่นกัน ผู้สอนสามารถพัฒนาทักษะต่างๆ ของผู้ เรียนผ่านทางอินเทอร์เน็ตโดยการประยุกต์ใช้ไซต์ (Sites) ทา เป็นบทเรียนออนไลน์แบบเปิด และทางานร่วมกับบริการอื่น ๆ ที่มีอยู่บนอินเทอร์เน็ตเช่น Google Drive, Google Doc และ Google รูปภาพ เป็นต้น ซึ่งเป็นบริการที่ให้สามารถใช้งานได้ฟรีของ Google เพียงแค่มี อีเมล์ของ Gmail เท่านั้น และในตัวไซต์ (Sites) เอง ก็มีช่องทางในการสื่อสารหลายช่องทางที่ให้นักเรียนและ ครูผู้สอนสามารถใช้ติดต่อสื่อสารกัน ตลอดจนเป็นการเปิดโอกาสให้นักเรียนได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้และแสดง ความคิดเห็นอันจะส่งผลให้การเรียนการสอนสามารถบรรลุวัตถุประสงค์ของรายวิชาได้อย่างสมบูรณ์มากขึ้น 2. จุดประสงค์และเป้าหมายของการดาเนินงาน จากเอกลักษณ์ของโรงเรียนที่ว่า “ใช้ไอซีทีเป็น ดีเด่นรักษ์สิ่งแวดล้อม” โรงเรียนนามนพิทยาคม จึง ได้มีนโยบายการบริหารโรงเรียนโดยเน้นการพัฒนาศักยภาพของผู้เรียน ในด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการ สื่อสาร ส่งเสริมคณะครูในการผลิตสื่อการเรียนการสอนต่าง ๆ ให้ผู้เรียนสามารถเข้าถึงแหล่งความรู้ได้อย่าง เท่าเทียม อีกทั้งยังสามารถนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ICT) มาช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการ เรียนการสอน ดังต่อไปนี้ 1. พัฒนาบทเรียนออนไลน์ โดยประยุกต์ใช้เทคโนโลยี DLIT 2. เพิ่มช่องทางในการเรียนรู้ให้กับผู้เรียน 3. ลดปัญหาการเรียนไม่ทัน โดยผู้เรียนสามารถศึกษาเพิ่มเติมเองได้จากบล็อกและบทเรียนออนไลน์ 4. ผู้เรียนรู้จักใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (SocialMedia) ให้เกิดประโยชน์ได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม 3. กระบวนการผลิตผลงาน หรือขั้นตอนการดาเนินงาน มีขั้นตอนการสร้างและพัฒนาดังนี้ ขั้นเตรียมการ (Plan) 1) ศึกษาวิเคราะห์หลักสูตรแกนกลาง ตัวชี้วัด และ สาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 2) วิเคราะห์ผู้เรียน โดยใช้แบบสอบถามและแบบทดสอบความรู้และทักษะทางด้านคอมพิวเตอร์ 3) วิเคราะห์สภาพปัญหา จาก (1) บันทึกหลังแผนการจัดการเรียนรู้ (2) ศึกษาและเข้าอบรมวิธีการสร้างและออกแบบจัดกิจกรรมการเรียนการสอนผ่านบล็อก ไซต์ และบทเรียนออนไลน์
  • 3. ขั้นดาเนินการ (DO) 1) จัดทาเว็บบล็อก ไซต์ และบทเรียนออนไลน์ขึ้นมาใช้สอนในหน่วยการเรียนตลอดภาคเรียน 2) จัดทาแผนการจัดการเรียนรู้ 3) จัดกระบวนการเรียนรู้ด้วยเว็บบล็อก ไซต์ และบทเรียนออนไลน์ ขั้นการตรวจสอบประเมินผล ( Check ) 1) ใช้แบบทดสอบก่อนเรียน หลังเรียน และคาถามหลังกิจกรรม 2) ประเมินจากการปฏิบัติกิจกรรม 3) ประเมินผลการเรียนรู้โดยใช้แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 4) ประเมินผลการจัดการเรียนรู้ด้วยแบบสอบถามวัดความพึงพอใจการใช้บล็อกเพื่อการเรียนรู้ ขั้นการปรับปรุงพัฒนา (Action) 1) ปรับปรุงนวัตกรรมให้เนื้อหามีความเหมาะสมและเป็นปัจจุบันมากขึ้น 2) ปรับปรุงนวัตกรรมให้สอดคล้องกับ มาตรฐาน ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง 3) นาข้อเสนอแนะในการนาไปใช้และการศึกษาค้นคว้าครั้งต่อไปจากนวัตกรรมเดิมไปพัฒนา 4) ปรับปรุงพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้ โดยนาข้อเสนอแนะและข้อควรปรับปรุงพัฒนาให้ สอดคล้องกับนวัตกรรมที่ปรับปรุง 5) ขยายเครือข่ายและจัดทาโครงงานบูรณาการข้ามกลุ่มสาระการเรียนรู้และขยายสู่ภายนอก 4. ผลการดาเนินงาน 1. นักเรียนมีความพึงพอใจต่อสื่อการสอนและบทเรียนออนไลน์ โดยใช้โดยประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสา สรสนเทศ (DLIT) รายวิชา สื่อสังคมออนไลน์ รหัส ง30249 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ในระดับมาก 2. ผู้เรียนมีความรู้ความสามารถในการใช้ Social Media และเทคโนโลยี DLIT มากขึ้น 3. ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจใช้เทคโนโลยี ในการแสวงหาความรู้ และสร้างสรรค์ชิ้นงานออกมาได้ อย่างถูกต้องและเหมาะสม 4. โรงเรียนมีสื่อการเรียน และแหล่งเรียนรู้ที่สามารถเรียนรู้ได้ตลอดเวลา 5. ผู้เรียนสามารถนาความรู้ที่ได้ เข้าร่วมแข่งขันทักษะทางด้านคอมพิวเตอร์ในระดับต่าง ๆ 5. ปัจจัยความสาเร็จ - ผู้เรียนมีความสนใจ ตั้งใจให้ความร่วมมือในการเรียนรู้ - โรงเรียนมีนโยบายสนับสนุนกิจกรรมการพัฒนาด้านไอซีที แก่ครูผู้สอน และแก่ผู้เรียนอย่างชัดเจน - การจัดการเรียนรู้โดยใช้เว็บบล็อก เป็นกิจกรรมที่ผู้เรียนและผู้สอนสามารถโต้ตอบกันได้ ผ่านสื่อ ออนไลน์ผู้เรียนเกิดความสนใจและใฝ่รู้
  • 4. - จัดกิจกรรมส่งเสริมเพิ่มขีดความสามารถโดยส่งประกวด แข่งขันในระดับเขตพื้นที่การศึกษา ระดับ ภาค และร่วมประกวดในระดับสูงนอกสถานที่ เพื่อกระตุ้นให้ผู้เรียนสนใจมากยิ่งขึ้น - ใช้หลักการจัดกิจกรรมแบบมีส่วนร่วม โดยอาศัยความร่วมมือของผู้บริหาร ครู นักเรียน ผู้ปกครอง และ ชุมชนหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง - ได้รับความอนุเคราะห์จาก สพม. 24 ให้เข้าร่วมอบรมรับความรู้ DLIT รุ่น Train the Trainner - ได้รับความอนุเคราะห์จากท่านผู้อานวยการโรงเรียนนามนพิทยาคมในการบริหารจัดการระบบ สัญญาณอินเทอร์เน็ตมาใช้ในการจัดการเรียนการสอน - ได้รับความช่วยเหลือจากเครือข่ายครูผู้สอนคอมพิวเตอร์จังหวัดกาฬสินธุ์ในการตรวจสอบเครื่องมือ - ได้รับความอนุเคราะห์จาก ครูอภิวัฒน์ วงศ์กัณหา ครูโรงเรียนหกสิบพรรษาวิทยาคมอุบลราชธานี จังหวัดอุบลราชธานี ในการให้คาปรึกษาในการออกแบบ Theme ของ Googlesite - ได้รับความอนุเคราะห์จาก ครูนรินทร์ อนงค์ชัย ครูโรงเรียนเทพอุดมวิทยา จังหวัดสุรินทร์ ในการ ให้คาปรึกษาในการใช้เครื่องมือ (App) จาก Google 6. บทเรียนที่ได้รับ ข้อสรุปที่ได้รับ 1) กิจกรรมการเรียนรู้ผ่านเว็บบล็อก เป็นกิจกรรมที่ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการเรียนรู้ โดยสามารถศึกษา ได้เอง หากไม่เข้าใจก็ยังสามารถสอบถามครูผู้สอนผ่าน Social Media หรือช่องทางหลาย ๆ ช่องทาง โดย กิจกรรมการเรียนรู้มุ่งส่งเสริมและพัฒนากระบวนการคิดวิเคราะห์ให้กับผู้เรียน ในการศึกษาหาความรู้ ความ จริงจนได้ข้อสรุป เป็นองค์ความรู้ใหม่ และส่งผลออกมาเป็นผลงานเชิงสร้างสรรค์ พัฒนาเป็นความรู้ที่คงทน ตลอดไป 2) นักเรียนมีมีเจตคติที่ดีต่อคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยี 3) ประยุกต์ความรู้สู่การแข่งขันทักษะด้านคอมพิวเตอร์ และการพัฒนาเว็บบล็อกจนได้รับรางวัล ระดับเขตพื้นที่การศึกษา ระดับภาค และระดับประเทศ ข้อควรระวังในการนาไปใช้ 1) ควรมีข้อตกลงในการเรียนรู้ระหว่างครูผู้สอนและผู้เรียน เพื่อให้การเรียนรู้ดาเนินไปได้ตามขั้นตอน 2) ครูผู้สอนต้องอธิบายการเรียนรู้โดยใช้เว็บบล็อกให้ผู้เรียนเข้าใจขั้นตอน อย่างละเอียด 3) การนาสื่อไปใช้ ควรมีคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์เชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตที่มีความเสถียร 4) ควรศึกษาผลกระทบด้านลบจากการใช้สื่อบทเรียนออนไลน์
  • 5. 7. การเผยแพร่/การได้รับการยอมรับ/รางวัลที่ได้รับ การเผยแพร่ - เผยแพร่ผลงานในการประกวด OBEC Awards ระดับภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กลุ่มสาระการ เรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา - เผยแพร่ผลงานในการประกวด OBEC Awards ระดับชาติ กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและ เทคโนโลยี ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา - เผยแพร่ในการอบรมขยายผล DLIT ในระดับสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 24 - เผยแพร่ในการอบรมยกระดับผลสัมฤทธิ์ แก่ครูในโรงเรียนสังกัดสหวิทยาเขตพลังผึ้ง ปี 2558 - เผยแพร่ในการอบรมยกระดับผลสัมฤทธิ์ 5 กลุ่มสาระการเรียนรู้ แก่ครูในโรงเรียนสังกัด สพม.24 ปี 2560 การเผยแพร่ผ่านสื่อสังคมออนไลน์ - http://combasicnpk.wordpress.com - http://comkrutae.wordpress.com - http://www.facebook.com/krutae - https://www.youtube.com/user/krutae123 - http://www.namonpit.ac.th รางวัลที่ได้รับ 1) ได้รับรางวัล ครูดีในดวงใจ จากสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ครั้งที่ 13 ปี 2559 2) ได้รับรางวัล ชนะเลิศ การประกวดสื่อการเรียนการสอนด้าน ICT ประเภท BLOG ระดับชาติ จาก สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปี 2559 3) ได้รับรางวัล ครูผู้ทาคุณประโยชน์ทางด้านการศึกษา จากสานักงานคณะกรรมการ สกสค. ปี 2559 4) ได้รับรางวัล เกียรติบัตร ระดับเหรียญเงิน ระดับชาติ ครูผู้สอนยอดเยี่ยม นวัตกรรมและเทคโนโลยี เพื่อการเรียนการสอน (OBEC AWARDS) ปี 2559 5) ได้รับรางวัล เกียรติบัตร ระดับเหรียญเงิน ระดับชาติ ครูผู้สอนยอดเยี่ยม นวัตกรรมและเทคโนโลยี เพื่อการเรียนการสอน (OBEC AWARDS) ปี 2558 6) ได้รับรางวัล เกียรติบัตร ระดับเหรียญทองชนะเลิศ ระดับภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ครูผู้สอนยอด เยี่ยม ด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อการเรียนการสอน (OBEC AWARDS) จังหวัดบึงกาฬ ปี 2559 7) ได้รับรางวัล เกียรติบัตร ระดับเหรียญทองชนะเลิศ ระดับภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ครูผู้สอนยอด
  • 6. เยี่ยม ด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อการเรียนการสอน (OBEC AWARDS) จังหวัดสุรินทร์ ปี 2558 8) ได้รับรางวัล รองชนะเลิศอันดับ 1 การประกวด Best Practice โรงเรียนในฝัน ระดับภาค ตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน จากสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปี 2559 9) ได้รับรางวัล Thailand Social Media Awards 2013 ระดับประเทศ จาก สานักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ในการประกวดเว็บบล็อกเพื่อการศึกษา ปี 2556 10) ได้รับคัดเลือก เป็นครูผู้นาด้านนวัตกรรมด้านการเรียนการสอน ระดับภูมิภาค โครงการ Thailand Innovative Teacher Leadership Award 2016 11) ได้รับรางวัล เกียรติบัตร ระดับเหรียญทอง ครูผู้สอนยอดเยี่ยม ด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อ การเรียนการสอน (OBEC AWARDS) ระดับภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ณ จังหวัดนครพนม ปี 2556