SlideShare a Scribd company logo
1 of 35
Download to read offline
CHAPTER 6
เทคโนโลยีสารสนเทศ
ทางการศึกษา
สถานการณปญหา
(PROBLEM-BASED
LEARNING)
ภายหลังที่รัฐบาลไดจัดการปฏิรูปการศึกษา ซึ่งมีหัวใจสําคัญ
อยูที่ " การยกระดับคุณภาพประชากรของประเทศใหสูงขึ้น คือ
ผูเรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรูและพัฒนาตนเองไดและถือวา
ผูเรียนมีความสําคัญที่สุด ที่ตองสงเสริมและพัฒนาใหเต็มตาม
ศักยภาพ ฝกทักษะกระบวนการคิด การประยุกตความรู และการ
แสวงหาความรูดวยตนเอง สามารถในการคิดวิเคราะห และริเริ่ม
สรางสรรค มีความสามารถในการแกปญหา ตลอดจนรูจักการทํางาน
เปนหมูคณะ
" มีการนําเทคโนโลยีสารสนเทศเขามาใชเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการ
เรียนรู " ที่ผูเรียนสามารถเขาถึงไดอยางหลากหลาย สามารถเรียนได
Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
ทุกที่ทุกเวลา เพื่อที่จะทําใหผูเรียนเกิดความรูความเขาใจ และ
เหมาะสมกับยุคแหง ขอมูลสารสนเทศที่มีอยูอยางมากมาย รวมไปถึง
การทําใหการเรียนรูนั้นเกิดประสิทธิภาพสูงสุด ทั้งยังเพื่อเปนการ
เตรียมพัฒนาผูเรียนใหมีคุณลักษณะที่เหมาะสมกับสังคมยุค
โลกาภิวัตน
ในฐานะที่ทานจะเปนครู
ทานจะตองปฏิบัติภารกิจตอไปนี้
Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
1. วิเคราะห์บทบาทและความสําคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศกับการ
พัฒนาการศึกษาตามแนวทางปฏิรูปการศึกษา
ปัจจุบันเทคโนโลยีสารสนเทศได้เข้ามามีบทบาทต่อการศึกษา
อย่างมาก โดยเฉพาะเทคโนโลยีทางด้านคอมพิวเตอร์ และการสือสาร
โทรคมนาคม ซึงมีความสําคัญต่อการพัฒนาการศึกษาเทคโนโลยีทีมี
บทบาทสําคัญต่อการศึกษา ประกอบด้วย
1. เทคโนโลยีทีเข้ามามีส่วนช่วยในเรืองการเรียนรู้
ปัจจุบันมีเครืองมือเครืองใช้ทีช่วยสนับสนุนการเรียนรู้
หลายอย่าง เช่น
Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
 มีระบบคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI)
 มีระบบมัลติมีเดีย (Multimedia)
 ระบบวิดีโออนนดีมานด์ (Video on Demand)
 วิดีโอเทเลคอนเฟอเรนซ์ (Video Teleconference)
 อินเตอร์เน็ต (Internet)
Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
2. เทคโนโลยีทีเข้ามาสนับสนุนการจัดการศึกษา
ในการจัดการศึกษาสมัยใหม่จําเป็นต้องอาศัยข้อมูลข่าวสาร
เพือการวางแผนการดําเนินการ การติดตามและประเมินผล ทําให้
คอมพิวเตอร์และระบบสือสารโทรคมนาคมเข้ามามีบทบาททีสําคัญใน
เรืองนี
Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
3. เทคโนโลยีทีเข้ามาช่วยให้การสือสารระหว่างบุคคล
ทางด้านการศึกษาจําเป็นต้องอาศัยการสือสารระหว่างผู้สอน
กับผู้เรียน ผู้เรียนกับผู้เรียน เป็นต้น ซึงจะช่วยเพิมประสิทธิภาพใน
กระบวนการเรียนการสอน และการดําเนินงานในหลายด้านโดยอาศัย
เทคโนโลยีการสือสาร และการดําเนินงานในหลายด้านโดยอาศัย
เทคโนโลยีการสือสารระหว่างบุคคล เช่น การใช้โทรศัพท์ เทเลคอนเฟอ
เรนส์ และไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ เป็นต้น
ซึงเราสามารถนําเทคโนโลยีสารสนเทศ มาช่วยในการเรียน
การสอนหรือการจัดการศึกษาได้ เช่น
Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
1. การเปิดใช้บริการคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (Computer-
Aided Instruction--CAI) เป็นการเปิดใช้งานคอมพิวเตอร์
เป็นสือในการสอนและเรียนรู้
2. การสอนทางไกลผ่านดาวเทียม ซึงช่วยยกระดับการศึกษาของ
พลเมือง โดยการกระจายความรู้ไปยังชนบททีห่างไกล ทําให้ประชาชน
ในชนบทได้รับความรู้มากขึนกว่าเดิม
3. การสอนทางไกลระบบ video teleconference
เป็นการเรียนการสอนโดยใช้วิธีการสือสารสองทาง ผู้สอนและผู้เรียน
อยู่ห่างไกลกันแต่สามารถถามตอบกันได้ทันที
Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
4. การจัดทําสารานุกรม หนังสือหรือฐานข้อมูลทางการศึกษา
โดยใช้มัลติมีเดียหรือสือประสมทีสามารถแสดงได้ทังภาพ
ภาพเคลือนไหว เสียงและข้อมูล
5. การนําเทคโนโลยีฐานข้อมูลมาใช้ในงานห้องสมุดหรือศูนย์
ข้อมูล เพือเก็บข้อมูลเกียวกับเอกสาร บทความ รายงาน หนังสือ ฯลฯ
ซึงช่วยอํานวยความสะดวกในการค้นหาข้อมูลต่างๆ
จะเห็นได้ว่า เทคโนโลยีสารสนเทศมีบทบาทและความสําคัญ
ในด้านการศึกษาอย่างมาก ซึงมีส่วนช่วยให้การศึกษาพัฒนาไปอย่างมี
ประสิทธิภาพตามแนวทางปฏิรูปการศึกษา
Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
2. วิเคราะห์หาวิธีการทีจะประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการ
จัดการเรียนรู้ทีเน้นผู้เรียนเป็นสําคัญ
ในการบูรณาการเทคโนโลยีสารสนเทศเพือการเรียนการสอน
ผู้สอนควรจะศึกษาเทคนิค วิธีการ เทคโนโลยีต่างๆ ทีจะนํามาใช้เพือ
ช่วยให้ผู้เรียนได้รับความรู้ โดยเน้นการใช้วิธีการต่างๆ อาทิ
สถานการณ์จําลอง การค้นพบ การแก้ปัญหา และการเรียนแบบ
ร่วมมือ สําหรับผู้เรียนจะได้รับประสบการณ์การแก้ปัญหาทีสอดคล้อง
กับสภาพชีวิตจริง
Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
วิธีการประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการจัดการเรียนรู้
1. สิงแวดล้อมทางการเรียนรู้
เป็นการบูรณาการเทคโนโลยีสารสนเทศในการจัดการเรียนรู้
ทีนําทฤษฎีการเรียนรู้มาเป็นพืนฐานการออกแบบร่วมกับสือหรือ
เทคโนโลยีสารสนเทศ ทีประกอบด้วยสถานการณ์ปัญหาทีกระตุ้นให้
ผู้เรียนเรียนรู้ แหล่งการเรียนรู้ชนิดต่างๆ ทีจัดเตรียมไว้สําหรับให้
ผู้เรียนค้นหาคําตอบ มีฐานการช่วยเหลือไว้คอยสนับสนุนผู้เรียนใน
กรณีทีไม่สามารถแก้ปัญหาได้ ตลอดจนการเรียนรู้แบบร่วมมือกัน
แก้ปัญหาทีสนับสนุนให้ผู้เรียนขยายมุมมองแนวคิดต่างๆ สิงแวดล้อม
ทางการเรียนรู้
Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
ในปัจจุบันสามารถแยกตามคุณลักษณะของสือได้ 3 รูปแบบ คือ
(1) สิงแวดล้อมทางการเรียนรู้บนเครือข่าย
(2) มัลติมีเดียทีพัฒนาตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
(3) ชุดการสร้างความรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
2. อินเทอร์เน็ต
อินเตอร์เน็ตเป็นเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ซึงประกอบด้วย
เครือข่ายย่อย และเครือข่ายใหญ่สลับซับซ้อนมากมาย โดยใช้ในการ
ติดต่อสือสาร ข้อความรูปภาพ เสียงและอืนๆ โดยผ่านระบบเครือข่าย
คอมพิวเตอร์ ทีมีผู้ใช้งานกระจายกันอยู่ทัวโลก
Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
3. การเรียนการสอนโดยใช้เว็บเป็นหลัก
เป็นการจัดการเรียนทีมีสภาพการเรียนต่างไปจากรูปแบบเดิม
การเรียนการสอนแบบนี อาศัยศักยภาพและความสามารถของเครือข่าย
อินเทอร์เน็ต ซึงเป็นการนําเอาสือการเรียนการสอนทีเป็นเทคโนโลยีมา
ช่วยสนับสนุนการเรียนการสอน ให้เกิดการเรียนรู้ การสืบค้นข้อมูล และ
เชือมโยงเครือข่าย ทําให้ผู้เรียนสามารถเรียนได้ทุกสถานทีและทุกเวลา
Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
การจัดการเรียนการสอนลักษณะนี มีชือเรียกหลายชือ ได้แก่
 การเรียนการสอนผ่านเว็บ (Web-based Instruction)
 การฝึกอบรมผ่านเว็บ (Web-based Training)
 การเรียนการสอนผ่านเวิล์ดไวด์เว็บ (www-based Instruction)
 การสอนผ่านสือทางอิเล็กทรอนิกส์ (e-learning) เป็นต้น
Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
4. การเรียนรู้แบบออนไลน์ (E-learning)
การเรียนรู้แบบออนไลน์ หรือ E-learning การเรียนรู้
แบบออนไลน์เป็นการศึกษา เรียนรู้ผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์
อินเทอร์เน็ต (Internet) หรืออินทราเน็ต (Intranet) เป็นการ
เรียนรู้ด้วยตัวเอง ผู้เรียนจะได้เรียนตามความสามารถและความสนใจ
ของตน โดยเนือหาของบทเรียนจะถูกส่งไปยังผู้เรียนผ่านเว็บ
เบราว์เซอร์ (Web Browser) โดยผู้เรียน ผู้สอน และเพือนร่วม
ชันเรียนทุกคน สามารถติดต่อ ปรึกษา แลกเปลียนความคิดเห็น
ระหว่างกันได้
Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
เช่นเดียวกับการเรียนในชันเรียนปกติ โดยอาศัยเครืองมือการติดต่อ
สือสารทีทันสมัย สําหรับทุกคนทีสามารถเรียนรู้ได้ทุกเวลา และทุก
สถานที (Learn for all : anyone, anywhere and
anytime)
5. หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-books)
หนังสือ อยู่ในรูปแบบดิจิตอล โดยแสดงให้เห็นบน
จอคอมพิวเตอร์ เป็นหนังสือถูกนํามาจัดพิมพ์ในรูปแบบดิจิตอล ใน
รูปแบบของตัวอักษร ทังลักษณะภาพ ดิจิตอล ภาพอนิเมชัน วิดีโอ
ภาพเคลือนไหวต่อเนือง คําพูด เสียงดนตรีและเสียงอืนๆ
Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
6. ห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์ (E-library)
มาจากคําว่า Electronic Library หรือห้องสมุด
อิเล็กทรอนิกส์ หมายถึง แหล่งความรู้ทีบันทึกข้อมูลไว้ในเครือง
คอมพิวเตอร์แม่ข่ายและให้บริการสารสนเทศทางอิเล็กทรอนิกส์หรือ
ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ในลักษณะผสมผสานการทํางานของระบบ
ห้องสมุดอัตโนมัติห้องสมุดดิจิตอล
Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
7. แผนการจัดการเรียนรู้
กรอบแนวคิดในการจัดกระบวนการเรียนรู้
Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
8. คอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI
(Computer–Assisted Instruction)
เป็นการนําเอาเทคโนโลยี รวมกับการออกแบบโปรแกรมการ
สอน มาใช้ช่วย การจัดโปรแกรมการสอนโดยใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอน
ในปัจจุบันมักอยู่ในรูปของสือประสม (Multimedia) ซึงหมายถึง
นําเสนอได้ทังภาพ ข้อความ เสียง ภาพเคลือนไหวฯลฯ โปรแกรมช่วย
สอนนีเหมาะกับการศึกษาด้วยตนเอง และเปิดโอกาสให้ผู้เรียนสามารถ
โต้ตอบ กับบทเรียนได้ตลอด จนมีผลป้ อนกลับเพือให้ผู้เรียนรู้
บทเรียนได้อย่างถูกต้อง และเข้าใจในเนือหาวิชาของบทเรียนนันๆ
Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
9. วิดีโอเทเลคอนเฟอเรนซ์
การประชุมทางจอภาพ โดยใช้เทคโนโลยีการสือสารทีทันสมัย
เป็นการประชุมร่วมกันระหว่างบุคคล หรือคณะบุคคลทีอยู่ต่างสถานที
และห่างไกลกันโดยใช้สือทางด้านมัลติมีเดีย ทีให้ทังภาพเคลือนไหว
ภาพนิง เสียง และข้อมูลตัวอักษร ในการประชุมเวลาเดียวกัน และเป็น
การสือสาร 2 ทาง จึงทําให้ดูเหมือนว่าได้เข้าร่วมประชุมร่วมกัน
ตามปกติ ด้านการศึกษาวิดีโอเทเลคอนเฟอเรนซ์ทําให้ผู้เรียนและ
ผู้สอนสามารถติดต่อสือสารกันได้ ผ่านทางจอภาพ โทรทัศน์และเสียง
Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
10. ระบบวิดีโอออนดีมานด์ (Video on Demand)
เป็นระบบใหม่ทีกําลังได้รับความนิยมนํามาใช้ ในหลาย
ประเทศเช่น ญีปุ่นและสหรัฐอเมริกา โดยอาศัยเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ความเร็วสูง ทําให้ผู้ชมตามบ้านเรือนต่าง ๆ สามารถเลือกรายการวีดี
ทัศน์ ทีตนเองต้องการชมได้โดยเลือกตามรายการ (Menu) และ
เลือกชมได้ เมือผู้ใช้ต้องการเลือกชมรายการใด ก็เลือกได้จาก
ฐานข้อมูลทีต้องการ ระบบวิดีโอออนดีมานด์จึงเป็นระบบทีจะนํามาใช้ใน
เรืองการเรียนการสอนทางไกลได้โดยไม่มีข้อจํากัดด้านเวลา ผู้เรียน
สามารถเลือกเรียนในสิงทีตนเองต้องการเรียนหรือสนใจได้
Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
3. ให้ท่านพิจารณาเลือกใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ เพือเพิมประสิทธิภาพ
การจัดการเรียนรู้ตามบริบทของโรงเรียนทีกําหนดให้ต่อไปนี พร้อมทัง
ให้เหตุผลประกอบการอธิบาย
โรงเรียนบ้านหนองงูเห่า เป็นโรงเรียนทีอยู่ห่างไกลในถิน
ทุรกันดาร โรงเรียนมีคอมพิวเตอร์สามเครือง มีโทรทัศน์ ไม่มีสัญญาณ
โทรศัพท์
โรงเรียนบ้านหนองงูเห่าควรใช้เทคโนโลยีสารสนเทศทีไม่
จําเป็นต้องใช้เครืองมือมากนัก เช่น วิดีโอและวีดีทัศน์ประกอบการเรียน
การสอน โดยการนําเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ควรคํานึงถึง
กระบวนการจัดการเรียนรู้ดังนี
Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
ข้อดีของการนําวิดีโอและวีดีทัศน์มาใช้
1. สามารถนําสิงทีอยู่ภายนอกห้องเรียนเข้ามาสู่นักเรียนในห้องได้
2. สามารถใช้เทคนิคในการถ่ายทําเพือให้นักเรียนได้เห็นสิงทีเล็กมากๆ
ได้อย่างชัดเจนด้วยตาเปล่า ทังนีก็ด้วยวิธีการถ่ายทํา คือ การจับภาพ
ระยะใกล้ (Close up) (Extreme Close up) หรือให้ได้เห็นภาพ
แบบกว้างไกล (Long shot and Wide angle)
3. สามารถใช้เทคนิคการถ่ายทําให้นักเรียนเห็น และเกิดความเข้าใจใน
กระบวนการบางอย่างซึงมนุษย์เราไม่สามารถเห็นได้ตามปกติ เช่น
เทคนิคการถ่ายทําภาพอนิเมชัน (Animation) ช่วยทําให้สิงทีไม่มี
ชีวิตเคลือนไหวได้เหมือนกับสิงมีชีวิต
Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
4. สามารถใช้เทคนิคการซ้อนภาพ (Superimposition) จาก
แหล่งสัญญาณภาพ 2 แหล่งให้ปรากฏอยู่ในจอได้ในเวลาเดียวกัน
5. สามารถเสนอภาพ และเสียงจากสืออืน ๆ ทีใช้กันในสถานการณ์
การเรียนการสอนได้เกือบทุกชนิด ซึงทําให้รายการสอนนันน่าสนใจ
และชวนให้น่าติดตามมากขึน
6. สามารถตัดต่อแก้ไข หรือเพิมเติมเนือหาให้ทันสมัยอยู่เสมอ ทําให้
การเรียนการสอนเกิดประโยชน์ตรงกับความต้องการของผู้สอน โดยไม่
สินเปลืองเวลา และค่าใช้จ่ายมากขึน
Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
7. สามารถเผยแพร่ความรู้ออกไปได้อย่างกว้างขวาง เครืองมือทีใช้ใน
การบันทึกภาพมีขนาดเล็ก จึงสามารถนําไปถ่ายทํารายการได้สะดวก
สามารถบันทึกเหตุการณ์ หรือเรืองราวทีเกิดขึนได้ในทันที และเก็บไว้
สอนต่อไปได้ไม่จํากัดเวลา และสถานที และเมือสอบไปแล้วจะนํามาสอน
อีกกีครังก็ได้
8. วีดีทัศน์ เอืออํานวยให้การเรียนการสอนเกิดประสิทธิภาพสูงสุดได้
เพราะสามารถดูซําได้หลายครังจนกว่าจะเข้าใจหรือจดจําได้
9. วีดีทัศน์สามารถช่วยครูผู้สอนได้ด้วยการบันทึกภาพการสอนของครู
แล้วนํามาเปิดชมเพือตรวจสอบความบกพร่อง และข้อผิดพลาดนัน ๆ
เพือพัฒนาการสอนให้ได้ผลดียิงขึนได้ตลอดเวลา
Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
โรงเรียนมัธยมไฮโซเบตง เป็นโรงเรียนทีตังอยู่ในเมือง มีความ
พร้อมทางด้านสือ เทคโนโลยี มีห้องคอมพิวเตอร์ มีระบบอินเตอร์เน็ต
ความเร็วสูง แต่ครูมีไม่เพียงพอเนืองจากย้ายหนีเหตุการณ์ความไม่สงบ
โรงเรียนมัธยมไฮโซเบตง ควรเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที
มีความทันสมัย และการทีโรงเรียนขาดครูทีจะสอนนักเรียน ทางโรงเรียน
จึงควรทีจะเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศทีนักเรียนสามารถทีจะศึกษา
หาความรู้ได้ด้วยตนเอง เช่น อินเตอร์เน็ต การเรียนรู้แบบออนไลน์
(E-Learning) หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-Book) และการใช้
คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI)
Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
ข้อดีสําหรับเทคโนโลยีสารสนเทศแต่ละประเภท
1. อินเตอร์เน็ต อินเตอร์เน็ตเปรียบเสมือนโลกทีกว้างใหญ่ไพศาลทีเรา
จะสามารถเข้าไปค้นหาได้เพียงแค่ปลายนิวสัมผัส ผู้เรียนสามารถทีจะ
ศึกษาหาความรู้ด้วยตนเองผ่านทางช่องทางนีได้
2. การเรียนรู้แบบออนไลน์ (E-Learning)
2.1 ยืดหยุ่นในการปรับเปลียนเนือหาและสะดวกในการเรียน
การเรียนการสอนผ่านระบบ e-Learning นันง่ายต่อการ
แก้ไขเนือหา และกระทําได้ตลอดเวลา เพราะสามารถกระทําได้ตามใจ
ของผู้สอน เนืองจากระบบการผลิตจะใช้ คอมพิวเตอร์เป็นองค์ประกอบ
หลัก นอกจากนีผู้เรียนก็สามารถเรียนโดยไม่จํากัดเวลาและสถานที
Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
2.2 เข้าถึงได้ง่ายและสามารถศึกษาด้วยตนเองได้
ผู้เรียนและผู้สอนสามารถเข้าถึง e-learning ได้ง่าย
โดยมากจะใช้ web browser ของค่ายใดก็ได้ (แต่ทังนีต้องขึนอยู่
กับผู้ผลิตบทเรียน อาจจะแนะนําให้ใช้ web browser แบบใดที
เหมาะกับสือการเรียนการสอนนันๆ) ผู้เรียนสามารถเรียนจากเครือง
คอมพิวเตอร์ทีใดก็ได้ และในปัจจุบันนี การเข้าถึงเครือข่าย
อินเตอร์เน็ตกระทําได้ง่ายขึนมาก และยังมีค่าเชือมต่ออินเตอร์เน็ตที
มีราคาตําลงมากว่าแต่ก่อนอีกด้วย
Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
2.3 ปรับปรุงข้อมูลให้ทันสมัยกระทําได้ง่าย
เนืองจากผู้สอน หรือผู้สร้างสรรค์งาน e-Learning
จะสามารถเข้าถึง server ได้จากทีใดก็ได้ การแก้ไขข้อมูลและการ
ปรับปรุงข้อมูลจึงทําได้ทันเวลาด้วยความรวดเร็ว
2.4 ประหยัดเวลา และค่าเดินทาง
ผู้เรียนสามารถเรียนโดยใช้เครืองคอมพิวเตอร์เครืองใดก็ได้
โดยจําเป็นต้องไปโรงเรียน หรือทีทํางาน รวมทังไม่จําเป็นต้องใช้เครือง
คอมพิวเตอร์เครืองประจําก็ได้ ซึงเป็นการประหยัดเวลามาก การเรียน
การสอน หรือการฝึกอบรมด้วยระบบ e-Learning นี จะสามารถ
ประหยัดเวลาถึง 50% ของเวลาทีใช้ครูสอน หรืออบรม
Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
3. หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-Book)
3.1 ผู้เรียนสามารถศึกษาค้นคว้าหาความรู้ได้ด้วยตนเอง
3.2 ไม่เปลืองเนือทีในการเก็บหนังสือ
3.3 อ่านหนังสือได้จากทุกทีทีมีการเชือมต่ออินเตอร์เน็ต
3.4 ขันตอนง่ายในการอ่าน และค้นหาหนังสือ
3.5 ประหยัดการตัดไม้ทําลายป่า เพราะไม่ต้องตัดไม้มาทํากระดาษ
3.6 หนังสือมีความคงทนมากกว่าหนังสือแบบเป็นเล่มทัวไปจึงง่าย
ต่อการรักษาสภาพของหนังสือ
Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
4. การใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI)
4.1 สามารถตอบสนองการเรียนรู้ส่วนบุคคลได้ ซึงผู้เรียน
สามารถเรียนรู้ตามระดับความสามารถและอัตราความเร็วตามที
ต้องการ
4.2 สามารถสร้างแรงจูงใจในการเรียนโดยการใช้สี เสียงและ
ภาพ รวมทังการออกแบบโปรแกรมทีน่าสนใจ
4.3 สามารถคิดคํานวณได้รวดเร็วและแม่นยํา ช่วยให้ผู้เรียน
เรียนวิชาคณิตศาสตร์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
4.4 ช่วยสอนความคิดรวบยอด (Concept) และทําให้ผู้เรียน
เกิดการเรียนรู้ได้เป็นอย่างดี
4.5 สามารถเรียนได้อย่างไม่จํากัดเวลา และทบทวนได้ตามที
ต้องการ
4.6 สามารถจัดแผนการสอนได้ดีด้วยการทีผู้สอนสร้างโปรแกรม
ทีมีขันตอนและระบบทีดี เช่น มีจุดมุ่งหมาย สอนเนือหา ทดสอบและ
ให้ผลย้อนกลับ และยังสามารถเก็บข้อมูลผู้เรียน วิเคราะห์และเสนอผล
การประเมินได้
ทังนีการเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศควรจะพิจารณาในเรือง
ของการวางแผนการจัดการเรียนรู้ด้วย
Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
สมาชิกกลุ่ม
1. นายชินวัตร ชาวันดี รหัสนักศึกษา 553050067-9
2. นายธีรศักดิ นันทสาร รหัสนักศึกษา 553050291-4
สาขาคณิตศาสตรศึกษา คณะศึกษาศาสตร์
มหาวิทยาลัยขอนแก่น

More Related Content

What's hot

งานนำเสนอ
งานนำเสนองานนำเสนอ
งานนำเสนอguest082d95
 
E learning กับ social media จะไปด้วยกันอย่างไรเพื่อพัฒนาการศึกษาไทย
E learning กับ social media จะไปด้วยกันอย่างไรเพื่อพัฒนาการศึกษาไทยE learning กับ social media จะไปด้วยกันอย่างไรเพื่อพัฒนาการศึกษาไทย
E learning กับ social media จะไปด้วยกันอย่างไรเพื่อพัฒนาการศึกษาไทยKobwit Piriyawat
 
เอกสารประกอบการอบรมการสร้างเว็บไซต์ด้วยเวิร์ดเพรส รวมขึ้นเว็บ
เอกสารประกอบการอบรมการสร้างเว็บไซต์ด้วยเวิร์ดเพรส รวมขึ้นเว็บเอกสารประกอบการอบรมการสร้างเว็บไซต์ด้วยเวิร์ดเพรส รวมขึ้นเว็บ
เอกสารประกอบการอบรมการสร้างเว็บไซต์ด้วยเวิร์ดเพรส รวมขึ้นเว็บKobwit Piriyawat
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6Pari Za
 
Learning Space: Design Tips for Classroom ห้องสมุด ในยุค 4.0
Learning Space: Design Tips for Classroom ห้องสมุด ในยุค 4.0Learning Space: Design Tips for Classroom ห้องสมุด ในยุค 4.0
Learning Space: Design Tips for Classroom ห้องสมุด ในยุค 4.0Surapon Boonlue
 
งานกลุ่ม Chapter 6
งานกลุ่ม Chapter 6งานกลุ่ม Chapter 6
งานกลุ่ม Chapter 6Pronsawan Petklub
 
Smart learning environment
Smart learning environmentSmart learning environment
Smart learning environmentTar Bt
 
Smart Learning มิติใหม่ในยุคการศึกษา 4.0
Smart Learning  มิติใหม่ในยุคการศึกษา 4.0Smart Learning  มิติใหม่ในยุคการศึกษา 4.0
Smart Learning มิติใหม่ในยุคการศึกษา 4.0Surapon Boonlue
 
ทักษะการเรียนรู้ด้วยตนเอง กศน
ทักษะการเรียนรู้ด้วยตนเอง กศนทักษะการเรียนรู้ด้วยตนเอง กศน
ทักษะการเรียนรู้ด้วยตนเอง กศนpeter dontoom
 
Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาChapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาPan Kannapat Hengsawat
 
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษาN'Fern White-Choc
 
เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาFern's Supakyada
 
งานนำเสนอบทท 6จ_า (1)
งานนำเสนอบทท   6จ_า (1)งานนำเสนอบทท   6จ_า (1)
งานนำเสนอบทท 6จ_า (1)Naparat Sriton
 
ภารกิจในบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
ภารกิจในบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษาภารกิจในบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
ภารกิจในบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษาB'nust Thaporn
 
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยี
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยี
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีPennapa Kumpang
 
บทที่6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
บทที่6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาบทที่6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
บทที่6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาjanepi49
 

What's hot (19)

งานนำเสนอ
งานนำเสนองานนำเสนอ
งานนำเสนอ
 
E learning กับ social media จะไปด้วยกันอย่างไรเพื่อพัฒนาการศึกษาไทย
E learning กับ social media จะไปด้วยกันอย่างไรเพื่อพัฒนาการศึกษาไทยE learning กับ social media จะไปด้วยกันอย่างไรเพื่อพัฒนาการศึกษาไทย
E learning กับ social media จะไปด้วยกันอย่างไรเพื่อพัฒนาการศึกษาไทย
 
เอกสารประกอบการอบรมการสร้างเว็บไซต์ด้วยเวิร์ดเพรส รวมขึ้นเว็บ
เอกสารประกอบการอบรมการสร้างเว็บไซต์ด้วยเวิร์ดเพรส รวมขึ้นเว็บเอกสารประกอบการอบรมการสร้างเว็บไซต์ด้วยเวิร์ดเพรส รวมขึ้นเว็บ
เอกสารประกอบการอบรมการสร้างเว็บไซต์ด้วยเวิร์ดเพรส รวมขึ้นเว็บ
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
 
Learning Space: Design Tips for Classroom ห้องสมุด ในยุค 4.0
Learning Space: Design Tips for Classroom ห้องสมุด ในยุค 4.0Learning Space: Design Tips for Classroom ห้องสมุด ในยุค 4.0
Learning Space: Design Tips for Classroom ห้องสมุด ในยุค 4.0
 
งานกลุ่ม Chapter 6
งานกลุ่ม Chapter 6งานกลุ่ม Chapter 6
งานกลุ่ม Chapter 6
 
Smart learning environment
Smart learning environmentSmart learning environment
Smart learning environment
 
Smart Learning มิติใหม่ในยุคการศึกษา 4.0
Smart Learning  มิติใหม่ในยุคการศึกษา 4.0Smart Learning  มิติใหม่ในยุคการศึกษา 4.0
Smart Learning มิติใหม่ในยุคการศึกษา 4.0
 
ทักษะการเรียนรู้ด้วยตนเอง กศน
ทักษะการเรียนรู้ด้วยตนเอง กศนทักษะการเรียนรู้ด้วยตนเอง กศน
ทักษะการเรียนรู้ด้วยตนเอง กศน
 
Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาChapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
 
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
 
เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
 
บทท 6
บทท   6บทท   6
บทท 6
 
งานนำเสนอบทท 6จ_า (1)
งานนำเสนอบทท   6จ_า (1)งานนำเสนอบทท   6จ_า (1)
งานนำเสนอบทท 6จ_า (1)
 
Chapter6
Chapter6Chapter6
Chapter6
 
ภารกิจในบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
ภารกิจในบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษาภารกิจในบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
ภารกิจในบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
 
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยี
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยี
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยี
 
presentation 6
presentation 6presentation 6
presentation 6
 
บทที่6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
บทที่6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาบทที่6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
บทที่6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
 

Viewers also liked

แนวโน้มโลกด้าน IoT 2016
แนวโน้มโลกด้าน IoT 2016แนวโน้มโลกด้าน IoT 2016
แนวโน้มโลกด้าน IoT 2016IMC Institute
 
13 the fourth generation of instructional system development model
13 the fourth generation of instructional system development model13 the fourth generation of instructional system development model
13 the fourth generation of instructional system development modelKruBeeKa
 
Tablet pc สื่อการศึกษาไทยในศตวรรษที่ 21
Tablet pc สื่อการศึกษาไทยในศตวรรษที่ 21Tablet pc สื่อการศึกษาไทยในศตวรรษที่ 21
Tablet pc สื่อการศึกษาไทยในศตวรรษที่ 21KruBeeKa
 
โซเชียลมีเดียกับการศึกษาไทย
โซเชียลมีเดียกับการศึกษาไทยโซเชียลมีเดียกับการศึกษาไทย
โซเชียลมีเดียกับการศึกษาไทยKruBeeKa
 
การพัฒนาการเรียนการสอนผ่านเว็บบล็อก เรื่อง คำสั่งพื้นฐานของ Visual Basic ในรา...
การพัฒนาการเรียนการสอนผ่านเว็บบล็อก เรื่อง คำสั่งพื้นฐานของ Visual Basic ในรา...การพัฒนาการเรียนการสอนผ่านเว็บบล็อก เรื่อง คำสั่งพื้นฐานของ Visual Basic ในรา...
การพัฒนาการเรียนการสอนผ่านเว็บบล็อก เรื่อง คำสั่งพื้นฐานของ Visual Basic ในรา...Usmaan Hawae
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องSupaporn Pakdeemee
 
Chapter7 นวัตกรรมทางการศึกษา
Chapter7 นวัตกรรมทางการศึกษาChapter7 นวัตกรรมทางการศึกษา
Chapter7 นวัตกรรมทางการศึกษาPrakaidao Suebwong
 
นวัตกรรมการศึกษา
นวัตกรรมการศึกษานวัตกรรมการศึกษา
นวัตกรรมการศึกษาauei angkana
 
IT Trends eMagazine
IT Trends eMagazine IT Trends eMagazine
IT Trends eMagazine IMC Institute
 
บทที่ 7 นวัตกรรมการศึกษา
บทที่ 7 นวัตกรรมการศึกษาบทที่ 7 นวัตกรรมการศึกษา
บทที่ 7 นวัตกรรมการศึกษาParitat Pichitmal
 
แบบทดสอบ รายวิชา 0503101 เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษากับการศึกษาร่วมสมัย
แบบทดสอบ  รายวิชา 0503101 เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษากับการศึกษาร่วมสมัยแบบทดสอบ  รายวิชา 0503101 เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษากับการศึกษาร่วมสมัย
แบบทดสอบ รายวิชา 0503101 เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษากับการศึกษาร่วมสมัยศุภเชษฐ์ สีหาราช
 
รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา โดยกอบวิทย์...
รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา  โดยกอบวิทย์...รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา  โดยกอบวิทย์...
รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา โดยกอบวิทย์...Kobwit Piriyawat
 
เทคโนโลยี Cloud Computing สำหรับงานสถาบันการศึกษา
เทคโนโลยี  Cloud Computing  สำหรับงานสถาบันการศึกษาเทคโนโลยี  Cloud Computing  สำหรับงานสถาบันการศึกษา
เทคโนโลยี Cloud Computing สำหรับงานสถาบันการศึกษาIMC Institute
 
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55Decode Ac
 
เอกสารประกอบการเรียนการสอนทฤษฎีความรู้ Tok วิทยาศาสตร์ ม.1 ขึ้นเว็บไซต์
เอกสารประกอบการเรียนการสอนทฤษฎีความรู้ Tok วิทยาศาสตร์ ม.1 ขึ้นเว็บไซต์เอกสารประกอบการเรียนการสอนทฤษฎีความรู้ Tok วิทยาศาสตร์ ม.1 ขึ้นเว็บไซต์
เอกสารประกอบการเรียนการสอนทฤษฎีความรู้ Tok วิทยาศาสตร์ ม.1 ขึ้นเว็บไซต์Kobwit Piriyawat
 

Viewers also liked (18)

แนวโน้มโลกด้าน IoT 2016
แนวโน้มโลกด้าน IoT 2016แนวโน้มโลกด้าน IoT 2016
แนวโน้มโลกด้าน IoT 2016
 
Innovation chapter 6
Innovation chapter 6Innovation chapter 6
Innovation chapter 6
 
13 the fourth generation of instructional system development model
13 the fourth generation of instructional system development model13 the fourth generation of instructional system development model
13 the fourth generation of instructional system development model
 
Tablet pc สื่อการศึกษาไทยในศตวรรษที่ 21
Tablet pc สื่อการศึกษาไทยในศตวรรษที่ 21Tablet pc สื่อการศึกษาไทยในศตวรรษที่ 21
Tablet pc สื่อการศึกษาไทยในศตวรรษที่ 21
 
โซเชียลมีเดียกับการศึกษาไทย
โซเชียลมีเดียกับการศึกษาไทยโซเชียลมีเดียกับการศึกษาไทย
โซเชียลมีเดียกับการศึกษาไทย
 
การพัฒนาการเรียนการสอนผ่านเว็บบล็อก เรื่อง คำสั่งพื้นฐานของ Visual Basic ในรา...
การพัฒนาการเรียนการสอนผ่านเว็บบล็อก เรื่อง คำสั่งพื้นฐานของ Visual Basic ในรา...การพัฒนาการเรียนการสอนผ่านเว็บบล็อก เรื่อง คำสั่งพื้นฐานของ Visual Basic ในรา...
การพัฒนาการเรียนการสอนผ่านเว็บบล็อก เรื่อง คำสั่งพื้นฐานของ Visual Basic ในรา...
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
Health infor app
Health infor appHealth infor app
Health infor app
 
Chapter7 นวัตกรรมทางการศึกษา
Chapter7 นวัตกรรมทางการศึกษาChapter7 นวัตกรรมทางการศึกษา
Chapter7 นวัตกรรมทางการศึกษา
 
นวัตกรรมการศึกษา
นวัตกรรมการศึกษานวัตกรรมการศึกษา
นวัตกรรมการศึกษา
 
IT Trends eMagazine
IT Trends eMagazine IT Trends eMagazine
IT Trends eMagazine
 
นวัตกรรมทางการศึกษา
นวัตกรรมทางการศึกษานวัตกรรมทางการศึกษา
นวัตกรรมทางการศึกษา
 
บทที่ 7 นวัตกรรมการศึกษา
บทที่ 7 นวัตกรรมการศึกษาบทที่ 7 นวัตกรรมการศึกษา
บทที่ 7 นวัตกรรมการศึกษา
 
แบบทดสอบ รายวิชา 0503101 เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษากับการศึกษาร่วมสมัย
แบบทดสอบ  รายวิชา 0503101 เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษากับการศึกษาร่วมสมัยแบบทดสอบ  รายวิชา 0503101 เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษากับการศึกษาร่วมสมัย
แบบทดสอบ รายวิชา 0503101 เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษากับการศึกษาร่วมสมัย
 
รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา โดยกอบวิทย์...
รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา  โดยกอบวิทย์...รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา  โดยกอบวิทย์...
รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา โดยกอบวิทย์...
 
เทคโนโลยี Cloud Computing สำหรับงานสถาบันการศึกษา
เทคโนโลยี  Cloud Computing  สำหรับงานสถาบันการศึกษาเทคโนโลยี  Cloud Computing  สำหรับงานสถาบันการศึกษา
เทคโนโลยี Cloud Computing สำหรับงานสถาบันการศึกษา
 
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
 
เอกสารประกอบการเรียนการสอนทฤษฎีความรู้ Tok วิทยาศาสตร์ ม.1 ขึ้นเว็บไซต์
เอกสารประกอบการเรียนการสอนทฤษฎีความรู้ Tok วิทยาศาสตร์ ม.1 ขึ้นเว็บไซต์เอกสารประกอบการเรียนการสอนทฤษฎีความรู้ Tok วิทยาศาสตร์ ม.1 ขึ้นเว็บไซต์
เอกสารประกอบการเรียนการสอนทฤษฎีความรู้ Tok วิทยาศาสตร์ ม.1 ขึ้นเว็บไซต์
 

Similar to Innovation Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศ

Chapter 6
Chapter 6Chapter 6
Chapter 6Zhao Er
 
Chapter 06
Chapter 06Chapter 06
Chapter 06ukbass13
 
Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาChapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาAomJi Math-ed
 
Chapter 6 (INTRODUCTION TECHNOLOGIES AND EDUCATIONAL MEDIA)
Chapter 6 (INTRODUCTION TECHNOLOGIES AND EDUCATIONAL MEDIA)Chapter 6 (INTRODUCTION TECHNOLOGIES AND EDUCATIONAL MEDIA)
Chapter 6 (INTRODUCTION TECHNOLOGIES AND EDUCATIONAL MEDIA)Jutharat_thangsattayawiroon
 
Powerpoint6
Powerpoint6Powerpoint6
Powerpoint6tross999
 
chapter 6 information technology for learning
chapter 6 information technology for learningchapter 6 information technology for learning
chapter 6 information technology for learningPacharaporn087-3
 
Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาChapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาWuth Chokcharoen
 
Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาChapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาAa-bb Sangwut
 
เทคโนโลย สารสนเทศเพ _อการเร_ยนร__
เทคโนโลย สารสนเทศเพ _อการเร_ยนร__เทคโนโลย สารสนเทศเพ _อการเร_ยนร__
เทคโนโลย สารสนเทศเพ _อการเร_ยนร__Chanaaun Ying
 
The new 3 e’s of education
The new 3 e’s of educationThe new 3 e’s of education
The new 3 e’s of educationJucian Seeya
 

Similar to Innovation Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศ (20)

Chapter 6
Chapter 6Chapter 6
Chapter 6
 
Chapter 06
Chapter 06Chapter 06
Chapter 06
 
Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาChapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
 
Chapter 6 (INTRODUCTION TECHNOLOGIES AND EDUCATIONAL MEDIA)
Chapter 6 (INTRODUCTION TECHNOLOGIES AND EDUCATIONAL MEDIA)Chapter 6 (INTRODUCTION TECHNOLOGIES AND EDUCATIONAL MEDIA)
Chapter 6 (INTRODUCTION TECHNOLOGIES AND EDUCATIONAL MEDIA)
 
Powerpoint6
Powerpoint6Powerpoint6
Powerpoint6
 
Chapter 6
Chapter 6Chapter 6
Chapter 6
 
Chapter 6
Chapter 6Chapter 6
Chapter 6
 
chapter 6 information technology for learning
chapter 6 information technology for learningchapter 6 information technology for learning
chapter 6 information technology for learning
 
นวัต6เทคโนโลยีการศึกษา
นวัต6เทคโนโลยีการศึกษานวัต6เทคโนโลยีการศึกษา
นวัต6เทคโนโลยีการศึกษา
 
Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาChapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
 
Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาChapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
 
Lesson6
Lesson6Lesson6
Lesson6
 
Chapter 6
Chapter 6Chapter 6
Chapter 6
 
Chapter 6
Chapter 6Chapter 6
Chapter 6
 
Chapter 6
Chapter 6Chapter 6
Chapter 6
 
Chapter 6
Chapter 6Chapter 6
Chapter 6
 
Ch6 cognitive weapons 201700
Ch6 cognitive weapons 201700Ch6 cognitive weapons 201700
Ch6 cognitive weapons 201700
 
เทคโนโลย สารสนเทศเพ _อการเร_ยนร__
เทคโนโลย สารสนเทศเพ _อการเร_ยนร__เทคโนโลย สารสนเทศเพ _อการเร_ยนร__
เทคโนโลย สารสนเทศเพ _อการเร_ยนร__
 
แนวทาง Tok
แนวทาง Tokแนวทาง Tok
แนวทาง Tok
 
The new 3 e’s of education
The new 3 e’s of educationThe new 3 e’s of education
The new 3 e’s of education
 

More from Teerasak Nantasan

Chapter 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
Chapter 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้Chapter 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
Chapter 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้Teerasak Nantasan
 
Chapter 8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
Chapter 8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอนChapter 8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
Chapter 8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอนTeerasak Nantasan
 
Chapter1 เทคโนโลยีนวัตกรรม และสื่อการศึกษา
Chapter1 เทคโนโลยีนวัตกรรม และสื่อการศึกษาChapter1 เทคโนโลยีนวัตกรรม และสื่อการศึกษา
Chapter1 เทคโนโลยีนวัตกรรม และสื่อการศึกษาTeerasak Nantasan
 
Chapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
Chapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษาChapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
Chapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษาTeerasak Nantasan
 
Chapter 5 (computer for learning)
Chapter 5 (computer for learning)Chapter 5 (computer for learning)
Chapter 5 (computer for learning)Teerasak Nantasan
 
Cognitive learning theories and its implication on science classroom teaching...
Cognitive learning theories and its implication on science classroom teaching...Cognitive learning theories and its implication on science classroom teaching...
Cognitive learning theories and its implication on science classroom teaching...Teerasak Nantasan
 
Chapter4 สื่อการเรียนรู้
Chapter4 สื่อการเรียนรู้Chapter4 สื่อการเรียนรู้
Chapter4 สื่อการเรียนรู้Teerasak Nantasan
 

More from Teerasak Nantasan (7)

Chapter 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
Chapter 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้Chapter 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
Chapter 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
 
Chapter 8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
Chapter 8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอนChapter 8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
Chapter 8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
 
Chapter1 เทคโนโลยีนวัตกรรม และสื่อการศึกษา
Chapter1 เทคโนโลยีนวัตกรรม และสื่อการศึกษาChapter1 เทคโนโลยีนวัตกรรม และสื่อการศึกษา
Chapter1 เทคโนโลยีนวัตกรรม และสื่อการศึกษา
 
Chapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
Chapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษาChapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
Chapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
 
Chapter 5 (computer for learning)
Chapter 5 (computer for learning)Chapter 5 (computer for learning)
Chapter 5 (computer for learning)
 
Cognitive learning theories and its implication on science classroom teaching...
Cognitive learning theories and its implication on science classroom teaching...Cognitive learning theories and its implication on science classroom teaching...
Cognitive learning theories and its implication on science classroom teaching...
 
Chapter4 สื่อการเรียนรู้
Chapter4 สื่อการเรียนรู้Chapter4 สื่อการเรียนรู้
Chapter4 สื่อการเรียนรู้
 

Innovation Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศ