SlideShare a Scribd company logo
1 of 21
Download to read offline
โครงงานรายวิชาชีววิทยา
เรื่อง การศึกษาฮอร์โมนไซโทไคนินที่มีผลต่อจานวนใบต้นพุดซ้อน
นำเสนอ
อาจารย์วิชัย ลิขิตพรรักษ์
ครู คศ.1 สำขำชีววิทยำ กลุ่มสำระกำรเรียนรู้วิทยำศำสตร์
สมำชิกกลุ่ม
1.นายกฤตพล เทพศิลปวิสุทธิ์ เลขที่ 23
2.นายภูมิภัทร ชัยวัฒนายน เลขที่ 32
3.นายภูษณ รอดสม เลขที่ 34
4.นายวชิรวิทย์ รักษาราษฎร์ เลขที่ 35
ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 6 ห้อง 143
สำยกำรเรียนวิทยำศำสตร์คณิตศำสตร์
โครงงำนนำเสนอข้อมูลนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชำชีววิทยำ 5 (ว 30245)
ภำคเรียนที่ 1 ปีกำรศึกษำ 2560
คานา
โครงงำนฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชำชีววิทยำ 5 (ว 30245) ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 6 โรงเรียนเตรียม
อุดมศึกษำ ภำคเรียนที่ 1 ปีกำรศึกษำ 2560 มีจุดประสงค์เพื่อศึกษำเรื่องฮอร์โมนที่ใช้กับพืช โดยคณะผู้จัดทำ
ได้เลือกที่จะศึกษำฮอร์โมนไซโทไคนินที่มีผลต่อจำนวนใบของต้นพุดซ้อน โดยโครงงำนนี้จะมีเนื้อหำเกี่ยวกับ
รำยละเอียดของฮอร์โมนไซโทไคนินและต้นพุดซ้อน รวมถึงกำรทดลองทุกขั้นตอน โดยได้นำผลกำรทดลองมำ
แสดงเป็นตำรำงและกรำฟ เพื่อใช้ประกอบกำรเรียนรู้และค้นคว้ำ
ทั้งนี้คณะผู้จัดทำได้เลือกต้นพุดซ้อน เนื่องจำกพุดซ้อนเป็นต้นไม้ที่นิยมปลูกในบ้ำนเรือน และฮอร์โมน
ไซโทไคนินเป็นฮอร์โมนที่น่ำสนใจที่จะนำมำศึกษำ และขอขอบพระคุณอำจำรย์วิชัย ลิขิตพรรักษ์ เป็นอย่ำงสูง
ที่ท่ำนได้กรุณำให้คำแนะนำเพื่อแก้ไข และให้ข้อเสนอแนะตลอดกำรทำโครงงำน คณะผู้จัดทำหวังว่ำโครงงำน
ฉบับนี้จะเป็นประโยชน์ต่อผู้ที่นำไปใช้เพื่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์ตำมคำดหวัง
คณะผู้จัดทำ
สารบัญ
หน้ำ
คำนำ
สำรบัญ
ปัญหำ ที่มำและควำมสำคัญ 1
ต้นพุดซ้อน 2
ฮอร์โมนไซโทไคนิน 4
สมมติฐำนกำรทดลอง 5
จุดประสงค์กำรทดลอง 5
ตัวแปรกำรทดลอง 5
อุปกรณ์กำรทดลอง 5
ระยะเวลำกำรทดลอง 5
วิธีกำรเก็บข้อมูล 6
ขั้นตอนกำรทดลอง 7
ผลกำรทดลอง 8
สรุปและข้อเสนอแนะ 14
ภำคผนวก 15
บรรณำนุกรม 18
ปัญหา ที่มา และความสาคัญ
ปัญหา : หำกว่ำเพิ่มฮอร์โมนให้ต้นไม้สัปดำห์ละครั้ง พร้อมกับรดน้ำให้ต้นไม้ รวมถึงได้รับแสงอย่ำงเพียงพอ
และสม่ำเสมอ จะมีผลทำให้ต้นไม้มีใบเพิ่มขึ้นได้หรือไม่ และหำกปริมำณควำมเข้มข้นที่ใส่ให้ต้นไม้ไม่เท่ำกันจะ
มีผลกำรทดลองต่ำงกันหรือไม่
ที่มา และความสาคัญ :
เนื่องจำกต้นไม้เป็นสิ่งมีชีวิตอัศจรรย์ สร้ำงคุณประโยชน์มำกมำยให้กับโลกใบนี้ มีหลำยสิ่งที่ยังคงเป็น
ปริศนำเกี่ยวกับต้นไม้ ผู้จัดทำจึงได้ทำกำรทดลองนี้ขึ้นเพื่อศึกษำหำควำมจริงที่เกิดขึ้น จำกกำรเติมฮอร์โมนไซ
โทไคนินให้ต้นไม้ กำรทดลองนี้จะให้ผลอย่ำงไร ในระยะเวลำที่กำหนด คือ 8 สัปดำห์ ด้วยตัวแปรควบคุมที่
สม่ำเสมอ จะมีผลดี หรือ ผลเสียอย่ำงไรต่อต้นไม้ และแตกต่ำงจำกต้นที่เจริญขึ้นอย่ำงธรรมชำติอย่ำงไร
ผู้จัดทำจึงคิดศึกษำค้นคว้ำและทำโครงงำนเกี่ยวกับกำรศึกษำผลของฮอร์โมนไซโทไคนินต่อใบไม้ของต้นพุด
ซ้อนขึ้น อีกทั้งเรื่องฮอร์โมนยังเป็นหนึ่งในวิชำเรียนของโรงเรียนผู้จัดทำ และต้นพุดซ้อนก็เป็นหนึ่งในต้นไมที่เรำ
พบได้ในชีวิตประจำวัน หำได้ง่ำยตำมท้องตลำด อีกทั้งฮอร์โมนไซโทไคนินก็หำได้ง่ำยตำมร้ำนขำยของ
เกษตรกรรม
ข้อมูลรายละเอียดของต้นพุดซ้อน
พุดซ้อน
ชื่อวงศ์ : RUBIACEAE
ชื่อวิทยำศำสตร์ : Gardenia augusta (L.) Merr.
ชื่อพ้อง : Gardenia jasminoides J.Ellis
ชื่อสำมัญ : Cape jasmine
ชื่อพื้นเมืองอื่น : เคดถวำ (ภำคเหนือ) ; แคถวำ (เชียงใหม่) ; พุดจีน, พุดซ้อน, พุดใหญ่, (ภำคกลำง) ;
พุทธรักษำ (รำชบุรี)
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
ไม้พุ่ม (ExS) ลักษณะลำต้นคล้ำยพุดจีบ แต่จะไม่มีสีขำวอยู่ตำมลำต้นและใบ สูงประมำณ 1-2 เมตร
แตกกิ่งก้ำนจำนวนมำกเป็นพุ่มกลม
ใบ เป็นใบเดี่ยว ออกเรียงตรงข้ำมกัน ลักษณะใบรูปใบหอก กว้ำง 3-4 ซม. ยำวประมำณ 8-10 ซม.
ปลำยใบแหลม โคนใบสอบ แผ่นใบเป็นมันสีเขียวเข้ม
ดอก เป็นดอกเดี่ยวสีขำวออกตำมซอกใบและปลำยกิ่ง มีกลีบเลี้ยงหนำเป็นสัน 6 สัน มี 2 พันธุ์ คือ
พันธุ์ดอกลำ มีกลีบดอกชั้นเดียว และพันธุ์ดอกซ้อน มีกลีบดอกจำนวนมำกเรียงซ้อนกัน เมื่อดอกบำนมี
เส้นผ่ำศูนย์กลำง 7-8 ซม. กลิ่นหอมแรง ส่งกลิ่นหอมตั้งแต่เย็นถึงเช้ำ ออกดอกตลอดปี
ผล พันธุ์ดอกลำติดผลได้ มีทั้งแบบผลสั้นและแบบยำว เส้นผ่ำศูนย์กลำง 2-4 ซม. มีสันตำมแนวยำว
ของผล 4-7 สัน ผลสุกสีเหลืองอมแดง มีเมล็ดจำนวนมำก
นิเวศวิทยา
เป็นไม้กลำงแจ้ง มีถิ่นกำเนิดในประเทศจีน มักพบขึ้นตำมป่ำผลัดใบ ผสมป่ำโปร่ง และตำมชำยป่ำดง
ดิบทำงภำคเหนือ นิยมปลูกเป็นไม้ประดับตำมวัดวำอำรำมและบ้ำนเรือน
การปลูกและขยายพันธุ์
เจริญเติบโตได้ดีในดินร่วนซุย ควำมชื้นปำนกลำง ระบบระบำยน้ำดี ปลูกง่ำยเจริญเติบโตเร็ว
ขยำยพันธุ์ด้วยกำรเพำะเมล็ดหรือกำรตอนกิ่งปักชำ
ประโยชน์ทางยา
o เนื้อไม้ รสขมเย็น ลดไข้
o เปลือกต้น รสขมฝำด แก้บิด
o ดอก รสขมเย็นหอม แก้โรคผิวหนัง ใช้ผลิตน้ำหอม
o ใบ รสขมฝำด แก้ปวดศีรษะ แก้เคล็ดขัดยอก ในประเทศอินโดนีเซียใช้ใบแก้หอบหืด แก้ไข้ ลดควำม
ดันโลหิต และอำกำรที่หัวใจเต้นเร็วเกินไป
o ผลและรำก รสเย็น ขับพยำธิ ขับปัสสำวะ แก้ไข้ แก้เลือดกำเดำ เลือดออกตำมไรฟัน แก้ปวดฟัน และ
แก้ตับอักเสบ
o เมล็ด คั่วให้ดำ ใช้ห้ำมเลือดได้ เมื่อบดจะได้สีเหลืองทอง ใช้แต่งสีอำหำร
o น้ำมัน ใช้ทำเครื่องสำอำง
วิธีและปริมาณที่ใช้
1. แก้ปวดศีรษะ แก้เคล็ดขัดยอก โดยใช้ใบสด 10-15 ใบ ล้ำงให้สะอำด โขลกให้ละเอียด ใช้ทำและพอก
บริเวณที่เป็น
2. แก้โรคผิวหนัง โดยใช้ดอกสด 3-5 ดอก โขลกให้ละเอียดผสมเหล้ำโรงเล็กน้อย ทำและพอกบริเวณที่เป็นวัน
ละ 2 ครั้ง เช้ำ-เย็น
รายละเอียดข้อมูลฮอร์โมนไซโทไคนิน
ไซโทไคนิน (cytokinin) ไซโทไคนินเป็นฮอร์โมนพืชที่พบมำกในบริเวรปลำยใบ เอ็มบริโอ ผลอ่อน
และน้ำมะพร้ำว เป็นสำรที่เคลื่อนย้ำยจำกตำแหน่งที่สร้ำงไปยังส่วนต่ำงๆ ของพืชทำงท่อน้ำ โดยสำรไซโทไคนิ
นเป็นอนุพันธุ์ของเบสพิวรีน (purine base) ชนิดแอนดีนีน(adenine) ไซโทไคนินที่พบในธรรมชำติคือ ไคเน
ทิน (kinetin) ในน้ำมะพร้ำวและเอทิน(zeatin) ในฝักข้ำวโพดอ่อน สำรBA(6- benzylamino purine) PBA
(tetrahydropyranyl benzyladenine) ไซโทโคนินสังเครำะห์มีสมบัติเหมือนไซโทโคนินในธรรมชำติ
กลไกกำรทำงำนของฮอร์โมนไซโตไคนิน : ไซโตไคนินมีบทบำทสำคัญคือควบคุมกำรแบ่งเซลล์ และไซ
โตไคนินที่เกิดในสภำพธรรมชำตินั้นเป็นอนุพันธ์ของอะดีนีนทั้งสิ้น ดังนั้นงำนวิจัยเกี่ยวกับกลไกกำรทำงำนจึงมี
แนวโน้มในควำมสัมพันธ์กับกรดนิวคลีอิค กลไกกำรทำงำนของไซโตไคนินยังไม่เด่นชัดเหมือนกับออกซิน และ
จิบเบอเรลลิน แต่ไซโตไคนินมีผลให้เกิดกำรสังเครำะห์ RNA และโปรตีนมำกขึ้นในเซลล์พืช ผลกำรทดลองบำง
รำยงำนกล่ำวว่ำ หลังจำกให้ไซโตไคนินกับเซลล์พืชแล้วจะเพิ่มปริมำณของ m-RNA,t-RNA และ r-RNA
ผลของฮอร์โมนไซโตไคนินต่อพืช
1. ช่วยให้มีกำรแบ่งเซลล์มำกขึ้น ใช้ในกำรเพำะเลี้ยงเนื้อเยื่อ พบว่ำเนื้อเยื่อแบ่งเซลล์ได้เร็วขึ้นและสร้ำงแคลลัส
ได้มำกขึ้น
2.ไซโทไคนินทำงำนร่วมกับออกซินในกำรส่งเสริมใหรำกมีกำรแบ่งเซลล์มำกขึ้นและเจริญเติบโตเพิ่มมำกขึ้น
และเจริญเติบโตเพิ่มมำกขึ้น
3. ช่วยกระตุ้นกำรเจริญของกิ่งแขนง ช่วยยืดอำยุของไม้ตัดดอกให้มีอำยุยืนยำวขึ้นไม่เหี่ยวไว
4.ส่งเสริมและกระตุ้นกำรเจริญของตำที่พักตัวให้งอกได้และกระตุ้นตำ ซึ่งเกิดจำกกำรติดตำให้แตกออกเป็นกิ่ง
ได้เร็วขึ้น
5.ช่วยชะลอกำรแก่ของใบ (delay senescenee) ให้ช้ำลงและช่วยให้สงเครำะห์คลอโรฟีลล์ได้มำกขึ้นจึงมีอำยุ
นำนขึ้น
6.ช่วยในกำรเปิด ปิดของปำกใบ โดยปกติปำกใบเปิดเมื่อมีแสงสว่ำงและปิดเมื่อไม่มีแสงสว่ำง แต่ไซโทไคนิ
นช่วยให้ปำกใบเปิดในที่มืดได้
7.ช่วยในกำรสร่ำงโปรตีน RND และ DNA เพิ่มขึ้นและยังช่วยให้เซลล์มีกำรเปลี่ยนแปลงไปทำหน้ำที่เฉพำะ
อย่ำง (differentiation) ได้อย่ำงมีประสิทธิภำพ
สมมติฐานการทดลอง :
o กลุ่มควบคุม ; ต้นพุดซ้อน โตอย่ำงเป็นปกติ และสม่ำเสมอ มีใบเพิ่มขึ้นเล็กน้อยตำมเวลำที่ผ่ำนไป
o กลุ่ม Low dose ; ต้นพุดซ้อน โตขึ้นกว่ำ กลุ่มกำรทดลองที่1 มีใบเพิ่มขึ้นมำก และอำจมีควำมสูง
มำกกว่ำ กลุ่มควบคุม
o กลุ่ม High dose ; ต้นพุดซ้อน โตขึ้นกว่ำเดิมมำก มีใบ และควำมสูง มำกกว่ำ กลุ่มควบคุม และกลุ่ม
Low dose
จุดประสงค์การทดลอง :
1. เพื่อทดลองว่ำกำรเติมฮอร์โมนให้ต้นไม้ด้วยควำมเข้มข้นที่แตกต่ำงกันให้ผลกำรทดลองที่แตกต่ำงกัน
หรือไม่
2. ศึกษำจำนวนใบมีกำรเปลี่ยนแปลงอย่ำงไรหลังเติมฮอร์โมนไซโทไคนิน
3. ฝึกกำรทำโครงงำนวิทยำศำสตร์และกำรดูแลรักษำต้นไม้
ตัวแปรการทดลอง :
-ตัวแปรต้น ; ควำมเข้มข้นของฮอร์โมนไซโทไคนินที่เติมให้ต้นพุดซ้อน
-ตัวแปรตาม ; จำนวนใบของต้นพุดซ้อนหลังจำกเติมฮอร์โมนไซโทไคนินด้วยควำมเข้มข้นที่แตกต่ำงกัน
-ตัวควบคุม ; ปริมำณน้ำที่รดในแต่ละสัปดำห์ , ปริมำณแสงแดดในแต่ละวัน , ขนำดของต้นไม้ก่อนทำกำร
ทดลอง , อุณหภูมิของสถำนที่ปลูก , ชนิดของดินที่ใช้ปลูก , ปริมำณของดินที่ใช้ปลูกต้นไม้
อุปกรณ์การทดลอง :
1. ต้นพุดซ้อน จำนวน 9ต้น พร้อมที่รองกระถำง
2. ฮอร์โมนไซโทไคนิน 1ขวด
3. กระบอกฉีดน้ำจำนวน 3อัน
4. กระบอกตวงสำร
5. ขวดขนำดเล็ก 1ขวด
6. ป้ำยปักกระถำงต้นไม้ 9 อัน
ระยะเวลาในการทดลอง : ตั้งแต่วันที่ 5 มิถุนำยน 2560 จนถึง วันที่ 31 กรกฎำคม 2560
วิธีการเก็บข้อมูล
1.ความถี่ของการเก็บข้อมูล
- ผู้จัดทำมีกำรเก็บข้อมูลทุกๆ 3 วัน นับตั้งแต่วันที่ฉีดฮอร์โมนให้ต้นพุดซ้อน
2.การนับจานวนใบ
- ผู้จัดทำจัดหำต้นไม้มำ แล้วตกแต่งให้ทุกต้นมีจำนวนใบเริ่มต้นเท่ำกัน และนับกำรเพิ่มจำนวนใบจำก
ใบอ่อนที่งอกใหม่ในแต่ละวันๆแล้วนำมำบันทึกในช่วงเวลำเดียวกับควำมถี่ข้อมูล
3.การเก็บข้อมูลเชิงคุณภาพ
- ผู้จัดทำมีกำรเก็บข้อมูลทุกๆ 3 วัน นับตั้งแต่วันที่ฉีดฮอร์โมนให้ต้นพุดซ้อน
ขั้นตอนการทดลอง
1.เตรียมต้นไม้และอุปกรณ์
1.1 หำซื้อต้นพุดซ้อนจำกตลำดนัด ทั้งหมด 3 ชุด ชุดละ 3 ต้น
1.2 วำงต้นพุดซ้อนไว้ในบริเวณที่ได้รับแสงและควำมชิ้นเพียงพอ ตั้งไว้ 3 ชุดแยกกันอย่ำงชัดเจน และ
คอยรดน้ำเป็นระยะไม่ให้ขำดช่วง
1.3 จัดหำอุปกรณ์ผสมสำรจำกห้องทดลองวิทยำศำสตร์
2.เตรียมสำร
2.1 ตวงน้ำใส่บีกเกอร์ 500 มิลลิลิตร แล้วกเทใส่ฝนกระบอกฉีด
2.2 นำปีเปทดูดฮอร์โมนไซโทไคนินใส่กระบอกตวง 1 มิลลิลิตร จำกนั้นเทในกระบอกฉีด และเขย่ำให้
เข้ำกัน เขียนป้ำยติดว่ำชุด Low dose
2.3 ทำตำมข้อที่ 2.1 และ 2.2 แต่เปลี่ยนฮอร์โมนไซโทไคนินจำก 1 มิลลิลิตร เป็น 2 มิลลิลิตร
และ 0 มิลลิลิตร เขียนป้ำยติดว่ำ ชุด High dose และชุดควบคุม ตำมลำดับ
3.ขั้นตอนทดลอง
3.1 ให้ฮอร์โมนต้นพุดซ้อนทุกๆ 7 วัน
3.2 บันทึกผลกำรทดลองสัปดำห์ละ 2 วัน
4.วิเครำะห์ผลกำรทดลอง
5.สรุปผลและนำเสนอผลกำรทดลอง
6.จัดทำรูปเล่มโครงงำน
ตารางบันทึกผลการทดลอง
วันที่
บันทึกผล
การเปลี่ยนแปลงของใบที่สังเกตได้ (เชิงคุณภาพ) หมายเหตุ
High dose Low dose ควบคุม
5 มิ.ย.60
มีใบน้อย สีเขียว
ไม่แตกใบอ่อน
กำรกระจำยใบน้อย
มีใบน้อย สีเขียว
ไม่แตกใบอ่อน
กำรกระจำยใบน้อย
มีใบน้อย สีเขียว
ไม่แตกใบอ่อน
กำรกระจำยใบน้อย
ออกดอกปกติ
8 มิ.ย.60
ใบเริ่มมีสีเหลือง
กำรกระจำยใบน้อย
ใบเหี่ยวเร็ว
ใบเริ่มมีสีเหลือง
กำรกระจำยใบน้อย
ใบเหี่ยวบำงส่วน
ใบเริ่มมีสีเขียวอ่อน
กำรกระจำยใบน้อย
ออกดอกปกติ
12 มิ.ย.60
ใบร่วงมำกขึ้น ใบเปลี่ยน
กลับเป็นสีเขียวอ่อน
กำรกระจำยใบน้อย
ใบมีขนำดใหญ่ขึ้น
ใบร่วงปำนกลำง
ใบเหี่ยวเกือบทั้งต้น
กำรกระจำยใบน้อย
ใบมีขนำดใหญ่ขึ้น
ใบสีเขียวอ่อนถึงสด
กำรกระจำยใบน้อย
ใบมีขนำดเล็ก
ออกดอกปกติ
15 มิ.ย.60
เริ่มแตกใบอ่อน ใบเริ่มมี
สีเข้มขึ้นจนถึงอ่อน
กำรกระจำยใบน้อย
ใบขนำดใหญ่ขึ้น
ใบร่วงมำกขึ้น ใบสี
เหลืองมีมำกขึ้น แซม
ด้วยสีเขียวอ่อน
กำรกระจำยใบน้อย
ใบมีขนำดใหญ่ขึ้น
ใบสีเขียวอ่อนถึงสด
กำรกระจำยใบน้อย
ใบมีขนำดเล็ก
ออกดอกปกติ
วันที่
บันทึกผล
การเปลี่ยนแปลงของใบที่สังเกตได้ (เชิงคุณภาพ) หมายเหตุ
High dose Low dose ควบคุม
19 มิ.ย.60
แตกใบอ่อนมำกขึ้น
ใบมีสีเขียวสด
กำรกระจำยใบเพิ่มขึ้น
ใบหนำและใหญ่ขึ้น
เริ่มแตกใบอ่อน
ใบมีสีเขียวอ่อน
กำรกระจำยใบน้อย
ใบขนำดใหญ่ขึ้น
ใบมีสีเหลืองมำกขึ้น
ใบเริ่มร่วง
กำรกระจำยใบน้อย
ใบบำง
ออกดอกปกติ
22 มิ.ย.60
ใบอ่อนเจริญเติบโตเร็ว
ใบมีสีเขียวสด
กำรกระจำยใบเพิ่มขึ้น
ใบใหญ่และหนำ
แตกใบอ่อนมำกขึ้น
ใบมีสีเข้มขึ้น
กำรกระจำยใบเพิ่มขึ้น
ใบใหญ่ขึ้นแต่ยังบำง
เริ่มแตกใบอ่อน ใบมีสี
เขียวเข้มขึ้น
กำรกระจำยใบน้อย
ใบขนำดใหญ่ขึ้น
แต่ใบบำง
ออกดอกปกติ
26 มิ.ย.60
ใบอ่อนเจริญเติบโตเร็ว
มำก ใบมีสีเขียวสด
กำรกระจำยใบเพิ่มขึ้น
ใบใหญ่และหนำ
ใบอ่อนเจริญเติบโตเร็ว
ใบมีสีเข้มขึ้น
กำรกระจำยใบเพิ่มขึ้น
ใบใหญ่ขึ้นแต่ยังบำง
เริ่มแตกใบอ่อน ใบมีสี
เขียวเข้มขึ้น
กำรกระจำยใบน้อย
ใบขนำดคงที่
ออกดอกปกติ
29 มิ.ย.60
ใบอ่อนเจริญเติบโตเต็มที่
ใบมีสีเขียวเข้ม
กำรกระจำยใบเพิ่มขึ้น
ใบใหญ่และหนำ
ใบอ่อนเจริญเติบโตเร็ว
มำก ใบมีสีเขียวสด
กำรกระจำยใบเพิ่มขึ้น
ใบใหญ่ขึ้นและหนำขึ้น
เริ่มมีใบร่วงอีกครั้ง ใบ
มีสีเขียวเข้มขึ้น
กำรกระจำยใบน้อย
ใบขนำดคงที่
ดอกเริ่มแคระ
แกร็นลง
วันที่
บันทึกผล
การเปลี่ยนแปลงของใบที่สังเกตได้ (เชิงคุณภาพ) หมายเหตุ
High dose Low dose ควบคุม
3 ก.ค.60
ใบมีสีเขียวเข้ม
กำรกระจำยใบเพิ่มขึ้น
ใบใหญ่และหนำ
ใบอ่อนเจริญเติบโตเต็มที่
ใบมีสีเขียวสด ใบ
บำงส่วนเริ่มเหลือง
กำรกระจำยใบเพิ่มช้ำๆ
ใบใหญ่ขึ้นและหนำขึ้น
ใบอ่อนเจริญเร็วขึ้น
ใบมีสีเขียว
กำรกระจำยใบเพิ่ม
ใบขนำดคงที่
ดอกเริ่มเหี่ยว
6 ก.ค.60
เริ่มแตกใบอ่อนรอบที่ 2
ใบมีสีเขียวเข้ม
กำรกระจำยใบเพิ่มขึ้น
ใบใหญ่และหนำ
ใบบำงส่วนร่วง ใบมีสี
เขียวสดมำกขึ้น
กำรกระจำยใบเพิ่มขึ้น
ใบใหญ่ขึ้นและหนำขึ้น
ใบอ่อนโตเต็มที่ ใบมีสี
เขียว
กำรกระจำยใบเพิ่ม
ใบขนำดคงที่
ดอกเหี่ยวมำก
10 ก.ค.60
ใบอ่อนเจริญเติบโตเต็ม
เร็วมำก ใบมีสีเขียวเข้ม
กำรกระจำยใบเพิ่มขึ้น
ใบใหญ่และหนำ
ใบหยุดร่วง ใบมีสีเขียว
สดมำกขึ้น
กำรกระจำยใบเพิ่มขึ้น
ใบใหญ่ขึ้นและหนำขึ้น
ใบเริ่มมีสีเขียวเข้มสลับ
สีเขียวอ่อน
กำรกระจำยใบน้อย
ใบขนำดคงที่
ดอกแห้งและ
ตำย
13 ก.ค.60
ใบอ่อนเจริญเติบโตเต็มที่
ใบมีสีเขียวเข้ม
กำรกระจำยใบเพิ่มขึ้น
ใบใหญ่และหนำ ใบ
บำงส่วนเริ่มมีสีเหลือง
เริ่มแตกใบอ่อนรอบที่ 2
ใบมีสีเขียวสดมำกขุเจน
ถึงเข้ม
กำรกระจำยใบเพิ่มขึ้น
ใบใหญ่ขึ้นและหนำขึ้น
เริ่มมีใบร่วงอีกครั้ง ใบ
มีสีเหลืองบำงส่วน
กำรกระจำยใบลด
ใบขนำดคงที่
ดอกร่วงหมด
ทั้งต้น
วันที่
บันทึกผล
การเปลี่ยนแปลงของใบที่สังเกตได้ (เชิงคุณภาพ) หมายเหตุ
High dose Low dose ควบคุม
17 ก.ค.60
เริ่มแตกใบอ่อนรอบที่ 3
ที่ใบมีสีเขียวเข้ม
บำงส่วนมีสีเหลือง
กำรกระจำยใบเพิ่มขึ้น
ใบใหญ่แต่ขนำดคงที่
ใบอ่อนเจริญเติบโตเต็มที่
เร็วมำก ใบมีสีเขียวสด
กำรกระจำยใบเพิ่มขึ้น
ใบใหญ่ขึ้นและหนำขึ้น
เริ่มมีใบร่วงอีกครั้ง ใบ
มีสีเขียว
กำรกระจำยใบน้อย
ใบขนำดคงที่
ไม่ออกดอก
20 ก.ค.60
ใบอ่อนเจริญเติบโตเต็ม
เร็ว ใบมีสีเขียวเข้ม บำง
ใบเปลี่ยนเป็นสีเหลือง
กำรกระจำยใบเพิ่มขึ้น
ใบใหญ่แต่ขนำดคงที่
เริ่มแตกใบอ่อนรอบที่ 3
ใบมีสีเขียวสดมำกขึ้น
กำรกระจำยใบเพิ่มขึ้น
ใบใหญ่ขึ้นและหนำขึ้น
เริ่มมีใบร่วงอีกครั้ง ใบ
มีสีเขียวอ่อน
กำรกระจำยใบน้อย
ใบขนำดคงที่
ไม่ออกดอก
24 ก.ค.60
ใบอ่อนเจริญเติบโตเร็ว
มำกใบมีสีเขียวเข้ม บำง
ใบเป็นสีเหลือง
กำรกระจำยใบเพิ่มขึ้น
ใบใหญ่แต่ขนำดคงที่
ใบอ่อนเจริญเติบโตเร็ว
มำก ใบมีสีเขียวสด
กำรกระจำยใบเพิ่มขึ้น
ใบใหญ่ขึ้นและหนำขึ้น
เริ่มแตกใบอ่อนรอบที่
2 ใบมีสีเขียวและ
เหลืองบำงส่วน
กำรกระจำยใบน้อย
ใบขนำดคงที่
ไม่ออกดอก
31 ก.ค.60
ใบเจริญโตเต็มที่ทุกใบ
แต่ใบมีสีเขียวเข้ม บำง
ใบเป็นสีเหลือง
กำรกระจำยใบมำกที่สุด
ใบใหญ่และหนำ
ใบอ่อนเจริญเติบโตเต็มที่
บำงใบยังโตไม่เต้มที่ ใบมี
สีเขียวสดจนถึงเข้มทุกใบ
กำรกระจำยใบมำก
ใบใหญ่สุดและหนำสุด
มีกำรแตกใบอ่อน ใบโต
ไม่เต็มที่หลำยใบ ใบมีสี
เขียวกับเหลือง และมี
ใบเหี่ยว
กำรกระจำยใบน้อย
ใบขนำดคงที่
ไม่ออกดอก
วันที่บันทึกผล การเปลี่ยนแปลงจานวนใบ (เชิงปริมาณ) หมายเหตุ
High dose Low dose ควบคุม
5 มิ.ย.60 180 180 180 -
8 มิ.ย.60 163 155 180 -
12 มิ.ย.60 160 155 149 -
15 มิ.ย.60 171 149 149 -
19 มิ.ย.60 193 141 141 -
22 มิ.ย.60 205 141 153 -
26 มิ.ย.60 210 165 166 -
29 มิ.ย.60 253 183 160 -
3 ก.ค.60 281 183 172 -
6 ก.ค.60 293 171 182 -
10 ก.ค.60 312 160 182 -
13 ก.ค.60 324 181 175 -
17 ก.ค.60 330 201 183 -
20 ก.ค.60 331 233 183 -
24 ก.ค.60 352 252 201 -
31 ก.ค.60 357 289 212 -
กราฟแสดงผลการทดลอง
ภาพประกอบผลการทดลอง
low dose high dose
control
0
50
100
150
200
250
300
350
400
5-มิ.ย.-60 12-มิ.ย.-60 19-มิ.ย.-60 26-มิ.ย.-60 3-ก.ค.-60 10-ก.ค.-60 17-ก.ค.-60 24-ก.ค.-60 31-ก.ค.-60
High dose
Low dose
Control
สรุปผลการทดลอง
o กลุ่มชุดควบคุม (0%) ; ต้นพุดซ้อนโตอย่ำงเป็นปกติ และสม่ำเสมอ มีใบเพิ่มขึ้นเล็กน้อยตำมเวลำที่
ผ่ำนไป
o กลุ่มชุด Low dose (0.2%) ; ต้นพุดซ้อน โตขึ้นกว่ำ กลุ่มกำรทดลองที่1 มีใบเพิ่มขึ้นมำก และอำจมี
ควำมสูงมำกกว่ำ กลุ่มควบคุม
o กลุ่มชุด High dose (0.4%) ; ต้นพุดซ้อนโตขึ้นกว่ำเดิมมำก มีใบ และควำมสูง มำกกว่ำ กลุ่มกำร
ทดลองที่1 และกลุ่ม High dose แต่ใบบำงส่วนมีสีเหลืองผิดไปจำกเดิม
และทั้ง 3 กลุ่ม พบว่ำต้นพุดซ้อน ไม่มีกำรออกดอก ดังนั้น กำรใส่ฮอร์โมนไซโทไคนินิมำกจะทำให้จำนวนเพิ่ม
มำกขึ้น แต่ถ้ำใส่มำกเกินไปจะทำให้ใบเปลี่ยนจำกสีเขียวเป็นสีเหลือง จึงสรุปได้ว่ำฮอร์โมนไซโทไคนินมีผลต่อ
กำรเพิ่มจำนวนของใบพุดซ้อน
ข้อเสนอแนะ
o กำรเก็บข้อมูลในกำรศึกษำเรื่องจำนวนใบควรใช้วิธีที่เก็บข้อมูลได้ละเอียด แน่นอน และแม่นยำมำก
ขึ้น เช่น กำรทำสัญลักษณ์ไว้เพื่อดูว่ำเรำได้นับใบไหนไปแล้ว ตัวอย่ำง คือ กำรหำกรรไกรขลิบใบไม้ไว้
หรือนำปำกกำเมจิกทำขีดไว้ วิธีนี้จะได้ผลที่ดีกว่ำ เพรำะ กำรศึกษำจำนวนใบโดยไม่ทำสัญลักษณ์ไว้
อำจทำให้เกิดกำรคลำดเคลื่อนของข้อมูลได้ง่ำย
ภาคผนวก
o ซื้อต้นไม้ที่ตลาดนัดจตุจักร
o ผสมฮอร์โมนไซโทไคนิน
การเตรียมและการดูแลต้นไม้
ต้นพุดซ้อนชุดต่างๆ
ตรวจผลการทดลองครั้งที่ 1
บรรณนานุกรม
o พุดซ้อน. (ออนไลน์) : http://prayod.com/พุดซ้อน/ .สืบค้น 26 มิถุนำยน 2560
o พุดซ้อน สรรพคุณและประโยชน์ของดอกพุดซ้อน 29 ข้อ. (ออนไลน์) : https://medthai.com/พุด
ซ้อน/. สืบค้น 26 มิถุนำยน 2560

More Related Content

What's hot

ห้องครัวพาเพลิน1
ห้องครัวพาเพลิน1ห้องครัวพาเพลิน1
ห้องครัวพาเพลิน1ปาล์ม มี่
 
ปัญหาสิ่งแวดล้อม
ปัญหาสิ่งแวดล้อมปัญหาสิ่งแวดล้อม
ปัญหาสิ่งแวดล้อมTangkwa Pawarisa
 
งานคอมพราวเอ้
งานคอมพราวเอ้งานคอมพราวเอ้
งานคอมพราวเอ้Tayicha Phunpowngam
 
โครงงาน(ติดบอด)
โครงงาน(ติดบอด)โครงงาน(ติดบอด)
โครงงาน(ติดบอด)009kkk
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร PDF
โครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร PDFโครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร PDF
โครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร PDFWichitchai Buathong
 
โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)Guntima NaLove
 
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มดโครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มดพัน พัน
 
ปัญหาสิ่งเเวดล้อม
ปัญหาสิ่งเเวดล้อมปัญหาสิ่งเเวดล้อม
ปัญหาสิ่งเเวดล้อมพัน พัน
 

What's hot (20)

ห้องครัวพาเพลิน1
ห้องครัวพาเพลิน1ห้องครัวพาเพลิน1
ห้องครัวพาเพลิน1
 
ห้องครัวพาเพลิน
ห้องครัวพาเพลินห้องครัวพาเพลิน
ห้องครัวพาเพลิน
 
โครงงานเปรียบเทียบการใช้ปุ๋ยน้ำ
โครงงานเปรียบเทียบการใช้ปุ๋ยน้ำโครงงานเปรียบเทียบการใช้ปุ๋ยน้ำ
โครงงานเปรียบเทียบการใช้ปุ๋ยน้ำ
 
ปัญหาสิ่งแวดล้อม
ปัญหาสิ่งแวดล้อมปัญหาสิ่งแวดล้อม
ปัญหาสิ่งแวดล้อม
 
M6 144 60_4
M6 144 60_4M6 144 60_4
M6 144 60_4
 
งานคอมพราวเอ้
งานคอมพราวเอ้งานคอมพราวเอ้
งานคอมพราวเอ้
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
โครงงาน(ติดบอด)
โครงงาน(ติดบอด)โครงงาน(ติดบอด)
โครงงาน(ติดบอด)
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร PDF
โครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร PDFโครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร PDF
โครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร PDF
 
Lesson2plantreproduction2561
Lesson2plantreproduction2561Lesson2plantreproduction2561
Lesson2plantreproduction2561
 
โครงงานวิทยาศาสตร์
โครงงานวิทยาศาสตร์โครงงานวิทยาศาสตร์
โครงงานวิทยาศาสตร์
 
โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)
 
M6 144 60_8
M6 144 60_8M6 144 60_8
M6 144 60_8
 
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มดโครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
ปัญหาสิ่งเเวดล้อม
ปัญหาสิ่งเเวดล้อมปัญหาสิ่งเเวดล้อม
ปัญหาสิ่งเเวดล้อม
 
M6 78 60_7
M6 78 60_7M6 78 60_7
M6 78 60_7
 
M6 144 60_9
M6 144 60_9M6 144 60_9
M6 144 60_9
 
Plant hor 1_77_60
Plant hor 1_77_60Plant hor 1_77_60
Plant hor 1_77_60
 
M6 78 60_9
M6 78 60_9M6 78 60_9
M6 78 60_9
 

Similar to M6 143 60_5

Similar to M6 143 60_5 (20)

M6 143 60_9
M6 143 60_9M6 143 60_9
M6 143 60_9
 
38 155 brochure
38 155 brochure38 155 brochure
38 155 brochure
 
Herbarium
HerbariumHerbarium
Herbarium
 
M6 143 60_8
M6 143 60_8M6 143 60_8
M6 143 60_8
 
M6 78 60_10
M6 78 60_10M6 78 60_10
M6 78 60_10
 
M6 126 60_1
M6 126 60_1M6 126 60_1
M6 126 60_1
 
Photosynthesis process
Photosynthesis processPhotosynthesis process
Photosynthesis process
 
ประสิทธิภาพของน้าหมักชีวภาพในการเพาะเห็ด
ประสิทธิภาพของน้าหมักชีวภาพในการเพาะเห็ดประสิทธิภาพของน้าหมักชีวภาพในการเพาะเห็ด
ประสิทธิภาพของน้าหมักชีวภาพในการเพาะเห็ด
 
M6 126 60_10
M6 126 60_10M6 126 60_10
M6 126 60_10
 
341 pre2
341 pre2 341 pre2
341 pre2
 
Plant hor 9_77_60
Plant hor 9_77_60Plant hor 9_77_60
Plant hor 9_77_60
 
Herbarium 332 6
Herbarium 332 6Herbarium 332 6
Herbarium 332 6
 
โครงงาน Banana spit
โครงงาน Banana spitโครงงาน Banana spit
โครงงาน Banana spit
 
M6 125 60_3
M6 125 60_3M6 125 60_3
M6 125 60_3
 
รวมสรุปเนื้อหาชีววิทยา
รวมสรุปเนื้อหาชีววิทยารวมสรุปเนื้อหาชีววิทยา
รวมสรุปเนื้อหาชีววิทยา
 
M6 125 60_6
M6 125 60_6M6 125 60_6
M6 125 60_6
 
Herbarium
HerbariumHerbarium
Herbarium
 
M6 78 60_4
M6 78 60_4M6 78 60_4
M6 78 60_4
 
บทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงบทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
 
M6 144 60_1
M6 144 60_1M6 144 60_1
M6 144 60_1
 

More from Wichai Likitponrak

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfWichai Likitponrak
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64Wichai Likitponrak
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564Wichai Likitponrak
 

More from Wichai Likitponrak (20)

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
 
Biotest kku60
Biotest kku60Biotest kku60
Biotest kku60
 
Key biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaituKey biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaitu
 
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichaiBi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
 
BiOsaman2564
BiOsaman2564BiOsaman2564
BiOsaman2564
 
Biosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichaiBiosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichai
 
Ijs obio62 testing
Ijs obio62 testingIjs obio62 testing
Ijs obio62 testing
 
Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62
 
Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62
 
Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61
 
Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61
 

M6 143 60_5

  • 1. โครงงานรายวิชาชีววิทยา เรื่อง การศึกษาฮอร์โมนไซโทไคนินที่มีผลต่อจานวนใบต้นพุดซ้อน นำเสนอ อาจารย์วิชัย ลิขิตพรรักษ์ ครู คศ.1 สำขำชีววิทยำ กลุ่มสำระกำรเรียนรู้วิทยำศำสตร์ สมำชิกกลุ่ม 1.นายกฤตพล เทพศิลปวิสุทธิ์ เลขที่ 23 2.นายภูมิภัทร ชัยวัฒนายน เลขที่ 32 3.นายภูษณ รอดสม เลขที่ 34 4.นายวชิรวิทย์ รักษาราษฎร์ เลขที่ 35 ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 6 ห้อง 143 สำยกำรเรียนวิทยำศำสตร์คณิตศำสตร์ โครงงำนนำเสนอข้อมูลนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชำชีววิทยำ 5 (ว 30245) ภำคเรียนที่ 1 ปีกำรศึกษำ 2560
  • 2. คานา โครงงำนฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชำชีววิทยำ 5 (ว 30245) ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 6 โรงเรียนเตรียม อุดมศึกษำ ภำคเรียนที่ 1 ปีกำรศึกษำ 2560 มีจุดประสงค์เพื่อศึกษำเรื่องฮอร์โมนที่ใช้กับพืช โดยคณะผู้จัดทำ ได้เลือกที่จะศึกษำฮอร์โมนไซโทไคนินที่มีผลต่อจำนวนใบของต้นพุดซ้อน โดยโครงงำนนี้จะมีเนื้อหำเกี่ยวกับ รำยละเอียดของฮอร์โมนไซโทไคนินและต้นพุดซ้อน รวมถึงกำรทดลองทุกขั้นตอน โดยได้นำผลกำรทดลองมำ แสดงเป็นตำรำงและกรำฟ เพื่อใช้ประกอบกำรเรียนรู้และค้นคว้ำ ทั้งนี้คณะผู้จัดทำได้เลือกต้นพุดซ้อน เนื่องจำกพุดซ้อนเป็นต้นไม้ที่นิยมปลูกในบ้ำนเรือน และฮอร์โมน ไซโทไคนินเป็นฮอร์โมนที่น่ำสนใจที่จะนำมำศึกษำ และขอขอบพระคุณอำจำรย์วิชัย ลิขิตพรรักษ์ เป็นอย่ำงสูง ที่ท่ำนได้กรุณำให้คำแนะนำเพื่อแก้ไข และให้ข้อเสนอแนะตลอดกำรทำโครงงำน คณะผู้จัดทำหวังว่ำโครงงำน ฉบับนี้จะเป็นประโยชน์ต่อผู้ที่นำไปใช้เพื่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์ตำมคำดหวัง คณะผู้จัดทำ
  • 3. สารบัญ หน้ำ คำนำ สำรบัญ ปัญหำ ที่มำและควำมสำคัญ 1 ต้นพุดซ้อน 2 ฮอร์โมนไซโทไคนิน 4 สมมติฐำนกำรทดลอง 5 จุดประสงค์กำรทดลอง 5 ตัวแปรกำรทดลอง 5 อุปกรณ์กำรทดลอง 5 ระยะเวลำกำรทดลอง 5 วิธีกำรเก็บข้อมูล 6 ขั้นตอนกำรทดลอง 7 ผลกำรทดลอง 8 สรุปและข้อเสนอแนะ 14 ภำคผนวก 15 บรรณำนุกรม 18
  • 4. ปัญหา ที่มา และความสาคัญ ปัญหา : หำกว่ำเพิ่มฮอร์โมนให้ต้นไม้สัปดำห์ละครั้ง พร้อมกับรดน้ำให้ต้นไม้ รวมถึงได้รับแสงอย่ำงเพียงพอ และสม่ำเสมอ จะมีผลทำให้ต้นไม้มีใบเพิ่มขึ้นได้หรือไม่ และหำกปริมำณควำมเข้มข้นที่ใส่ให้ต้นไม้ไม่เท่ำกันจะ มีผลกำรทดลองต่ำงกันหรือไม่ ที่มา และความสาคัญ : เนื่องจำกต้นไม้เป็นสิ่งมีชีวิตอัศจรรย์ สร้ำงคุณประโยชน์มำกมำยให้กับโลกใบนี้ มีหลำยสิ่งที่ยังคงเป็น ปริศนำเกี่ยวกับต้นไม้ ผู้จัดทำจึงได้ทำกำรทดลองนี้ขึ้นเพื่อศึกษำหำควำมจริงที่เกิดขึ้น จำกกำรเติมฮอร์โมนไซ โทไคนินให้ต้นไม้ กำรทดลองนี้จะให้ผลอย่ำงไร ในระยะเวลำที่กำหนด คือ 8 สัปดำห์ ด้วยตัวแปรควบคุมที่ สม่ำเสมอ จะมีผลดี หรือ ผลเสียอย่ำงไรต่อต้นไม้ และแตกต่ำงจำกต้นที่เจริญขึ้นอย่ำงธรรมชำติอย่ำงไร ผู้จัดทำจึงคิดศึกษำค้นคว้ำและทำโครงงำนเกี่ยวกับกำรศึกษำผลของฮอร์โมนไซโทไคนินต่อใบไม้ของต้นพุด ซ้อนขึ้น อีกทั้งเรื่องฮอร์โมนยังเป็นหนึ่งในวิชำเรียนของโรงเรียนผู้จัดทำ และต้นพุดซ้อนก็เป็นหนึ่งในต้นไมที่เรำ พบได้ในชีวิตประจำวัน หำได้ง่ำยตำมท้องตลำด อีกทั้งฮอร์โมนไซโทไคนินก็หำได้ง่ำยตำมร้ำนขำยของ เกษตรกรรม
  • 5. ข้อมูลรายละเอียดของต้นพุดซ้อน พุดซ้อน ชื่อวงศ์ : RUBIACEAE ชื่อวิทยำศำสตร์ : Gardenia augusta (L.) Merr. ชื่อพ้อง : Gardenia jasminoides J.Ellis ชื่อสำมัญ : Cape jasmine ชื่อพื้นเมืองอื่น : เคดถวำ (ภำคเหนือ) ; แคถวำ (เชียงใหม่) ; พุดจีน, พุดซ้อน, พุดใหญ่, (ภำคกลำง) ; พุทธรักษำ (รำชบุรี) ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ ไม้พุ่ม (ExS) ลักษณะลำต้นคล้ำยพุดจีบ แต่จะไม่มีสีขำวอยู่ตำมลำต้นและใบ สูงประมำณ 1-2 เมตร แตกกิ่งก้ำนจำนวนมำกเป็นพุ่มกลม ใบ เป็นใบเดี่ยว ออกเรียงตรงข้ำมกัน ลักษณะใบรูปใบหอก กว้ำง 3-4 ซม. ยำวประมำณ 8-10 ซม. ปลำยใบแหลม โคนใบสอบ แผ่นใบเป็นมันสีเขียวเข้ม ดอก เป็นดอกเดี่ยวสีขำวออกตำมซอกใบและปลำยกิ่ง มีกลีบเลี้ยงหนำเป็นสัน 6 สัน มี 2 พันธุ์ คือ พันธุ์ดอกลำ มีกลีบดอกชั้นเดียว และพันธุ์ดอกซ้อน มีกลีบดอกจำนวนมำกเรียงซ้อนกัน เมื่อดอกบำนมี เส้นผ่ำศูนย์กลำง 7-8 ซม. กลิ่นหอมแรง ส่งกลิ่นหอมตั้งแต่เย็นถึงเช้ำ ออกดอกตลอดปี ผล พันธุ์ดอกลำติดผลได้ มีทั้งแบบผลสั้นและแบบยำว เส้นผ่ำศูนย์กลำง 2-4 ซม. มีสันตำมแนวยำว ของผล 4-7 สัน ผลสุกสีเหลืองอมแดง มีเมล็ดจำนวนมำก
  • 6. นิเวศวิทยา เป็นไม้กลำงแจ้ง มีถิ่นกำเนิดในประเทศจีน มักพบขึ้นตำมป่ำผลัดใบ ผสมป่ำโปร่ง และตำมชำยป่ำดง ดิบทำงภำคเหนือ นิยมปลูกเป็นไม้ประดับตำมวัดวำอำรำมและบ้ำนเรือน การปลูกและขยายพันธุ์ เจริญเติบโตได้ดีในดินร่วนซุย ควำมชื้นปำนกลำง ระบบระบำยน้ำดี ปลูกง่ำยเจริญเติบโตเร็ว ขยำยพันธุ์ด้วยกำรเพำะเมล็ดหรือกำรตอนกิ่งปักชำ ประโยชน์ทางยา o เนื้อไม้ รสขมเย็น ลดไข้ o เปลือกต้น รสขมฝำด แก้บิด o ดอก รสขมเย็นหอม แก้โรคผิวหนัง ใช้ผลิตน้ำหอม o ใบ รสขมฝำด แก้ปวดศีรษะ แก้เคล็ดขัดยอก ในประเทศอินโดนีเซียใช้ใบแก้หอบหืด แก้ไข้ ลดควำม ดันโลหิต และอำกำรที่หัวใจเต้นเร็วเกินไป o ผลและรำก รสเย็น ขับพยำธิ ขับปัสสำวะ แก้ไข้ แก้เลือดกำเดำ เลือดออกตำมไรฟัน แก้ปวดฟัน และ แก้ตับอักเสบ o เมล็ด คั่วให้ดำ ใช้ห้ำมเลือดได้ เมื่อบดจะได้สีเหลืองทอง ใช้แต่งสีอำหำร o น้ำมัน ใช้ทำเครื่องสำอำง วิธีและปริมาณที่ใช้ 1. แก้ปวดศีรษะ แก้เคล็ดขัดยอก โดยใช้ใบสด 10-15 ใบ ล้ำงให้สะอำด โขลกให้ละเอียด ใช้ทำและพอก บริเวณที่เป็น 2. แก้โรคผิวหนัง โดยใช้ดอกสด 3-5 ดอก โขลกให้ละเอียดผสมเหล้ำโรงเล็กน้อย ทำและพอกบริเวณที่เป็นวัน ละ 2 ครั้ง เช้ำ-เย็น
  • 7. รายละเอียดข้อมูลฮอร์โมนไซโทไคนิน ไซโทไคนิน (cytokinin) ไซโทไคนินเป็นฮอร์โมนพืชที่พบมำกในบริเวรปลำยใบ เอ็มบริโอ ผลอ่อน และน้ำมะพร้ำว เป็นสำรที่เคลื่อนย้ำยจำกตำแหน่งที่สร้ำงไปยังส่วนต่ำงๆ ของพืชทำงท่อน้ำ โดยสำรไซโทไคนิ นเป็นอนุพันธุ์ของเบสพิวรีน (purine base) ชนิดแอนดีนีน(adenine) ไซโทไคนินที่พบในธรรมชำติคือ ไคเน ทิน (kinetin) ในน้ำมะพร้ำวและเอทิน(zeatin) ในฝักข้ำวโพดอ่อน สำรBA(6- benzylamino purine) PBA (tetrahydropyranyl benzyladenine) ไซโทโคนินสังเครำะห์มีสมบัติเหมือนไซโทโคนินในธรรมชำติ กลไกกำรทำงำนของฮอร์โมนไซโตไคนิน : ไซโตไคนินมีบทบำทสำคัญคือควบคุมกำรแบ่งเซลล์ และไซ โตไคนินที่เกิดในสภำพธรรมชำตินั้นเป็นอนุพันธ์ของอะดีนีนทั้งสิ้น ดังนั้นงำนวิจัยเกี่ยวกับกลไกกำรทำงำนจึงมี แนวโน้มในควำมสัมพันธ์กับกรดนิวคลีอิค กลไกกำรทำงำนของไซโตไคนินยังไม่เด่นชัดเหมือนกับออกซิน และ จิบเบอเรลลิน แต่ไซโตไคนินมีผลให้เกิดกำรสังเครำะห์ RNA และโปรตีนมำกขึ้นในเซลล์พืช ผลกำรทดลองบำง รำยงำนกล่ำวว่ำ หลังจำกให้ไซโตไคนินกับเซลล์พืชแล้วจะเพิ่มปริมำณของ m-RNA,t-RNA และ r-RNA ผลของฮอร์โมนไซโตไคนินต่อพืช 1. ช่วยให้มีกำรแบ่งเซลล์มำกขึ้น ใช้ในกำรเพำะเลี้ยงเนื้อเยื่อ พบว่ำเนื้อเยื่อแบ่งเซลล์ได้เร็วขึ้นและสร้ำงแคลลัส ได้มำกขึ้น 2.ไซโทไคนินทำงำนร่วมกับออกซินในกำรส่งเสริมใหรำกมีกำรแบ่งเซลล์มำกขึ้นและเจริญเติบโตเพิ่มมำกขึ้น และเจริญเติบโตเพิ่มมำกขึ้น 3. ช่วยกระตุ้นกำรเจริญของกิ่งแขนง ช่วยยืดอำยุของไม้ตัดดอกให้มีอำยุยืนยำวขึ้นไม่เหี่ยวไว 4.ส่งเสริมและกระตุ้นกำรเจริญของตำที่พักตัวให้งอกได้และกระตุ้นตำ ซึ่งเกิดจำกกำรติดตำให้แตกออกเป็นกิ่ง ได้เร็วขึ้น 5.ช่วยชะลอกำรแก่ของใบ (delay senescenee) ให้ช้ำลงและช่วยให้สงเครำะห์คลอโรฟีลล์ได้มำกขึ้นจึงมีอำยุ นำนขึ้น 6.ช่วยในกำรเปิด ปิดของปำกใบ โดยปกติปำกใบเปิดเมื่อมีแสงสว่ำงและปิดเมื่อไม่มีแสงสว่ำง แต่ไซโทไคนิ นช่วยให้ปำกใบเปิดในที่มืดได้ 7.ช่วยในกำรสร่ำงโปรตีน RND และ DNA เพิ่มขึ้นและยังช่วยให้เซลล์มีกำรเปลี่ยนแปลงไปทำหน้ำที่เฉพำะ อย่ำง (differentiation) ได้อย่ำงมีประสิทธิภำพ
  • 8. สมมติฐานการทดลอง : o กลุ่มควบคุม ; ต้นพุดซ้อน โตอย่ำงเป็นปกติ และสม่ำเสมอ มีใบเพิ่มขึ้นเล็กน้อยตำมเวลำที่ผ่ำนไป o กลุ่ม Low dose ; ต้นพุดซ้อน โตขึ้นกว่ำ กลุ่มกำรทดลองที่1 มีใบเพิ่มขึ้นมำก และอำจมีควำมสูง มำกกว่ำ กลุ่มควบคุม o กลุ่ม High dose ; ต้นพุดซ้อน โตขึ้นกว่ำเดิมมำก มีใบ และควำมสูง มำกกว่ำ กลุ่มควบคุม และกลุ่ม Low dose จุดประสงค์การทดลอง : 1. เพื่อทดลองว่ำกำรเติมฮอร์โมนให้ต้นไม้ด้วยควำมเข้มข้นที่แตกต่ำงกันให้ผลกำรทดลองที่แตกต่ำงกัน หรือไม่ 2. ศึกษำจำนวนใบมีกำรเปลี่ยนแปลงอย่ำงไรหลังเติมฮอร์โมนไซโทไคนิน 3. ฝึกกำรทำโครงงำนวิทยำศำสตร์และกำรดูแลรักษำต้นไม้ ตัวแปรการทดลอง : -ตัวแปรต้น ; ควำมเข้มข้นของฮอร์โมนไซโทไคนินที่เติมให้ต้นพุดซ้อน -ตัวแปรตาม ; จำนวนใบของต้นพุดซ้อนหลังจำกเติมฮอร์โมนไซโทไคนินด้วยควำมเข้มข้นที่แตกต่ำงกัน -ตัวควบคุม ; ปริมำณน้ำที่รดในแต่ละสัปดำห์ , ปริมำณแสงแดดในแต่ละวัน , ขนำดของต้นไม้ก่อนทำกำร ทดลอง , อุณหภูมิของสถำนที่ปลูก , ชนิดของดินที่ใช้ปลูก , ปริมำณของดินที่ใช้ปลูกต้นไม้ อุปกรณ์การทดลอง : 1. ต้นพุดซ้อน จำนวน 9ต้น พร้อมที่รองกระถำง 2. ฮอร์โมนไซโทไคนิน 1ขวด 3. กระบอกฉีดน้ำจำนวน 3อัน 4. กระบอกตวงสำร 5. ขวดขนำดเล็ก 1ขวด 6. ป้ำยปักกระถำงต้นไม้ 9 อัน ระยะเวลาในการทดลอง : ตั้งแต่วันที่ 5 มิถุนำยน 2560 จนถึง วันที่ 31 กรกฎำคม 2560
  • 9. วิธีการเก็บข้อมูล 1.ความถี่ของการเก็บข้อมูล - ผู้จัดทำมีกำรเก็บข้อมูลทุกๆ 3 วัน นับตั้งแต่วันที่ฉีดฮอร์โมนให้ต้นพุดซ้อน 2.การนับจานวนใบ - ผู้จัดทำจัดหำต้นไม้มำ แล้วตกแต่งให้ทุกต้นมีจำนวนใบเริ่มต้นเท่ำกัน และนับกำรเพิ่มจำนวนใบจำก ใบอ่อนที่งอกใหม่ในแต่ละวันๆแล้วนำมำบันทึกในช่วงเวลำเดียวกับควำมถี่ข้อมูล 3.การเก็บข้อมูลเชิงคุณภาพ - ผู้จัดทำมีกำรเก็บข้อมูลทุกๆ 3 วัน นับตั้งแต่วันที่ฉีดฮอร์โมนให้ต้นพุดซ้อน
  • 10. ขั้นตอนการทดลอง 1.เตรียมต้นไม้และอุปกรณ์ 1.1 หำซื้อต้นพุดซ้อนจำกตลำดนัด ทั้งหมด 3 ชุด ชุดละ 3 ต้น 1.2 วำงต้นพุดซ้อนไว้ในบริเวณที่ได้รับแสงและควำมชิ้นเพียงพอ ตั้งไว้ 3 ชุดแยกกันอย่ำงชัดเจน และ คอยรดน้ำเป็นระยะไม่ให้ขำดช่วง 1.3 จัดหำอุปกรณ์ผสมสำรจำกห้องทดลองวิทยำศำสตร์ 2.เตรียมสำร 2.1 ตวงน้ำใส่บีกเกอร์ 500 มิลลิลิตร แล้วกเทใส่ฝนกระบอกฉีด 2.2 นำปีเปทดูดฮอร์โมนไซโทไคนินใส่กระบอกตวง 1 มิลลิลิตร จำกนั้นเทในกระบอกฉีด และเขย่ำให้ เข้ำกัน เขียนป้ำยติดว่ำชุด Low dose 2.3 ทำตำมข้อที่ 2.1 และ 2.2 แต่เปลี่ยนฮอร์โมนไซโทไคนินจำก 1 มิลลิลิตร เป็น 2 มิลลิลิตร และ 0 มิลลิลิตร เขียนป้ำยติดว่ำ ชุด High dose และชุดควบคุม ตำมลำดับ 3.ขั้นตอนทดลอง 3.1 ให้ฮอร์โมนต้นพุดซ้อนทุกๆ 7 วัน 3.2 บันทึกผลกำรทดลองสัปดำห์ละ 2 วัน 4.วิเครำะห์ผลกำรทดลอง 5.สรุปผลและนำเสนอผลกำรทดลอง 6.จัดทำรูปเล่มโครงงำน
  • 11. ตารางบันทึกผลการทดลอง วันที่ บันทึกผล การเปลี่ยนแปลงของใบที่สังเกตได้ (เชิงคุณภาพ) หมายเหตุ High dose Low dose ควบคุม 5 มิ.ย.60 มีใบน้อย สีเขียว ไม่แตกใบอ่อน กำรกระจำยใบน้อย มีใบน้อย สีเขียว ไม่แตกใบอ่อน กำรกระจำยใบน้อย มีใบน้อย สีเขียว ไม่แตกใบอ่อน กำรกระจำยใบน้อย ออกดอกปกติ 8 มิ.ย.60 ใบเริ่มมีสีเหลือง กำรกระจำยใบน้อย ใบเหี่ยวเร็ว ใบเริ่มมีสีเหลือง กำรกระจำยใบน้อย ใบเหี่ยวบำงส่วน ใบเริ่มมีสีเขียวอ่อน กำรกระจำยใบน้อย ออกดอกปกติ 12 มิ.ย.60 ใบร่วงมำกขึ้น ใบเปลี่ยน กลับเป็นสีเขียวอ่อน กำรกระจำยใบน้อย ใบมีขนำดใหญ่ขึ้น ใบร่วงปำนกลำง ใบเหี่ยวเกือบทั้งต้น กำรกระจำยใบน้อย ใบมีขนำดใหญ่ขึ้น ใบสีเขียวอ่อนถึงสด กำรกระจำยใบน้อย ใบมีขนำดเล็ก ออกดอกปกติ 15 มิ.ย.60 เริ่มแตกใบอ่อน ใบเริ่มมี สีเข้มขึ้นจนถึงอ่อน กำรกระจำยใบน้อย ใบขนำดใหญ่ขึ้น ใบร่วงมำกขึ้น ใบสี เหลืองมีมำกขึ้น แซม ด้วยสีเขียวอ่อน กำรกระจำยใบน้อย ใบมีขนำดใหญ่ขึ้น ใบสีเขียวอ่อนถึงสด กำรกระจำยใบน้อย ใบมีขนำดเล็ก ออกดอกปกติ
  • 12. วันที่ บันทึกผล การเปลี่ยนแปลงของใบที่สังเกตได้ (เชิงคุณภาพ) หมายเหตุ High dose Low dose ควบคุม 19 มิ.ย.60 แตกใบอ่อนมำกขึ้น ใบมีสีเขียวสด กำรกระจำยใบเพิ่มขึ้น ใบหนำและใหญ่ขึ้น เริ่มแตกใบอ่อน ใบมีสีเขียวอ่อน กำรกระจำยใบน้อย ใบขนำดใหญ่ขึ้น ใบมีสีเหลืองมำกขึ้น ใบเริ่มร่วง กำรกระจำยใบน้อย ใบบำง ออกดอกปกติ 22 มิ.ย.60 ใบอ่อนเจริญเติบโตเร็ว ใบมีสีเขียวสด กำรกระจำยใบเพิ่มขึ้น ใบใหญ่และหนำ แตกใบอ่อนมำกขึ้น ใบมีสีเข้มขึ้น กำรกระจำยใบเพิ่มขึ้น ใบใหญ่ขึ้นแต่ยังบำง เริ่มแตกใบอ่อน ใบมีสี เขียวเข้มขึ้น กำรกระจำยใบน้อย ใบขนำดใหญ่ขึ้น แต่ใบบำง ออกดอกปกติ 26 มิ.ย.60 ใบอ่อนเจริญเติบโตเร็ว มำก ใบมีสีเขียวสด กำรกระจำยใบเพิ่มขึ้น ใบใหญ่และหนำ ใบอ่อนเจริญเติบโตเร็ว ใบมีสีเข้มขึ้น กำรกระจำยใบเพิ่มขึ้น ใบใหญ่ขึ้นแต่ยังบำง เริ่มแตกใบอ่อน ใบมีสี เขียวเข้มขึ้น กำรกระจำยใบน้อย ใบขนำดคงที่ ออกดอกปกติ 29 มิ.ย.60 ใบอ่อนเจริญเติบโตเต็มที่ ใบมีสีเขียวเข้ม กำรกระจำยใบเพิ่มขึ้น ใบใหญ่และหนำ ใบอ่อนเจริญเติบโตเร็ว มำก ใบมีสีเขียวสด กำรกระจำยใบเพิ่มขึ้น ใบใหญ่ขึ้นและหนำขึ้น เริ่มมีใบร่วงอีกครั้ง ใบ มีสีเขียวเข้มขึ้น กำรกระจำยใบน้อย ใบขนำดคงที่ ดอกเริ่มแคระ แกร็นลง
  • 13. วันที่ บันทึกผล การเปลี่ยนแปลงของใบที่สังเกตได้ (เชิงคุณภาพ) หมายเหตุ High dose Low dose ควบคุม 3 ก.ค.60 ใบมีสีเขียวเข้ม กำรกระจำยใบเพิ่มขึ้น ใบใหญ่และหนำ ใบอ่อนเจริญเติบโตเต็มที่ ใบมีสีเขียวสด ใบ บำงส่วนเริ่มเหลือง กำรกระจำยใบเพิ่มช้ำๆ ใบใหญ่ขึ้นและหนำขึ้น ใบอ่อนเจริญเร็วขึ้น ใบมีสีเขียว กำรกระจำยใบเพิ่ม ใบขนำดคงที่ ดอกเริ่มเหี่ยว 6 ก.ค.60 เริ่มแตกใบอ่อนรอบที่ 2 ใบมีสีเขียวเข้ม กำรกระจำยใบเพิ่มขึ้น ใบใหญ่และหนำ ใบบำงส่วนร่วง ใบมีสี เขียวสดมำกขึ้น กำรกระจำยใบเพิ่มขึ้น ใบใหญ่ขึ้นและหนำขึ้น ใบอ่อนโตเต็มที่ ใบมีสี เขียว กำรกระจำยใบเพิ่ม ใบขนำดคงที่ ดอกเหี่ยวมำก 10 ก.ค.60 ใบอ่อนเจริญเติบโตเต็ม เร็วมำก ใบมีสีเขียวเข้ม กำรกระจำยใบเพิ่มขึ้น ใบใหญ่และหนำ ใบหยุดร่วง ใบมีสีเขียว สดมำกขึ้น กำรกระจำยใบเพิ่มขึ้น ใบใหญ่ขึ้นและหนำขึ้น ใบเริ่มมีสีเขียวเข้มสลับ สีเขียวอ่อน กำรกระจำยใบน้อย ใบขนำดคงที่ ดอกแห้งและ ตำย 13 ก.ค.60 ใบอ่อนเจริญเติบโตเต็มที่ ใบมีสีเขียวเข้ม กำรกระจำยใบเพิ่มขึ้น ใบใหญ่และหนำ ใบ บำงส่วนเริ่มมีสีเหลือง เริ่มแตกใบอ่อนรอบที่ 2 ใบมีสีเขียวสดมำกขุเจน ถึงเข้ม กำรกระจำยใบเพิ่มขึ้น ใบใหญ่ขึ้นและหนำขึ้น เริ่มมีใบร่วงอีกครั้ง ใบ มีสีเหลืองบำงส่วน กำรกระจำยใบลด ใบขนำดคงที่ ดอกร่วงหมด ทั้งต้น
  • 14. วันที่ บันทึกผล การเปลี่ยนแปลงของใบที่สังเกตได้ (เชิงคุณภาพ) หมายเหตุ High dose Low dose ควบคุม 17 ก.ค.60 เริ่มแตกใบอ่อนรอบที่ 3 ที่ใบมีสีเขียวเข้ม บำงส่วนมีสีเหลือง กำรกระจำยใบเพิ่มขึ้น ใบใหญ่แต่ขนำดคงที่ ใบอ่อนเจริญเติบโตเต็มที่ เร็วมำก ใบมีสีเขียวสด กำรกระจำยใบเพิ่มขึ้น ใบใหญ่ขึ้นและหนำขึ้น เริ่มมีใบร่วงอีกครั้ง ใบ มีสีเขียว กำรกระจำยใบน้อย ใบขนำดคงที่ ไม่ออกดอก 20 ก.ค.60 ใบอ่อนเจริญเติบโตเต็ม เร็ว ใบมีสีเขียวเข้ม บำง ใบเปลี่ยนเป็นสีเหลือง กำรกระจำยใบเพิ่มขึ้น ใบใหญ่แต่ขนำดคงที่ เริ่มแตกใบอ่อนรอบที่ 3 ใบมีสีเขียวสดมำกขึ้น กำรกระจำยใบเพิ่มขึ้น ใบใหญ่ขึ้นและหนำขึ้น เริ่มมีใบร่วงอีกครั้ง ใบ มีสีเขียวอ่อน กำรกระจำยใบน้อย ใบขนำดคงที่ ไม่ออกดอก 24 ก.ค.60 ใบอ่อนเจริญเติบโตเร็ว มำกใบมีสีเขียวเข้ม บำง ใบเป็นสีเหลือง กำรกระจำยใบเพิ่มขึ้น ใบใหญ่แต่ขนำดคงที่ ใบอ่อนเจริญเติบโตเร็ว มำก ใบมีสีเขียวสด กำรกระจำยใบเพิ่มขึ้น ใบใหญ่ขึ้นและหนำขึ้น เริ่มแตกใบอ่อนรอบที่ 2 ใบมีสีเขียวและ เหลืองบำงส่วน กำรกระจำยใบน้อย ใบขนำดคงที่ ไม่ออกดอก 31 ก.ค.60 ใบเจริญโตเต็มที่ทุกใบ แต่ใบมีสีเขียวเข้ม บำง ใบเป็นสีเหลือง กำรกระจำยใบมำกที่สุด ใบใหญ่และหนำ ใบอ่อนเจริญเติบโตเต็มที่ บำงใบยังโตไม่เต้มที่ ใบมี สีเขียวสดจนถึงเข้มทุกใบ กำรกระจำยใบมำก ใบใหญ่สุดและหนำสุด มีกำรแตกใบอ่อน ใบโต ไม่เต็มที่หลำยใบ ใบมีสี เขียวกับเหลือง และมี ใบเหี่ยว กำรกระจำยใบน้อย ใบขนำดคงที่ ไม่ออกดอก
  • 15. วันที่บันทึกผล การเปลี่ยนแปลงจานวนใบ (เชิงปริมาณ) หมายเหตุ High dose Low dose ควบคุม 5 มิ.ย.60 180 180 180 - 8 มิ.ย.60 163 155 180 - 12 มิ.ย.60 160 155 149 - 15 มิ.ย.60 171 149 149 - 19 มิ.ย.60 193 141 141 - 22 มิ.ย.60 205 141 153 - 26 มิ.ย.60 210 165 166 - 29 มิ.ย.60 253 183 160 - 3 ก.ค.60 281 183 172 - 6 ก.ค.60 293 171 182 - 10 ก.ค.60 312 160 182 - 13 ก.ค.60 324 181 175 - 17 ก.ค.60 330 201 183 - 20 ก.ค.60 331 233 183 - 24 ก.ค.60 352 252 201 - 31 ก.ค.60 357 289 212 -
  • 16. กราฟแสดงผลการทดลอง ภาพประกอบผลการทดลอง low dose high dose control 0 50 100 150 200 250 300 350 400 5-มิ.ย.-60 12-มิ.ย.-60 19-มิ.ย.-60 26-มิ.ย.-60 3-ก.ค.-60 10-ก.ค.-60 17-ก.ค.-60 24-ก.ค.-60 31-ก.ค.-60 High dose Low dose Control
  • 17. สรุปผลการทดลอง o กลุ่มชุดควบคุม (0%) ; ต้นพุดซ้อนโตอย่ำงเป็นปกติ และสม่ำเสมอ มีใบเพิ่มขึ้นเล็กน้อยตำมเวลำที่ ผ่ำนไป o กลุ่มชุด Low dose (0.2%) ; ต้นพุดซ้อน โตขึ้นกว่ำ กลุ่มกำรทดลองที่1 มีใบเพิ่มขึ้นมำก และอำจมี ควำมสูงมำกกว่ำ กลุ่มควบคุม o กลุ่มชุด High dose (0.4%) ; ต้นพุดซ้อนโตขึ้นกว่ำเดิมมำก มีใบ และควำมสูง มำกกว่ำ กลุ่มกำร ทดลองที่1 และกลุ่ม High dose แต่ใบบำงส่วนมีสีเหลืองผิดไปจำกเดิม และทั้ง 3 กลุ่ม พบว่ำต้นพุดซ้อน ไม่มีกำรออกดอก ดังนั้น กำรใส่ฮอร์โมนไซโทไคนินิมำกจะทำให้จำนวนเพิ่ม มำกขึ้น แต่ถ้ำใส่มำกเกินไปจะทำให้ใบเปลี่ยนจำกสีเขียวเป็นสีเหลือง จึงสรุปได้ว่ำฮอร์โมนไซโทไคนินมีผลต่อ กำรเพิ่มจำนวนของใบพุดซ้อน ข้อเสนอแนะ o กำรเก็บข้อมูลในกำรศึกษำเรื่องจำนวนใบควรใช้วิธีที่เก็บข้อมูลได้ละเอียด แน่นอน และแม่นยำมำก ขึ้น เช่น กำรทำสัญลักษณ์ไว้เพื่อดูว่ำเรำได้นับใบไหนไปแล้ว ตัวอย่ำง คือ กำรหำกรรไกรขลิบใบไม้ไว้ หรือนำปำกกำเมจิกทำขีดไว้ วิธีนี้จะได้ผลที่ดีกว่ำ เพรำะ กำรศึกษำจำนวนใบโดยไม่ทำสัญลักษณ์ไว้ อำจทำให้เกิดกำรคลำดเคลื่อนของข้อมูลได้ง่ำย
  • 21. บรรณนานุกรม o พุดซ้อน. (ออนไลน์) : http://prayod.com/พุดซ้อน/ .สืบค้น 26 มิถุนำยน 2560 o พุดซ้อน สรรพคุณและประโยชน์ของดอกพุดซ้อน 29 ข้อ. (ออนไลน์) : https://medthai.com/พุด ซ้อน/. สืบค้น 26 มิถุนำยน 2560