SlideShare a Scribd company logo
1 of 2
Download to read offline
ฮอร์โมน
ฮอร์โมน
ไซโทไคนิน
ไซโทไคนิน
จัดทําโดย
นายมรรษกร เอือโสภณ
เลขที 38 ห้อง 155
ม.6 เเผนการเรียนวิทย์-คณิต
นําเสนอ
อ.วิชัย ลิขิตพรรักษ์
ครูชํานาญการ (คศ.2)
สาขาวิชาชีววิทยา
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
สํานักงานเขตพืนทีการศึกษามัธยมศึกษา
เขต 1 กรุงเทพมหานคร
ประวัติการศึกษา
ไซโทไคนิน (อังกฤษ: Cytokinin)
เปนกลุ่มของสารควบคุมการ
เจริญเติบโตทีมีบทบาทสําคัญใน
การควบคุม การแบ่งเซลล์ การ
ขยายตัวและการเปลียนแปลงของ
เซลล์พืช มีผลต่อการข่มของตาย
อด การเจริญของตาข้าง และการ
ชราของใบการออกฤทธิของสาร
กลุ่มนีค้นพบในนํามะพร้าวเมือ
พ.ศ. 2483 โดย Folke Skoog
นักวิทยาศาสตร์ที University of
Wisconsin–Madison
ไซโตไคนินมีสองประเภท ได้แก่ ไซโต
ไคนินทีเปนอนุพันธ์ของอะดีนีนโดย
มีโซ่ข้างมาเชือมต่อกับเบสที
ตําแหน่ง N6 ไซโตไคนินแบ่งได้เปน
สองชนิดตามชนิดของโซ่ข้างคือ ไอ
โซพรีนอยด์ ไซโตไคนิน
(Isoprenoid cytokinin) มีโซ่ข้าง
เปนสารกลุ่มไอโซพรีน กับ อะโร
มาติก ไซโตไคนิน เช่น ไคนีติน ซีเอ
ติน และ6-benzylaminopurine
อีกกลุ่มหนึงคือไซโตไคนินทีเปน
อนุพันธ์ของไดฟนิลยูเรีย ไทเดียซู
รอน (TDZ) ไซโตไคนินชนิดอะดีนี
นมักสังเคราะห์ทีราก แคมเบียม และ
เนือเยือเจริญอืนๆเปนแหล่งทีมีการ
สังเคราะห์ไวโตไคนินเช่นกัน ไม่มี
หลักฐานว่าพืชสร้างไซโตไคนินชนิด
ฟนิลยูเรียได้ ไซโตไคนินเกียวข้อง
กับการส่งสัญญาณทังระยะใกล้และ
ระยะไกล และเกียวข้องกับการขนส่ง
นิวคลีโอไทด์ในพืช โดยทัวไป ไซโตไค
นินถูกขนส่งผ่านไซเลม
ตัวอย่าง
-สนับสนุนการขยายตัวของเซลล์ ที
เกียวข้องกับการดูดนําเข้าไปภายใน
เซลล์ เพราะไม่ทําให้นําหนักแห้ง
เพิมขึน
-การชะลอการชรา ความชราของ
พืชเกิดจากกระบวนการแก่ตัวของ
เซลล์ มีการสูญเสียคลอโรฟลล์
RNA โปรตีน และไขมัน การชะลอ
ความชราของออกซินเกิดขึนโดย
การปองกันการสลายตัวของ
โปรตีน กระตุ้นการสังเคราะห์
โปรตีน และขนส่งธาตุอาหารมายัง
เนือเยือ ไซโตไคนินสนับสนุนการ
เกิดคลอโรฟลล์และการเปลียนอีทิ
โอพลาสต์ไปเปนคลอโรพลาสต์
-การเกิดปม ปมทีเกิดในพืชเปน
เนือเยือทีไม่มีการกําหนดพัฒนา
และมีลักษณะคล้ายเนืองอก เกิด
จากเชือ Agrobacterium
tumefaciens
Agrobacterium tumefaciens
ผลของฮอร์โมนต่อการพัฒนาของ
เนือเยือเพาะเลียงกระเจียวขาว
จากการเพาะเลียงชินส่วนต้นทีปลอดเชือของ
กระเจียวขาวพันธุ์ปาบนอาหารแข็งสูตรMurashige
and Skoog (MS) (1962) ทีเติมฮอร์โมนในกลุ่มไซ
โตไคนิน BAP Kinetin และ TDZ ความเข้มข้น 0.5,
1.0, 2.0 และ 5.0 มิลลิกรัมต่อลิตร ตามลําดับ เปน
เวลา 6 สัปดาห์ พบว่า ชินส่วนทีเลียงบนอาหารสูตร
MS ทีเติม TDZ ความเข้มข้น 0.5 มิลลิกรัมต่อลิตร
สามารถชักนําให้เกิดการสร้างยอดได้มากทีสุด คือ
2.7 ยอดต่อชินส่วน และในการทดลองชักนําให้เกิด
รากจากต้นใหม่ โดยเลียงบนอาหารแข็งสูตรทีเติม
ฮอร์โมนในกลุ่มของออกซิน NAA, IAA และ IBA
ความเข้มข้น 0.5, 1.0, 2.0 และ 5.0มิลลิกรัมต่อ
ลิตร เปนเวลา 6 สัปดาห์ พบว่า ชินส่วนทีเลียงบน
อาหารสูตร MS ทีเติม NAA ความเข้มข้น 2.0
มิลลิกรัมต่อลิตร สามารถชักนําให้เกิดจํานวนรากได้
สูงสุดคือ 8.06 รากต่อชินส่วน สําหรับการทดลอง
เพาะเลียงชินส่วนต้นบนอาหารสูตร MS ทีเติม NAA
(0, 0.5, 1.0 และ 2.0 มิลลิกรัมต่อลิตร) ร่วมกับ
BAP (0, 1.0, 2.0 และ 5.0 มิลลิกรัมต่อลิตร) เปน
เวลา 6 สัปดาห์ พบว่า ชินส่วนทีเลียงบนอาหารสูตร
MS ทีเติม BA ความเข้มข้น 5.0 มิลลิกรัมต่อลิตร
เพียงอย่างเดียว สามารถชักนําให้เกิดจํานวนยอดได้
สูงสุด (2.88 ยอดต่อชินส่วน)
บรรณานุกรม
https://www.sci.nu.ac.th/
https://th.wikipedia.org/
https://www.sciencephoto.com/
TDZ(Thidiazuron)

More Related Content

What's hot

ตอบสนองพืช
ตอบสนองพืชตอบสนองพืช
ตอบสนองพืช
Wichai Likitponrak
 
การปลูกพืชไร้ดิน
การปลูกพืชไร้ดินการปลูกพืชไร้ดิน
การปลูกพืชไร้ดิน
Praphawit Promthep
 
การเจริญเติบโตของพืช
การเจริญเติบโตของพืชการเจริญเติบโตของพืช
การเจริญเติบโตของพืช
kookoon11
 
ตารางวิเคราะห์ข้อดีข้อเสียเทคโนโลยีชีวภาพ
ตารางวิเคราะห์ข้อดีข้อเสียเทคโนโลยีชีวภาพตารางวิเคราะห์ข้อดีข้อเสียเทคโนโลยีชีวภาพ
ตารางวิเคราะห์ข้อดีข้อเสียเทคโนโลยีชีวภาพ
Kobwit Piriyawat
 
M6 144 60_5
M6 144 60_5M6 144 60_5
M6 144 60_5
Wichai Likitponrak
 
5 เทคโนโลยีชีวภาพ
5 เทคโนโลยีชีวภาพ5 เทคโนโลยีชีวภาพ
5 เทคโนโลยีชีวภาพ
Melody Minhyok
 
เทคโนโลยีชีวภาพกับการขยายพันธุ์สัตว์
เทคโนโลยีชีวภาพกับการขยายพันธุ์สัตว์เทคโนโลยีชีวภาพกับการขยายพันธุ์สัตว์
เทคโนโลยีชีวภาพกับการขยายพันธุ์สัตว์
Aobinta In
 
เทคโนโลยีชีวภาพกับการขยายพันธุ์สัตว์
เทคโนโลยีชีวภาพกับการขยายพันธุ์สัตว์เทคโนโลยีชีวภาพกับการขยายพันธุ์สัตว์
เทคโนโลยีชีวภาพกับการขยายพันธุ์สัตว์
Aobinta In
 
5 behavi plan
5 behavi plan5 behavi plan
5 behavi plan
Wichai Likitponrak
 
โครงงานสุขภาพ 1
โครงงานสุขภาพ 1โครงงานสุขภาพ 1
โครงงานสุขภาพ 1
peerapatp
 

What's hot (19)

Plant factory II
Plant factory IIPlant factory II
Plant factory II
 
ตอบสนองพืช
ตอบสนองพืชตอบสนองพืช
ตอบสนองพืช
 
656 pre3
656 pre3656 pre3
656 pre3
 
หน่วยที่ 5 ปัจจัยและสภาพแวดล้อมที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของพืช
หน่วยที่ 5 ปัจจัยและสภาพแวดล้อมที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของพืชหน่วยที่ 5 ปัจจัยและสภาพแวดล้อมที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของพืช
หน่วยที่ 5 ปัจจัยและสภาพแวดล้อมที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของพืช
 
การปลูกพืชไร้ดิน
การปลูกพืชไร้ดินการปลูกพืชไร้ดิน
การปลูกพืชไร้ดิน
 
แผนการเรียนรู้ที่ 1 ระบบประสาทและระบบต่อมไร้ท่อ
แผนการเรียนรู้ที่ 1 ระบบประสาทและระบบต่อมไร้ท่อแผนการเรียนรู้ที่ 1 ระบบประสาทและระบบต่อมไร้ท่อ
แผนการเรียนรู้ที่ 1 ระบบประสาทและระบบต่อมไร้ท่อ
 
เอกสารประกอบการบรรยาย การฝึกไฮโดรไฮโดรโปนิกส์ โดย อ.เสถียร ณ วันที่ 19-20 ก.พ...
เอกสารประกอบการบรรยาย การฝึกไฮโดรไฮโดรโปนิกส์ โดย อ.เสถียร ณ วันที่ 19-20 ก.พ...เอกสารประกอบการบรรยาย การฝึกไฮโดรไฮโดรโปนิกส์ โดย อ.เสถียร ณ วันที่ 19-20 ก.พ...
เอกสารประกอบการบรรยาย การฝึกไฮโดรไฮโดรโปนิกส์ โดย อ.เสถียร ณ วันที่ 19-20 ก.พ...
 
เอกสารฝึกอบรมผักไฮโดรโปนิกส์
เอกสารฝึกอบรมผักไฮโดรโปนิกส์เอกสารฝึกอบรมผักไฮโดรโปนิกส์
เอกสารฝึกอบรมผักไฮโดรโปนิกส์
 
การเจริญเติบโตของพืช
การเจริญเติบโตของพืชการเจริญเติบโตของพืช
การเจริญเติบโตของพืช
 
ตารางวิเคราะห์ข้อดีข้อเสียเทคโนโลยีชีวภาพ
ตารางวิเคราะห์ข้อดีข้อเสียเทคโนโลยีชีวภาพตารางวิเคราะห์ข้อดีข้อเสียเทคโนโลยีชีวภาพ
ตารางวิเคราะห์ข้อดีข้อเสียเทคโนโลยีชีวภาพ
 
M6 144 60_5
M6 144 60_5M6 144 60_5
M6 144 60_5
 
บท4ตอบสนองพืช
บท4ตอบสนองพืชบท4ตอบสนองพืช
บท4ตอบสนองพืช
 
ไขมันและน้ำมัน
ไขมันและน้ำมันไขมันและน้ำมัน
ไขมันและน้ำมัน
 
บท2สืบพันธุ์พืชดอก
บท2สืบพันธุ์พืชดอกบท2สืบพันธุ์พืชดอก
บท2สืบพันธุ์พืชดอก
 
5 เทคโนโลยีชีวภาพ
5 เทคโนโลยีชีวภาพ5 เทคโนโลยีชีวภาพ
5 เทคโนโลยีชีวภาพ
 
เทคโนโลยีชีวภาพกับการขยายพันธุ์สัตว์
เทคโนโลยีชีวภาพกับการขยายพันธุ์สัตว์เทคโนโลยีชีวภาพกับการขยายพันธุ์สัตว์
เทคโนโลยีชีวภาพกับการขยายพันธุ์สัตว์
 
เทคโนโลยีชีวภาพกับการขยายพันธุ์สัตว์
เทคโนโลยีชีวภาพกับการขยายพันธุ์สัตว์เทคโนโลยีชีวภาพกับการขยายพันธุ์สัตว์
เทคโนโลยีชีวภาพกับการขยายพันธุ์สัตว์
 
5 behavi plan
5 behavi plan5 behavi plan
5 behavi plan
 
โครงงานสุขภาพ 1
โครงงานสุขภาพ 1โครงงานสุขภาพ 1
โครงงานสุขภาพ 1
 

Similar to 38 155 brochure

M6 143 60_5
M6 143 60_5M6 143 60_5
M6 143 60_5
Wichai Likitponrak
 
M6 78 60_10
M6 78 60_10M6 78 60_10
M6 78 60_10
Wichai Likitponrak
 
M6 144 60_4
M6 144 60_4M6 144 60_4
M6 144 60_4
Wichai Likitponrak
 
M6 143 60_8
M6 143 60_8M6 143 60_8
M6 143 60_8
Wichai Likitponrak
 
Plant hor 9_77_60
Plant hor 9_77_60Plant hor 9_77_60
Plant hor 9_77_60
Wichai Likitponrak
 
M6 143 60_6
M6 143 60_6M6 143 60_6
M6 143 60_6
Wichai Likitponrak
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3
korakate
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3
korakate
 
16.ฮอร์โมนพืช
16.ฮอร์โมนพืช16.ฮอร์โมนพืช
16.ฮอร์โมนพืช
Wichai Likitponrak
 
โครงสร้างตัวชี้วัดวิทย์.Doc ม.3 ภาค 2
โครงสร้างตัวชี้วัดวิทย์.Doc ม.3 ภาค 2โครงสร้างตัวชี้วัดวิทย์.Doc ม.3 ภาค 2
โครงสร้างตัวชี้วัดวิทย์.Doc ม.3 ภาค 2
krupornpana55
 
การศึกษาการเจริญเติบโตระหว่างพืชที่ใช้ปุ๋ยเคมี และออกซิน
การศึกษาการเจริญเติบโตระหว่างพืชที่ใช้ปุ๋ยเคมี และออกซินการศึกษาการเจริญเติบโตระหว่างพืชที่ใช้ปุ๋ยเคมี และออกซิน
การศึกษาการเจริญเติบโตระหว่างพืชที่ใช้ปุ๋ยเคมี และออกซิน
RusPateepawanit
 
Science3 110904045426-phpapp02
Science3 110904045426-phpapp02Science3 110904045426-phpapp02
Science3 110904045426-phpapp02
korakate
 

Similar to 38 155 brochure (20)

M6 143 60_5
M6 143 60_5M6 143 60_5
M6 143 60_5
 
BIO4M5 343 Fertilization
BIO4M5 343 FertilizationBIO4M5 343 Fertilization
BIO4M5 343 Fertilization
 
M6 78 60_10
M6 78 60_10M6 78 60_10
M6 78 60_10
 
M6 144 60_4
M6 144 60_4M6 144 60_4
M6 144 60_4
 
M6 143 60_8
M6 143 60_8M6 143 60_8
M6 143 60_8
 
1 repro
1 repro1 repro
1 repro
 
Plant hor 9_77_60
Plant hor 9_77_60Plant hor 9_77_60
Plant hor 9_77_60
 
M6 143 60_6
M6 143 60_6M6 143 60_6
M6 143 60_6
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3
 
16.ฮอร์โมนพืช
16.ฮอร์โมนพืช16.ฮอร์โมนพืช
16.ฮอร์โมนพืช
 
F2
F2 F2
F2
 
ใบความรู้ที่1pdf
ใบความรู้ที่1pdfใบความรู้ที่1pdf
ใบความรู้ที่1pdf
 
โครงสร้างตัวชี้วัดวิทย์.Doc ม.3 ภาค 2
โครงสร้างตัวชี้วัดวิทย์.Doc ม.3 ภาค 2โครงสร้างตัวชี้วัดวิทย์.Doc ม.3 ภาค 2
โครงสร้างตัวชี้วัดวิทย์.Doc ม.3 ภาค 2
 
การศึกษาการเจริญเติบโตระหว่างพืชที่ใช้ปุ๋ยเคมี และออกซิน
การศึกษาการเจริญเติบโตระหว่างพืชที่ใช้ปุ๋ยเคมี และออกซินการศึกษาการเจริญเติบโตระหว่างพืชที่ใช้ปุ๋ยเคมี และออกซิน
การศึกษาการเจริญเติบโตระหว่างพืชที่ใช้ปุ๋ยเคมี และออกซิน
 
Flora improvement
Flora improvementFlora improvement
Flora improvement
 
การเจริญของ embryo ไก่
การเจริญของ embryo ไก่การเจริญของ embryo ไก่
การเจริญของ embryo ไก่
 
ฮอร์โมนพืชกับการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ
ฮอร์โมนพืชกับการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อฮอร์โมนพืชกับการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ
ฮอร์โมนพืชกับการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ
 
Science3 110904045426-phpapp02
Science3 110904045426-phpapp02Science3 110904045426-phpapp02
Science3 110904045426-phpapp02
 
2560 project -1-1
2560 project -1-12560 project -1-1
2560 project -1-1
 

38 155 brochure

  • 1. ฮอร์โมน ฮอร์โมน ไซโทไคนิน ไซโทไคนิน จัดทําโดย นายมรรษกร เอือโสภณ เลขที 38 ห้อง 155 ม.6 เเผนการเรียนวิทย์-คณิต นําเสนอ อ.วิชัย ลิขิตพรรักษ์ ครูชํานาญการ (คศ.2) สาขาวิชาชีววิทยา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา สํานักงานเขตพืนทีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 กรุงเทพมหานคร ประวัติการศึกษา ไซโทไคนิน (อังกฤษ: Cytokinin) เปนกลุ่มของสารควบคุมการ เจริญเติบโตทีมีบทบาทสําคัญใน การควบคุม การแบ่งเซลล์ การ ขยายตัวและการเปลียนแปลงของ เซลล์พืช มีผลต่อการข่มของตาย อด การเจริญของตาข้าง และการ ชราของใบการออกฤทธิของสาร กลุ่มนีค้นพบในนํามะพร้าวเมือ พ.ศ. 2483 โดย Folke Skoog นักวิทยาศาสตร์ที University of Wisconsin–Madison ไซโตไคนินมีสองประเภท ได้แก่ ไซโต ไคนินทีเปนอนุพันธ์ของอะดีนีนโดย มีโซ่ข้างมาเชือมต่อกับเบสที ตําแหน่ง N6 ไซโตไคนินแบ่งได้เปน สองชนิดตามชนิดของโซ่ข้างคือ ไอ โซพรีนอยด์ ไซโตไคนิน (Isoprenoid cytokinin) มีโซ่ข้าง เปนสารกลุ่มไอโซพรีน กับ อะโร มาติก ไซโตไคนิน เช่น ไคนีติน ซีเอ ติน และ6-benzylaminopurine อีกกลุ่มหนึงคือไซโตไคนินทีเปน อนุพันธ์ของไดฟนิลยูเรีย ไทเดียซู รอน (TDZ) ไซโตไคนินชนิดอะดีนี นมักสังเคราะห์ทีราก แคมเบียม และ เนือเยือเจริญอืนๆเปนแหล่งทีมีการ สังเคราะห์ไวโตไคนินเช่นกัน ไม่มี หลักฐานว่าพืชสร้างไซโตไคนินชนิด ฟนิลยูเรียได้ ไซโตไคนินเกียวข้อง กับการส่งสัญญาณทังระยะใกล้และ ระยะไกล และเกียวข้องกับการขนส่ง นิวคลีโอไทด์ในพืช โดยทัวไป ไซโตไค นินถูกขนส่งผ่านไซเลม
  • 2. ตัวอย่าง -สนับสนุนการขยายตัวของเซลล์ ที เกียวข้องกับการดูดนําเข้าไปภายใน เซลล์ เพราะไม่ทําให้นําหนักแห้ง เพิมขึน -การชะลอการชรา ความชราของ พืชเกิดจากกระบวนการแก่ตัวของ เซลล์ มีการสูญเสียคลอโรฟลล์ RNA โปรตีน และไขมัน การชะลอ ความชราของออกซินเกิดขึนโดย การปองกันการสลายตัวของ โปรตีน กระตุ้นการสังเคราะห์ โปรตีน และขนส่งธาตุอาหารมายัง เนือเยือ ไซโตไคนินสนับสนุนการ เกิดคลอโรฟลล์และการเปลียนอีทิ โอพลาสต์ไปเปนคลอโรพลาสต์ -การเกิดปม ปมทีเกิดในพืชเปน เนือเยือทีไม่มีการกําหนดพัฒนา และมีลักษณะคล้ายเนืองอก เกิด จากเชือ Agrobacterium tumefaciens Agrobacterium tumefaciens ผลของฮอร์โมนต่อการพัฒนาของ เนือเยือเพาะเลียงกระเจียวขาว จากการเพาะเลียงชินส่วนต้นทีปลอดเชือของ กระเจียวขาวพันธุ์ปาบนอาหารแข็งสูตรMurashige and Skoog (MS) (1962) ทีเติมฮอร์โมนในกลุ่มไซ โตไคนิน BAP Kinetin และ TDZ ความเข้มข้น 0.5, 1.0, 2.0 และ 5.0 มิลลิกรัมต่อลิตร ตามลําดับ เปน เวลา 6 สัปดาห์ พบว่า ชินส่วนทีเลียงบนอาหารสูตร MS ทีเติม TDZ ความเข้มข้น 0.5 มิลลิกรัมต่อลิตร สามารถชักนําให้เกิดการสร้างยอดได้มากทีสุด คือ 2.7 ยอดต่อชินส่วน และในการทดลองชักนําให้เกิด รากจากต้นใหม่ โดยเลียงบนอาหารแข็งสูตรทีเติม ฮอร์โมนในกลุ่มของออกซิน NAA, IAA และ IBA ความเข้มข้น 0.5, 1.0, 2.0 และ 5.0มิลลิกรัมต่อ ลิตร เปนเวลา 6 สัปดาห์ พบว่า ชินส่วนทีเลียงบน อาหารสูตร MS ทีเติม NAA ความเข้มข้น 2.0 มิลลิกรัมต่อลิตร สามารถชักนําให้เกิดจํานวนรากได้ สูงสุดคือ 8.06 รากต่อชินส่วน สําหรับการทดลอง เพาะเลียงชินส่วนต้นบนอาหารสูตร MS ทีเติม NAA (0, 0.5, 1.0 และ 2.0 มิลลิกรัมต่อลิตร) ร่วมกับ BAP (0, 1.0, 2.0 และ 5.0 มิลลิกรัมต่อลิตร) เปน เวลา 6 สัปดาห์ พบว่า ชินส่วนทีเลียงบนอาหารสูตร MS ทีเติม BA ความเข้มข้น 5.0 มิลลิกรัมต่อลิตร เพียงอย่างเดียว สามารถชักนําให้เกิดจํานวนยอดได้ สูงสุด (2.88 ยอดต่อชินส่วน) บรรณานุกรม https://www.sci.nu.ac.th/ https://th.wikipedia.org/ https://www.sciencephoto.com/ TDZ(Thidiazuron)