SlideShare a Scribd company logo
1 of 21
Download to read offline
ปัญหาทรัพยากรธรรมชาติ
จัดทาโดย
1. นางสาวกิรติกา ทองดี เลขที่ 31
2. นางสาวจิดาภา พลอยแสงสายเลขที่ 32
3. นางสาวธฤษวรรณ ตันติศุภชัย เลขที่ 33
4. นางสาวปริชญา วงษ์พิมพ์ เลขที่ 34
5. นางสาวปวริศา ล้อมสินทรัพย์ เลขที่ 35
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/2
เสนอ
คุณครูณัฐรดา จณินชวดลเดชา
โครงงานฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของราชวิชาการศึกษาค้นคว้าสร้างองค์ความรู้ IS2 (I30202)
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2559
โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี
ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธย
ปัญหาทรัพยากรธรรมชาติ
จัดทาโดย
1. นางสาวกิรติกา ทองดี เลขที่ 31
2. นางสาวจิดาภา พลอยแสงสายเลขที่ 32
3. นางสาวธฤษวรรณ ตันติศุภชัย เลขที่ 33
4. นางสาวปริชญา วงษ์พิมพ์ เลขที่ 34
5. นางสาวปวริศา ล้อมสินทรัพย์ เลขที่ 35
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/2
เสนอ
คุณครูณัฐรดา จณินชวดลเดชา
โครงงานฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของราชวิชาการศึกษาค้นคว้าสร้างองค์ความรู้ IS2 (I30202)
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2559
โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี
ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 8
ก
ชื่อโครงงาน ปัญหาทรัพยากรธรรมชาติ
คณะผู้จัดทา 1. นางสาวกิริติกา ทองดี
2 .นางสาวจิดาภา พลอยแสงสาย
3 .นางสาวธฤษวรรณ ตันติศุภชัย
4. นางสาวปริชญา วงษ์พิมพ์
5. นางสาวปวริศา ล้อมสินทรัพย์
ครูที่ปรึกษา คุณครูณัฐรดา จณินชวดลเดชา
สถานที่ศึกษา โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี
บทคัดย่อ
เนื่องจากสถานการณ์สิ่งแวดล้อมในปัจจุบันประสบปัญหาเกี่ยวกับทรัพยากรธรรมชาติมากมาย เช่น
อุทกภัย อัคคีภัย ปัญหาอุณหภูมิที่สูงอย่างรวดเร็ว นอกจากนี้ยังพบปัญหาขยะ ที่มีมากมายตามแม่น้้า พื้นที่
ที่เกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม หรือที่สาธารณะ ปัญหาของทรัพยากรธรรมชาติที่ถูกล้าลายด้วยน้้ามือของมนุษย์
ผู้จัดท้าโครงงานจึงได้จัดท้าสื่อหนังสั้น เกี่ยวกับปัญหาทรัพยากรธรรมชาติขึ้น เนื่องจากสื่อหนังสั้นเรื่องนี้
จะช่วยปลุกจิตส้านึกในการที่จะอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม สะท้อนปัญหาสังคมในเรื่องของทรัพยากรธรรมชาติมาก
ขึ้นเพื่อให้ทุกคนเล็งเห็นถึงความส้าคัญของทรัพยากรธรรมชาติ
ข
คานา
รายงานการศึกษาค้นคว้าเล่มนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชา IS2 ( I 30202) ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่5
เพื่อศึกษาความรู้ในเรื่อง ปัญหาทรัพยากรธรรมชาติโดยมีเนื้อหาเกี่ยวกับ ความหมายของทรัพยากรธรรมชาติ
ประเภทของทรัพยากรธรรมชาติ และปัญหาทรัพยากรธรรมชาติในปัจจุบันแนวทางการแก้ปัญหาและกฎหมาย
ที่เกี่ยวข้อง นอกจากนี้ยังได้จัดท้าหนังสั้นเกี่ยวกับทรัพยากรธรรมชาติ และได้ศึกษาอย่างเข้าใจเพื่อเป็น
ประโยชน์ในการเรียนและการด้าเนินชีวิตประจ้าวัน
ผู้จัดท้าหวังว่ารายงานการศึกษาค้นคว้าเล่มนี้จะเป็นประโยชน์กับผู้อ่านหรือผู้ที่สนใจศึกษาหาข้อมูล
ในเรื่องนี้อยู่ หากมีข้อแนะน้าหรือข้อผิดพลาดประการใด ผู้จัดท้าขอน้อมรับไว้และขออภัยมา ณ ที่นี้ด้วย
คณะผู้จัดท้า
ค
กิตติกรรมประกาศ
การศึกษาค้นค้าฉบับนี้ส้าเร็จลุล่วงไปด้วยดี ด้วยความช่วยเหลือของครูณัฐรดา จณินชวดลเดชา
ครูที่ปรึกษา ในการศึกษาค้นคว้าซึ่งท่านได้ให้ค้าแนะน้าและข้อคิดเห็นต่าง ๆ อันเป็นประโยชน์อย่างยิ่งใน
การศึกษาค้นคว้า อีกทั้งยังช่วยแก้ปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นระหว่างการด้าเนินงานอีกด้วย ขอขอบคุณ คุณครู
ประจ้าห้องสมุดที่คอยอ้านวยความสะดวกในการค้นคว้าหนังสือ นอกจากนี้ขอขอบคุณเพื่อน ๆ ในห้องที่คอย
เป็นก้าลังใจ และให้ความช่วยเหลือในการศึกษาค้นคว้าในครั้งนี้
สุดท้ายนี้ ขอขอบพระคุณบิดามารดา และครอบครัว ซึ่งเปิดโอกาสให้ได้รับการศึกษาเล่าเรียน ตลอดจน
คอยช่วยเหลือและให้ก้าลังใจเสมอมาจนงานได้ส้าเร็จลุล่วงไปด้วยดี
คณะผู้จัดท้า
ง
สารบัญ
เรื่อง หน้า
บทคัดย่อ ก
ค้าน้า ข
กิตติกรรมประกาศ ค
สารบัญ ง
สารบัญภาพ จ
สารบัญตาราง ฉ
บทที่ 1 บทน้า
ที่มาและความส้าคัญ 1
วัตถุประสงค์ 1
ขอบเขตของโครงงาน 1
ผลที่คาดว่าจะได้รับ 2
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
ความหมายทรัพยากรธรรมชาติ 3
ความส้าคัญของทรัพยากรธรรมชาติ 4
ประเภทของทรัพยากรธรรมชาติ 5-6
บทที่ 3 วิธีการด้าเนินงาน
วัสดุ-อุปกรณ์ 8
วิธีการด้าเนินงาน 9-10
บทที่ 4 ผลการด้าเนินงาน 11
บทที่ 5 สรุปผลการด้าเนินงาน 12
บรรณานุกรม
จ
สารบัญภาพ
ภาพที่ หน้า
ภาพที่ 2.1 น้้าในวัฏจักร 5
ภาพที่ 2.2 ดิน 5
ภาพที่2.3 ป่าไม้ 6
ภาพที่ 3.4 Adobe Premiere Pro 8
ภาพที่ 3.5 Adobe Photoshop 8
ภาพที่ 3.6 ค้นคว้าข้อมูลที่ห้องสมุด 9
ภาพที่ 3.7 สถานที่ถ่ายท้าหนังสั้นท่อระบายน้้า 9
ภาพที่ 3.8 ถ่ายท้าหนังสั้น 9
ภาพที่ 3.9 ตัดต่อหนังสั้นเรื่อง ปัญหาทรัพยากรธรรมชาติ 10
ภาพที่ 4.10 หนังสั้นเรื่องปัญหาทรัพยากรธรรมชาติ 11
ภาพที่ 4.10 หนังสั้นเรื่องปัญหาทรัพยากรธรรมชาติ 12
ฉ
สารบัญตาราง
ตารางที่ หน้า
ตารางที่ 1.1 แผนการด้าเนินงานโครงงาน 2
1
บทที่ 1
บทนา
ที่มาและความสาคัญ
ในยุคโลกาภิวัฒน์ในปัจจุบันนี้สถานการณ์ของโลกได้เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็วท้าให้อุณหภูมิและ
สภาพอากาศของโลกได้เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็วท้าให้เกิดมลภาวะทางอากาศและเกิดมลพิษต่างๆมากมาย
บนโลกซึ่งท้าให้มนุษย์ได้รับอันตรายจากมลภาวะอากาศที่เปลี่ยนแปลงไปนอกจากนี้มนุษย์ที่ได้รับผลกระทบ
แล้วนั้นยังท้าให้สิ่งมีชีวิตไม่ว่าจะเป็นพืชหรือสัตว์ได้รับอันตรายจากการเปลี่ยนแปลงทางอากาศซึ่งมาจากผล
การกระท้าของมนุษย์ทั้งสิ้นที่ไม่เห็นความส้าคัญของทรัพยากรธรรมชาติซึ่งทรัพยากรทางธรรมชาติเป็นสิ่ง
ส้าคัญต่อการด้ารงชีวิตขิงมนุษย์
เพื่อเป็นการสะท้อนให้เห็นถึงความส้าคัญของทรัพยากรธรรมชาติ ทางผู้จัดท้าจึงได้จัดท้าคลิปวิดิโอ
เรื่อง ปัญหาทรัพยากรธรรมชาติ เพื่อให้ทุกคนร่วมกันตระหนักถึงความส้าคัญและช่วยกันอนุรักษ์
ทรัพยากรธรรมชาติ เพื่อให้ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งมีชีวิตด้ารงชีวิตได้อย่างปลอดภัยและมีความสุข
วัตถุประสงค์
1. เพื่อสร้างให้เห็นถึงความส้าคัญของทรัพยากรธรรมชาติ
2. เพื่อสร้างหนังสั้นสะท้อนสังคมเรื่อง ทรัพยากรธรรมชาติ
ขอบเขตของโครงงาน
สร้างหนังสั้นเพื่อเผยแพร่ความรู้ และความส้าคัญเกี่ยวกับทรัพยากรธรรมชาติโดยใช้โปรแกรมตัดต่อ
วิดิโอและบันทึกเสียง
2
แผนการดาเนินงาน
ตารางที่ 1 แผนการด้าเนินงานโครงงาน
ขั้นตอนการด้าเนินงาน
ระยะเวลาในการด้าเนินงาน
ตุลาคม พฤศจิกายน ธันวาคม มกราคม กุมภาพันธ์
1.คิดหัวข้อโครงงานเพื่อเสนอ
ครูที่ปรึกษา
2.ศึกษาค้นคว้ารวบรวมข้อมูล
เกี่ยวกับการสร้างหนังสั้น
3.จัดท้าโครงงานเสนอครูที่
ปรึกษา
4.ศึกษาโปรแกรมและ
ออกแบบหนังสั้น
5.จัดท้าโครงงานและสร้าง
หนังสั้น
6.เผยแพร่หนังสั้นผ่านระบบ
อินเทอร์เน็ต
7.สรุปรายงานโครงงานและ
จัดท้ารูปเล่ม
8.สรุปและน้าเสนอโครงงาน
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1. ได้น้าเทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้ให้มีคุณค่าและเกิดประโยชน์ได้
2. ผู้ชมหนังสั้นมีความรู้ถึงความส้าคัญของทรัพยากรธรรมชาติ
3
บทที่ 2
เอกสารที่เกี่ยวข้อง
ทรัพยากรธรรมชาติ (Natural Resource)
การเรียนรู้ด้านทรัพยากรธรรมชาติ ทรัพยากรธรรมชาติเป็นสิ่งที่ส้าคัญ เป็นต้นทุนหรือวัตถุดิบที่
มนุษย์น้ามาใช้เพื่อความเจริญทางเศรษฐกิจ ประเทศใดก็ตามที่อุดมสมบูรณ์ไปด้วยทรัพยากรธรรมชาติ
ประเทศนั้นจะมีความร่้ารวยและมีความเจริญทางด้านเศรษฐกิจ แต่เมื่อใดก็ตามที่มนุษย์น้าทรัพยากรธรรมชาติ
มาใช้ไม่ถูกวิธีก็ท้าให้ทรัพยากรธรรมชาติบางชนิดหมดสิ้นไปจากโลกนี้ได้ ดังนั้นจึงควรที่จะเรียนรู้ถึง
ความส้าคัญของทรัพยากรธรรมชาติ เรียนรู้ถึงประเภทของทรัพยากรธรรมชาติและเข้าใจถึง
ทรัพยากรธรรมชาติเหล่านั้นเพื่อการวางแผนการจัดการที่มีคุณภาพ
ความหมายและความส้าคัญของทรัพยากรธรรมชาติ
1. ความหมายของทรัพยากรธรรมชาติ
เกษม จันทร์แก้ว (2541, หน้า 138) ให้ความหมายของทรัพยากรธรรมชาติ (natural resources)หมายถึง
“สิ่งต่าง ๆ ที่มีอยู่ตามธรรมชาติ และให้ประโยชน์ต่อมนุษย์ไม่ทางใดก็ทางหนึ่ง”
ชัยศรี ธาราสวัสดิ์พิพัฒน์ (2548, หน้า 92) ให้ความหมายของทรัพยากรธรรมชาติ ว่าหมายถึง “สิ่งที่เกิดขึ้น
เองตามธรรมชาติ มีประโยชน์สามารถสนองความต้องการของมนุษย์ได้ หรือมนุษย์สามารถน้ามาใช้ประโยชน์
ได้ เช่น บรรยากาศ ดิน น้้า ป่าไม้ ทุ่งหญ้า สัตว์ป่า แร่ธาตุ พลังงาน รวมทั้งก้าลังจากมนุษย์ด้วย”
จากความหมายที่กล่าวมา สรุปได้ว่าทรัพยากรธรรมชาติ เป็นส่วนหนึ่งของสิ่งแวดล้อม เกิดขึ้นเองตาม
ธรรมชาติโดยที่มนุษย์ไม่ได้สร้างขึ้น และมีประโยชน์ต่อมนุษย์”
2. ความสาคัญของทรัพยากรธรรมชาติ
จากความหมายของทรัพยากรธรรมชาติ จะเห็นได้ว่าสิ่งที่เรียกว่า “ทรัพยากรธรรมชาติ” นั้นคือสิ่งที่เป็น
ประโยชน์ต่อมนุษย์ ไม่ว่าจะโดยทางตรงหรือทางอ้อม และเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นเอง ดังนั้นทรัพยากรธรรมชาติจึงมี
ความส้าคัญต่อมนุษย์ในด้านต่าง ๆ ดังนี้
1.) ทรัพยากรธรรมชาติ เป็นแหล่งของปัจจัยที่จ้าเป็นต่อการด้ารงชีวิตของมนุษย์ คือ
1.1) เป็นแหล่งที่อยู่อาศัย เป็นแหล่งวัตถุดิบในการก่อสร้างที่อยู่อาศัย มนุษย์น้าไม้ หิน ทราย มาก่อสร้าง
บ้านเรือน สิ่งปลูกสร้างต่าง ๆ
1.2) เป็นแหล่งอาหาร ไม่ว่าจะเป็น พืช สัตว์
1.3) เป็นแหล่งที่มาเครื่องนุ่มห่ม ในอดีตมนุษย์ใช้ใบไม้เป็นเครื่องปกปิดร่างกาย ในปัจจุบันน้าเส้นใยจาก
ธรรมชาติ เช่น เส้นไหม ฝ้าย มาถักทอเป็นเสื้อผ้าปกปิดร่างกาย
4
1.4) เป็นแหล่งที่มาของยารักษาโรค วิวัฒนาการจากการเก็บส่วนต่าง ๆ ทั้งของพืช และสัตว์มารักษาโรค
ที่รู้จักกันในชื่อของ “สมุนไพร” ต่อมาก็ได้ใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัยขึ้นมาเปลี่ยนสมุนไพรเป็นยาแผนปัจจุบัน
ในประเทศไทยมีพืชที่สามารถใช้เป็นสมุนไพรรักษาโรคในท้องถิ่นมากกว่า 779 ชนิด (สถานการณ์สิ่งแวดล้อม
ไทย, 2543)
2.) เป็นปัจจัยในการด้ารงชีวิตที่มนุษย์และสิ่งมีชีวิตอื่นขาดไม่ได้ ได้แก่ อากาศ น้้า
3.) เป็นปัจจัยที่ส้าคัญในการผลิต หรือเป็นวัตถุดิบในกระบวนการผลิตของอุตสาหกรรม เช่น การผลิต
กระดาษต้องใช้เยื่อไม้ น้้า น้้ามันเชื้อเพลิง เป็นวัตถุดิบ
4.) ความต้องการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ บ่งชี้ถึงความเจริญทางเศรษฐกิจ และความเจริญของสังคมมนุษย์
5.) มีความส้าคัญต่อเศรษฐกิจของประเทศทั้งทางตรง เช่น ทรัพยากรพลังงาน แร่ อัญมณีที่มีมูลค่าทาง
เศรษฐกิจ หรือโดยทางอ้อม เช่น เป็นสถานที่ท่องเที่ยว พักผ่อนหย่อนใจ น้ารายได้จากการท่องเที่ยวเข้าสู่
ประเทศ
6.) มีความส้าคัญด้านวิชาการ ทางวิทยาศาสตร์และการแพทย์
7.) มีความส้าคัญต่อการรักษาสมดุลของระบบนิเวศ เนื่องจากทรัพยากรธรรมชาติเป็นส่วนหนึ่งของระบบ
นิเวศทั้งระบบนิเวศบนบก ระบบนิเวศทางน้้า เช่น ทรัพยากรธรรมชาติประเภทป่าไม้มีประโยชน์ต่อ
องค์ประกอบของผู้ผลิตที่ต้องสร้างอาหารเลี้ยงสิ่งมีชีวิตบนโลกใบนี้ เป็นต้น
8.) มีความส้าคัญต่อการหมุนเวียน หรือวัฏจักรของแร่ธาตุและสารอาหารในระบบนิเวศ
ประเภทของทรัพยากรธรรมชาติ
ทรัพยากร เป็น 1 ใน 4 ของมิติทางสิ่งแวดล้อม ทรัพยากรแบ่งเป็นทรัพยากรที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ ซึ่ง
เรียกว่า “ทรัพยากรธรรมชาติ” และทรัพยากรที่มนุษย์สร้างขึ้น แต่ในที่นี้จะกล่าวเฉพาะทรัพยากรธรรมชาติ
เท่านั้น ทรัพยากรธรรมชาติมีมากกมายหลายชนิด หลายประเภท สามารถแบ่งตามการน้ามาใช้งาน
ทรัพยากรธรรมชาติ(NaturalResource)
ประเภทของทรัพยากรธรรมชาติ
สามารถแบ่งตามการน้ามาใช้งานและผลที่เกิดขึ้นได้ 3 ประเภท ดังนี้
1. ทรัพยากรธรรมชาติที่ใช้แล้วไม่หมด
ทรัพยากรธรรมชาติที่ใช้แล้วไม่หมดหรือไม่สูญหาย(inexhaustiblenaturalresources) ทรัพยากรธรรมชาติ
ประเภทนี้ ได้แก่ บรรยากาศ น้้าในวัฎจักร แสงอาทิตย์ เป็นต้น ลักษณะของทรัพยากรธรรมชาติในประเภทนี้
แบ่งได้เป็น 2 ชนิด ดังนี้
1.1 บรรยากาศ (atmosphere) ในบรรยากาศประกอบไปด้วยอากาศซึ่งเป็นสิ่งจ้าเป็นส้าหรับมีชีวิต
นอกจากนั้นยังมีความชื้น อุณหภูมิ และการเคลื่อนไหวของมวลอากาศ รวมเรียกว่า “ภูมิอากาศ (climate)”
ซึ่งมีความส้าคัญต่อลักษณะของดิน พืชพันธุ์ และสภาพอื่น ๆ ของสิ่งมีชีวิตบนพื้นผิวโลก ดังนั้นบรรยากาศจึง
เป็นทรัพยากรธรรมชาติที่มีผลต่อทรัพยากรธรรมชาติอื่น ๆ บรรยากาศจะหมุนเวียนเปลี่ยนแปลงต่อเนื่องกันไป
อย่างไม่มีที่สิ้นสุด จึงจัดบรรยากาศอยู่ในทรัพยากรธรรมชาติที่ใช้ไม่หมด
5
1.2 น้้าที่อยู่ในวัฎจักร (water in cycle) น้้าที่อยู่ในวัฎจักรจะหมุนเวียนเปลี่ยนไปจากสภาพหนึ่งไปเป็นอีก
สภาพหนึ่งเรื่อยไปโดยไม่มีสิ้นสุด เช่น จากฝน หิมะ ลูกเห็บตกลงสู่พื้นดิน บางส่วนระเหยกลับไปสู่บรรยากาศ
บางส่วนไหลซึมลึกลงไปเป็นน้้าใต้ดิน บางส่วนไหลไปตามพื้นผิวดินลงสู่แม่น้้าล้าคลองออกสู่ทะเล
มหาสมุทร และกลับระเหยกลายเป็นไอน้้าอยู่ในบรรยากาศและจับตัวเป็นก้อนเมฆตกลงมาเป็นฝนอีก
การหมุนเวียนของน้้าแบบนี้จึงไม่มีที่สิ้นสุด มีอยู่ตลอดไป
ภาพที่ 2.1 น้้าในวัฏจักร
2.ทรัพยากรธรรมชาติที่สูญเสียได้
ทรัพยากรธรรมชาติที่ทดแทนได้หรือรักษาไว้ได้ (replaceable and maintainable natural resources)
แบ่งได้ดังนี้
2.1 น้้าที่อยู่ ณ ที่ใดที่หนึ่ง (water in place) หมายถึง น้้าที่อยู่ในที่เฉพาะแห่ง เช่น น้้าในภาชนะ น้้าในเขื่อน
เมื่อใช่ไปเรื่อย ๆ ปริมาณจะลดลง แต่จะมีปริมาณเพิ่มขึ้นได้เมื่อเกิดฝนตก น้้าที่อยู่ ณ ที่ใดที่หนึ่งเมื่อใช้แล้วก็
จะหมดไป แต่สามารถที่จะหามาทดแทนใหม่ได้
2.2 ดิน (soil) หมายถึง เนื้อดินที่เป็นที่อยู่อาศัยของพืช เป็นแหล่งสะสมแร่ธาตุอาหารที่จ้าเป็นส้าหรับพืช
เพราะเหตุที่อาหาร เครื่องนุ่งห่ม ที่อยู่อาศัย ยารักษาโรค ส่วนมากมาจากพืชซึ่งเจริญเติบโตมาจากดินหรือได้
จากสัตว์ซึ่งกินพืช ดินจึงเป็นสิ่งจ้าเป็นส้าหรับสิ่งมีชีวิต แต่ดินเกิดทดแทนตามธรรมชาติได้ช้ามาก กว่าจะได้เนื้อ
ดินหนา 1 นิ้ว ธรรมชาติต้องใช้เวลาสร้างถึง 100 ปี 1,000 ปี เป็นอย่างน้อย อย่างไรก็ตามถึงดินจะเกิดได้ช้า
แต่มนุษย์ก็สามารถดูแลรักษาดินให้คงมีคุณภาพเหมือนเดิมได้โดยการใส่ปุ๋ยหรือการใช้ประโยชน์จากดินอย่าง
ถูกต้องตามหลักการอนุรักษ์ เพราะฉะนั้นลักษณะสมบัติของดินในแง่ของทรัพยากรธรรมชาติแล้วจัดเป็น
ประเภทที่สามารถรักษาให้คงอยู่ได้ (maintainable) มากกว่าการเกิดขึ้นทดแทน (replaceable)
ภาพที่ 2.2 ดิน
6
2.3 ป่าไม้ (forest) ทรัพยากรป่าไม้นับว่ามีความส้าคัญมากในแง่ของการอนุรักษ์ดิน น้้า และสัตว์ป่า
ซึ่งอ้านวยประโยชน์ให้มนุษย์ทั้งทางตรงและทางอ้อม เนื่องจากป่าไม้สามารถขึ้น ทดแทนโดยธรรมชาติ หรือ
การปลูกให้เป็นป่ามาใหม่ได้ ป่าไม้จึงถูกจัดอยู่ในทรัพยากรธรรมชาติพวกที่เกิดขึ้นทดแทนและรักษาให้คงอยู่ได้
ภาพที่2.3 ป่าไม้
2.4 ทุ่งหญ้า (rangeland) หมายถึง พื้นที่ใดพื้นที่หนึ่งที่ส่วนใหญ่มีพืชวงศ์หญ้า และพืชพันธุ์อื่นๆ ขึ้นอยู่เอง
ตามธรรมชาติ มักเป็นที่ที่มีฝนตกน้อย ใช้เป็นที่หากินของสัตว์เลี้ยงและสัตว์ป่า เป็นที่เหมาะแก่การด้าเนินการ
จัดการโดยอาศัยพื้นฐานทางนิเวศวิทยามากกว่าพื้นฐานทางการเกษตร และใช้ประโยชน์แบบเอนกประสงค์ทุ่ง
หญ้าเช่นเดียวกับป่าไม้ จัดเป็นทรัพยากรธรรมชาติที่เกิดขึ้น ทดแทน และรักษาให้คงอยู่ได้
2.5 สัตว์ป่า (wildlife)
2.6 ทรัพยากรก้าลังงานมนุษย์ (human resources) ก้าลังงานมนุษย์จัดเป็นทรัพยากรธรรมชาติประเภท
หนึ่ง มนุษย์เป็นสิ่งที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติตามกฎของธรรมชาติ มนุษย์สามารถใช้ประโยชน์จากตนเองให้
เป็นประโยชน์ต่อมนุษย์ชาติและต่อสังคม โดยอาศัยก้าลังงานที่มีอยู่ในตัวมนุษย์และก้าลังที่ว่านี้เป็นสิ่งที่เกิดขึ้น
เองตามธรรมชาติ ก้าลังงานมนุษย์แบ่งออกได้เป็น 2 ทางคือ ก้าลังงานทางร่ายกายและก้าลังทางจิต (body
and spirit) ก้าลังงานทางร่างกาย ได้แก่ ความแข็งแรงของร่างกาย ส่วนก้าลังทางจิต ได้แก่ การนึกคิดและ
การใช้เหตุผล การจินตนาการ ถ้ามนุษย์มีความเป็นอยู่ดี มีการศึกษา อนามัยดี มีความรู้ ความช้านาญและ
ประกอบการงานอย่างมีประสิทธิภาพหรือรู้จักใช้ทรัพยากรอื่น ๆ อย่างชาญฉลาดแล้วย่อมท้าให้ก้าลังงานที่
ต้องสูญเปล่าลดน้อยลงและสามารถใช้ก้าลังงานให้เป็นประโยชน์แก่งานในทุก ๆ ด้านได้อย่างเต็มที่ ก้าลังงาน
มนุษย์จึงเป็นทรัพยากรที่ควรจะได้มีการอนุรักษ์และจัดการใช้ประโยชน์ให้เหมาะสม
3. ทรัพยากรธรรมชาติที่ใช้แล้วหมดไป
ทรัพยากรธรรมชาติที่ใช้แล้วหมดไป (exhaustible natural resources) ทรัพยากรธรรมชาติประเภทนี้
จ้าเป็นอย่างยิ่งที่ต้องศึกษาเพื่อหาแนวทางในการอนุรักษ์ให้สามารถมีใช้ประโยชน์ได้นานที่สุด ซึ่ง
ทรัพยากรธรรมชาติประเภทนี้ ได้แก่
7
3.1 ทรัพยากรแร่ธาตุ
3.2 ทรัพยากรพลังงาน
3.3 ที่ดินในสภาพธรรมชาติ (land in natural condition) ได้แก่ สถานที่ใช้ศึกษาธรรมชาติและสถานที่
วิเวกห่างไกลผู้คน (wilderness area) หากสถานที่เหล่านี้ถูกท้าลายจะไม่สามารถสร้างมาทดแทนใหม่ได้
ประเทศที่เจริญมีวัฒนธรรมสูงยิ่งมีความจ้าเป็นในการที่จะรักษาสภาพธรรมชาติที่ไม่เคยถูกรบกวนมาก่อนไว้
ส้าหรับศึกษาหาความรู้ตามธรรมชาติ มีไว้ส้าหรับคุณค่าทางจิตใจ เป็นทรัพยากรธรรมชาติที่ไม่สามารถท้าให้
เกิดขึ้นมาใหม่ได้เพราะมีลักษณะสมบัติเฉพาะตัว (unique) เช่น น้้าตก หน้าผา จุดเด่นตามธรรมชาติต่างๆ
8
บทที่ 3
วิธีดาเนินงาน
วัสดุ – อุปกรณ์
1. กล้อง
2. คอมพิวเตอร์
3. โปรแกรม Adobe Premiere Pro และ Adobe Photoshop
ภาพที่ 3.4 Adobe Premiere Pro
ภาพที่ 3.5 Adobe Photoshop
9
ขั้นตอนการดาเนินงาน
1. ประชุมกลุ่มเพื่อวางแผนในการด้าเนินงานโครงงานเรื่อง ปัญหาทรัพยากรธรรมชาติ
2. ศึกษา ค้นคว้าหาข้อมูลเกี่ยวกับปัญหาสิ่งแวดล้อมทั้งในอดีตจนถึงปัจจุบัน
ภาพที่ 3.6 ค้นคว้าข้อมูลที่ห้องสมุด
3. คิดเค้าโครงเรื่องหนังสั้น และเลือกสถานที่ถ่ายท้าหนังสั้น
ภาพที่ 3.7 สถานที่ถ่ายท้าหนังสั้นท่อระบายน้้า
4. ด้าเนินการถ่ายท้าหนังสั้น
ภาพที่ 3.8 ถ่ายท้าหนังสั้น
10
5. ด้าเนินการตัดต่อ เรียบเรียงหนังสั้นที่จัดท้าให้สมบูรณ์
ภาพที่ 3.9 ตัดต่อหนังสั้นเรื่อง ปัญหาทรัพยากรธรรมชาติ
6. น้าเสนอหนังสั้นที่ได้จัดท้าขึ้น
7. สรุปและประเมินผลการด้าเนินงาน
11
บทที่ 4
ผลการดาเนินงาน
ผลการดาเนินงาน
ได้หนังสั้นสะท้อนสังคมเรื่อง ปัญหาทรัพยากรธรรมชาติ ซึ่งชี้ให้เห็นถึงความส้าคัญของ
ทรัพยากรธรรมชาติและปัญหาที่พบเกี่ยวกับทรัพยากรธรรมชาติและวิธีการแก้ปัญหาที่พบเกี่ยวกับ
ทรัพยากรธรรมชาติ ซึ่งได้หนังสั้นมีความยาวทั้งหมด 12 นาที โดยมีเนื้อหาเกี่ยวกับปัญหาน้้าเสียและการทิ้ง
ขยะไม่ถูกที่ พร้อมกับวิธีการแก้ปัญหาโดยวิธีการต่างๆ
ภาพที่ 4.10 หนังสั้นเรื่องปัญหาทรัพยากรธรรมชาติ
12
บทที่ 5
สรุปผลการดาเนินงาน
สรุปผลการดาเนินงาน
ได้หนังสั้นสะท้อนปัญหาของสังคม ในเรื่องปัญหาทรัพยากรธรรมชาติ เพื่อที่จะปลูกจิตส้านึกให้กับคน
ในสังคมมากขึ้น และเห็นความส้าคัญของปัญหาทรัพยากรธรรมชาติที่เราควรอนุรักษ์ เพราะปัญหาเหล่านี้เป็น
ปัญหาที่อยู่รอบตัวเราๆเราก็ควรจะให้ความส้าคัญในเรื่องของวิธีกรอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติด้วย นอนจาก
นี้ยังได้ท้าการเผยแพร่หนังสั้นลงสื่อโซเชียลมีเดีย คือ youtube
ภาพที่ 4.11 หนังสั้น เรื่องปัญหาทรัพยากรธรรมชาติ เผยแพร่ใน youtube
ข้อเสนอแนะ
1. ควรท้าให้หนังสั้นให้มีความน่าสนใจมากกว่านี้
2. ควรเผยแผ่หนังสั้นลงสื่อชนิดอื่นๆได้วย เช่น facebook
บรรณานุกรม
ชัชพล ทรงสุนทรวงศ์. มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม. กรุงเทพมหานคร : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
กรุงเทพมหาคร , 2550.
กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม. 2555. สิ่งแวดล้อมท้องถิ่น. [ออนไลน์]. เข้าถึงข้อมูลได้จาก :
http://local.environnet.in.th/formal. (สืบค้นเมื่อวันที่ 16 มกราคม 2560).

More Related Content

What's hot

ตัวอย่างรายงานโครงงาน
ตัวอย่างรายงานโครงงานตัวอย่างรายงานโครงงาน
ตัวอย่างรายงานโครงงานThanawadee Prim
 
หน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงานหน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงานKanistha Chudchum
 
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียนโครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียนพัน พัน
 
โครงงานวิทยาศาสตร์
โครงงานวิทยาศาสตร์โครงงานวิทยาศาสตร์
โครงงานวิทยาศาสตร์Aphinya Tantikhom
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ ถ่านอัดแท่งสมุนไพร1
โครงงานวิทยาศาสตร์ ถ่านอัดแท่งสมุนไพร1โครงงานวิทยาศาสตร์ ถ่านอัดแท่งสมุนไพร1
โครงงานวิทยาศาสตร์ ถ่านอัดแท่งสมุนไพร1Chok Ke
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1KruKaiNui
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศdnavaroj
 
ปัญหาน้ำเน่าเสีย
ปัญหาน้ำเน่าเสียปัญหาน้ำเน่าเสีย
ปัญหาน้ำเน่าเสียพัน พัน
 
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีWarodom Techasrisutee
 
โครงงานไอเอส1
โครงงานไอเอส1โครงงานไอเอส1
โครงงานไอเอส1Ocean'Funny Haha
 
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานPhongsak Kongkham
 
รูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานรูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานAjBenny Pong
 
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5kessara61977
 
เรื่องปัญหาขยะภายในโลก
เรื่องปัญหาขยะภายในโลกเรื่องปัญหาขยะภายในโลก
เรื่องปัญหาขยะภายในโลกพัน พัน
 
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อแบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อkrupornpana55
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ระบบน้ำหยดประหยัดน้ำเลียนแบบต้นกล้วย
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ระบบน้ำหยดประหยัดน้ำเลียนแบบต้นกล้วยโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ระบบน้ำหยดประหยัดน้ำเลียนแบบต้นกล้วย
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ระบบน้ำหยดประหยัดน้ำเลียนแบบต้นกล้วยธณัชช์ภรณ์ ศิริวัชเดชากุล
 
โครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วง
โครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วงโครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วง
โครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วงchanon leedee
 
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์Jariya Jaiyot
 
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อมแบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อมdnavaroj
 

What's hot (20)

ตัวอย่างรายงานโครงงาน
ตัวอย่างรายงานโครงงานตัวอย่างรายงานโครงงาน
ตัวอย่างรายงานโครงงาน
 
หน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงานหน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงาน
 
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียนโครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
 
โครงงานวิทยาศาสตร์
โครงงานวิทยาศาสตร์โครงงานวิทยาศาสตร์
โครงงานวิทยาศาสตร์
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ ถ่านอัดแท่งสมุนไพร1
โครงงานวิทยาศาสตร์ ถ่านอัดแท่งสมุนไพร1โครงงานวิทยาศาสตร์ ถ่านอัดแท่งสมุนไพร1
โครงงานวิทยาศาสตร์ ถ่านอัดแท่งสมุนไพร1
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
 
ปัญหาน้ำเน่าเสีย
ปัญหาน้ำเน่าเสียปัญหาน้ำเน่าเสีย
ปัญหาน้ำเน่าเสีย
 
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
 
โครงงานไอเอส1
โครงงานไอเอส1โครงงานไอเอส1
โครงงานไอเอส1
 
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
 
รูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานรูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงาน
 
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
 
เรื่องปัญหาขยะภายในโลก
เรื่องปัญหาขยะภายในโลกเรื่องปัญหาขยะภายในโลก
เรื่องปัญหาขยะภายในโลก
 
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อแบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ระบบน้ำหยดประหยัดน้ำเลียนแบบต้นกล้วย
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ระบบน้ำหยดประหยัดน้ำเลียนแบบต้นกล้วยโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ระบบน้ำหยดประหยัดน้ำเลียนแบบต้นกล้วย
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ระบบน้ำหยดประหยัดน้ำเลียนแบบต้นกล้วย
 
โครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วง
โครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วงโครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วง
โครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วง
 
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
 
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อมแบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
 

Similar to ปัญหาสิ่งแวดล้อม

ภาวะโลกร้อน
ภาวะโลกร้อนภาวะโลกร้อน
ภาวะโลกร้อนbambam bam
 
โครงงานคอมพิวเตอร์(เต็ม)
โครงงานคอมพิวเตอร์(เต็ม)โครงงานคอมพิวเตอร์(เต็ม)
โครงงานคอมพิวเตอร์(เต็ม)Tanutcha Pintong
 
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดีรูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดีอาภัสรา ยิ่งคำแหง
 
กล่องแฟนซีรีไซเคิล (1)
กล่องแฟนซีรีไซเคิล (1)กล่องแฟนซีรีไซเคิล (1)
กล่องแฟนซีรีไซเคิล (1)Prapatsorn Chaihuay
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Bliss_09
 
ทรัพยากรธรรมชาติ
ทรัพยากรธรรมชาติทรัพยากรธรรมชาติ
ทรัพยากรธรรมชาติkasarin rodsi
 
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิตแบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิตsripayom
 
สิ่งแวดล้อมศึกษาเบื้องต้น
สิ่งแวดล้อมศึกษาเบื้องต้นสิ่งแวดล้อมศึกษาเบื้องต้น
สิ่งแวดล้อมศึกษาเบื้องต้นSompop Petkleang
 
ทรัพยากรธรรมชาติ
ทรัพยากรธรรมชาติทรัพยากรธรรมชาติ
ทรัพยากรธรรมชาติaonzaza123
 
เรื่องปัญหาภาวะโลกร้อน
เรื่องปัญหาภาวะโลกร้อนเรื่องปัญหาภาวะโลกร้อน
เรื่องปัญหาภาวะโลกร้อนพัน พัน
 
โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริรัลกาลที่9
โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริรัลกาลที่9โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริรัลกาลที่9
โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริรัลกาลที่9Pai Chensuriyakun
 
สตอรี่บอร์ดลดโลกร้อน
สตอรี่บอร์ดลดโลกร้อนสตอรี่บอร์ดลดโลกร้อน
สตอรี่บอร์ดลดโลกร้อนVitsanu Nittayathammakul
 
โครงงาน Banana spit
โครงงาน Banana spitโครงงาน Banana spit
โครงงาน Banana spitsledped39
 
Pat5 ความถนัดทางวิชาชีพครู
Pat5 ความถนัดทางวิชาชีพครูPat5 ความถนัดทางวิชาชีพครู
Pat5 ความถนัดทางวิชาชีพครูTheyok Tanya
 

Similar to ปัญหาสิ่งแวดล้อม (20)

ภาวะโลกร้อน
ภาวะโลกร้อนภาวะโลกร้อน
ภาวะโลกร้อน
 
Is3sharinglove
Is3sharingloveIs3sharinglove
Is3sharinglove
 
โครงงานคอมพิวเตอร์(เต็ม)
โครงงานคอมพิวเตอร์(เต็ม)โครงงานคอมพิวเตอร์(เต็ม)
โครงงานคอมพิวเตอร์(เต็ม)
 
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดีรูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
 
กล่องแฟนซีรีไซเคิล (1)
กล่องแฟนซีรีไซเคิล (1)กล่องแฟนซีรีไซเคิล (1)
กล่องแฟนซีรีไซเคิล (1)
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
ทรัพยากรธรรมชาติ
ทรัพยากรธรรมชาติทรัพยากรธรรมชาติ
ทรัพยากรธรรมชาติ
 
3p
3p3p
3p
 
3p
3p3p
3p
 
3p
3p3p
3p
 
3p
3p3p
3p
 
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิตแบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
 
สิ่งแวดล้อมศึกษาเบื้องต้น
สิ่งแวดล้อมศึกษาเบื้องต้นสิ่งแวดล้อมศึกษาเบื้องต้น
สิ่งแวดล้อมศึกษาเบื้องต้น
 
ทรัพยากรธรรมชาติ
ทรัพยากรธรรมชาติทรัพยากรธรรมชาติ
ทรัพยากรธรรมชาติ
 
เรื่องปัญหาภาวะโลกร้อน
เรื่องปัญหาภาวะโลกร้อนเรื่องปัญหาภาวะโลกร้อน
เรื่องปัญหาภาวะโลกร้อน
 
โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริรัลกาลที่9
โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริรัลกาลที่9โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริรัลกาลที่9
โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริรัลกาลที่9
 
สตอรี่บอร์ดลดโลกร้อน
สตอรี่บอร์ดลดโลกร้อนสตอรี่บอร์ดลดโลกร้อน
สตอรี่บอร์ดลดโลกร้อน
 
โครงงาน Banana spit
โครงงาน Banana spitโครงงาน Banana spit
โครงงาน Banana spit
 
Pat5
Pat5Pat5
Pat5
 
Pat5 ความถนัดทางวิชาชีพครู
Pat5 ความถนัดทางวิชาชีพครูPat5 ความถนัดทางวิชาชีพครู
Pat5 ความถนัดทางวิชาชีพครู
 

More from Tangkwa Pawarisa (11)

Disney d.i.y.-ไอเอส
Disney d.i.y.-ไอเอสDisney d.i.y.-ไอเอส
Disney d.i.y.-ไอเอส
 
ไวนิล
ไวนิลไวนิล
ไวนิล
 
งานก#1
งานก#1งานก#1
งานก#1
 
งานนำเสนอIs
งานนำเสนอIsงานนำเสนอIs
งานนำเสนอIs
 
แผ่นพับ Is
แผ่นพับ Isแผ่นพับ Is
แผ่นพับ Is
 
บทที่5
บทที่5บทที่5
บทที่5
 
บทที่4
บทที่4บทที่4
บทที่4
 
บทที่3
บทที่3บทที่3
บทที่3
 
บทที่2
บทที่2บทที่2
บทที่2
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1
 
บทนำ
บทนำบทนำ
บทนำ
 

ปัญหาสิ่งแวดล้อม

  • 1. ปัญหาทรัพยากรธรรมชาติ จัดทาโดย 1. นางสาวกิรติกา ทองดี เลขที่ 31 2. นางสาวจิดาภา พลอยแสงสายเลขที่ 32 3. นางสาวธฤษวรรณ ตันติศุภชัย เลขที่ 33 4. นางสาวปริชญา วงษ์พิมพ์ เลขที่ 34 5. นางสาวปวริศา ล้อมสินทรัพย์ เลขที่ 35 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/2 เสนอ คุณครูณัฐรดา จณินชวดลเดชา โครงงานฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของราชวิชาการศึกษาค้นคว้าสร้างองค์ความรู้ IS2 (I30202) ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2559 โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธย
  • 2. ปัญหาทรัพยากรธรรมชาติ จัดทาโดย 1. นางสาวกิรติกา ทองดี เลขที่ 31 2. นางสาวจิดาภา พลอยแสงสายเลขที่ 32 3. นางสาวธฤษวรรณ ตันติศุภชัย เลขที่ 33 4. นางสาวปริชญา วงษ์พิมพ์ เลขที่ 34 5. นางสาวปวริศา ล้อมสินทรัพย์ เลขที่ 35 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/2 เสนอ คุณครูณัฐรดา จณินชวดลเดชา โครงงานฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของราชวิชาการศึกษาค้นคว้าสร้างองค์ความรู้ IS2 (I30202) ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2559 โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 8
  • 3. ก ชื่อโครงงาน ปัญหาทรัพยากรธรรมชาติ คณะผู้จัดทา 1. นางสาวกิริติกา ทองดี 2 .นางสาวจิดาภา พลอยแสงสาย 3 .นางสาวธฤษวรรณ ตันติศุภชัย 4. นางสาวปริชญา วงษ์พิมพ์ 5. นางสาวปวริศา ล้อมสินทรัพย์ ครูที่ปรึกษา คุณครูณัฐรดา จณินชวดลเดชา สถานที่ศึกษา โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี บทคัดย่อ เนื่องจากสถานการณ์สิ่งแวดล้อมในปัจจุบันประสบปัญหาเกี่ยวกับทรัพยากรธรรมชาติมากมาย เช่น อุทกภัย อัคคีภัย ปัญหาอุณหภูมิที่สูงอย่างรวดเร็ว นอกจากนี้ยังพบปัญหาขยะ ที่มีมากมายตามแม่น้้า พื้นที่ ที่เกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม หรือที่สาธารณะ ปัญหาของทรัพยากรธรรมชาติที่ถูกล้าลายด้วยน้้ามือของมนุษย์ ผู้จัดท้าโครงงานจึงได้จัดท้าสื่อหนังสั้น เกี่ยวกับปัญหาทรัพยากรธรรมชาติขึ้น เนื่องจากสื่อหนังสั้นเรื่องนี้ จะช่วยปลุกจิตส้านึกในการที่จะอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม สะท้อนปัญหาสังคมในเรื่องของทรัพยากรธรรมชาติมาก ขึ้นเพื่อให้ทุกคนเล็งเห็นถึงความส้าคัญของทรัพยากรธรรมชาติ
  • 4. ข คานา รายงานการศึกษาค้นคว้าเล่มนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชา IS2 ( I 30202) ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่5 เพื่อศึกษาความรู้ในเรื่อง ปัญหาทรัพยากรธรรมชาติโดยมีเนื้อหาเกี่ยวกับ ความหมายของทรัพยากรธรรมชาติ ประเภทของทรัพยากรธรรมชาติ และปัญหาทรัพยากรธรรมชาติในปัจจุบันแนวทางการแก้ปัญหาและกฎหมาย ที่เกี่ยวข้อง นอกจากนี้ยังได้จัดท้าหนังสั้นเกี่ยวกับทรัพยากรธรรมชาติ และได้ศึกษาอย่างเข้าใจเพื่อเป็น ประโยชน์ในการเรียนและการด้าเนินชีวิตประจ้าวัน ผู้จัดท้าหวังว่ารายงานการศึกษาค้นคว้าเล่มนี้จะเป็นประโยชน์กับผู้อ่านหรือผู้ที่สนใจศึกษาหาข้อมูล ในเรื่องนี้อยู่ หากมีข้อแนะน้าหรือข้อผิดพลาดประการใด ผู้จัดท้าขอน้อมรับไว้และขออภัยมา ณ ที่นี้ด้วย คณะผู้จัดท้า
  • 5. ค กิตติกรรมประกาศ การศึกษาค้นค้าฉบับนี้ส้าเร็จลุล่วงไปด้วยดี ด้วยความช่วยเหลือของครูณัฐรดา จณินชวดลเดชา ครูที่ปรึกษา ในการศึกษาค้นคว้าซึ่งท่านได้ให้ค้าแนะน้าและข้อคิดเห็นต่าง ๆ อันเป็นประโยชน์อย่างยิ่งใน การศึกษาค้นคว้า อีกทั้งยังช่วยแก้ปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นระหว่างการด้าเนินงานอีกด้วย ขอขอบคุณ คุณครู ประจ้าห้องสมุดที่คอยอ้านวยความสะดวกในการค้นคว้าหนังสือ นอกจากนี้ขอขอบคุณเพื่อน ๆ ในห้องที่คอย เป็นก้าลังใจ และให้ความช่วยเหลือในการศึกษาค้นคว้าในครั้งนี้ สุดท้ายนี้ ขอขอบพระคุณบิดามารดา และครอบครัว ซึ่งเปิดโอกาสให้ได้รับการศึกษาเล่าเรียน ตลอดจน คอยช่วยเหลือและให้ก้าลังใจเสมอมาจนงานได้ส้าเร็จลุล่วงไปด้วยดี คณะผู้จัดท้า
  • 6. ง สารบัญ เรื่อง หน้า บทคัดย่อ ก ค้าน้า ข กิตติกรรมประกาศ ค สารบัญ ง สารบัญภาพ จ สารบัญตาราง ฉ บทที่ 1 บทน้า ที่มาและความส้าคัญ 1 วัตถุประสงค์ 1 ขอบเขตของโครงงาน 1 ผลที่คาดว่าจะได้รับ 2 บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง ความหมายทรัพยากรธรรมชาติ 3 ความส้าคัญของทรัพยากรธรรมชาติ 4 ประเภทของทรัพยากรธรรมชาติ 5-6 บทที่ 3 วิธีการด้าเนินงาน วัสดุ-อุปกรณ์ 8 วิธีการด้าเนินงาน 9-10 บทที่ 4 ผลการด้าเนินงาน 11 บทที่ 5 สรุปผลการด้าเนินงาน 12 บรรณานุกรม
  • 7. จ สารบัญภาพ ภาพที่ หน้า ภาพที่ 2.1 น้้าในวัฏจักร 5 ภาพที่ 2.2 ดิน 5 ภาพที่2.3 ป่าไม้ 6 ภาพที่ 3.4 Adobe Premiere Pro 8 ภาพที่ 3.5 Adobe Photoshop 8 ภาพที่ 3.6 ค้นคว้าข้อมูลที่ห้องสมุด 9 ภาพที่ 3.7 สถานที่ถ่ายท้าหนังสั้นท่อระบายน้้า 9 ภาพที่ 3.8 ถ่ายท้าหนังสั้น 9 ภาพที่ 3.9 ตัดต่อหนังสั้นเรื่อง ปัญหาทรัพยากรธรรมชาติ 10 ภาพที่ 4.10 หนังสั้นเรื่องปัญหาทรัพยากรธรรมชาติ 11 ภาพที่ 4.10 หนังสั้นเรื่องปัญหาทรัพยากรธรรมชาติ 12
  • 8. ฉ สารบัญตาราง ตารางที่ หน้า ตารางที่ 1.1 แผนการด้าเนินงานโครงงาน 2
  • 9. 1 บทที่ 1 บทนา ที่มาและความสาคัญ ในยุคโลกาภิวัฒน์ในปัจจุบันนี้สถานการณ์ของโลกได้เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็วท้าให้อุณหภูมิและ สภาพอากาศของโลกได้เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็วท้าให้เกิดมลภาวะทางอากาศและเกิดมลพิษต่างๆมากมาย บนโลกซึ่งท้าให้มนุษย์ได้รับอันตรายจากมลภาวะอากาศที่เปลี่ยนแปลงไปนอกจากนี้มนุษย์ที่ได้รับผลกระทบ แล้วนั้นยังท้าให้สิ่งมีชีวิตไม่ว่าจะเป็นพืชหรือสัตว์ได้รับอันตรายจากการเปลี่ยนแปลงทางอากาศซึ่งมาจากผล การกระท้าของมนุษย์ทั้งสิ้นที่ไม่เห็นความส้าคัญของทรัพยากรธรรมชาติซึ่งทรัพยากรทางธรรมชาติเป็นสิ่ง ส้าคัญต่อการด้ารงชีวิตขิงมนุษย์ เพื่อเป็นการสะท้อนให้เห็นถึงความส้าคัญของทรัพยากรธรรมชาติ ทางผู้จัดท้าจึงได้จัดท้าคลิปวิดิโอ เรื่อง ปัญหาทรัพยากรธรรมชาติ เพื่อให้ทุกคนร่วมกันตระหนักถึงความส้าคัญและช่วยกันอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติ เพื่อให้ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งมีชีวิตด้ารงชีวิตได้อย่างปลอดภัยและมีความสุข วัตถุประสงค์ 1. เพื่อสร้างให้เห็นถึงความส้าคัญของทรัพยากรธรรมชาติ 2. เพื่อสร้างหนังสั้นสะท้อนสังคมเรื่อง ทรัพยากรธรรมชาติ ขอบเขตของโครงงาน สร้างหนังสั้นเพื่อเผยแพร่ความรู้ และความส้าคัญเกี่ยวกับทรัพยากรธรรมชาติโดยใช้โปรแกรมตัดต่อ วิดิโอและบันทึกเสียง
  • 10. 2 แผนการดาเนินงาน ตารางที่ 1 แผนการด้าเนินงานโครงงาน ขั้นตอนการด้าเนินงาน ระยะเวลาในการด้าเนินงาน ตุลาคม พฤศจิกายน ธันวาคม มกราคม กุมภาพันธ์ 1.คิดหัวข้อโครงงานเพื่อเสนอ ครูที่ปรึกษา 2.ศึกษาค้นคว้ารวบรวมข้อมูล เกี่ยวกับการสร้างหนังสั้น 3.จัดท้าโครงงานเสนอครูที่ ปรึกษา 4.ศึกษาโปรแกรมและ ออกแบบหนังสั้น 5.จัดท้าโครงงานและสร้าง หนังสั้น 6.เผยแพร่หนังสั้นผ่านระบบ อินเทอร์เน็ต 7.สรุปรายงานโครงงานและ จัดท้ารูปเล่ม 8.สรุปและน้าเสนอโครงงาน ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1. ได้น้าเทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้ให้มีคุณค่าและเกิดประโยชน์ได้ 2. ผู้ชมหนังสั้นมีความรู้ถึงความส้าคัญของทรัพยากรธรรมชาติ
  • 11. 3 บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง ทรัพยากรธรรมชาติ (Natural Resource) การเรียนรู้ด้านทรัพยากรธรรมชาติ ทรัพยากรธรรมชาติเป็นสิ่งที่ส้าคัญ เป็นต้นทุนหรือวัตถุดิบที่ มนุษย์น้ามาใช้เพื่อความเจริญทางเศรษฐกิจ ประเทศใดก็ตามที่อุดมสมบูรณ์ไปด้วยทรัพยากรธรรมชาติ ประเทศนั้นจะมีความร่้ารวยและมีความเจริญทางด้านเศรษฐกิจ แต่เมื่อใดก็ตามที่มนุษย์น้าทรัพยากรธรรมชาติ มาใช้ไม่ถูกวิธีก็ท้าให้ทรัพยากรธรรมชาติบางชนิดหมดสิ้นไปจากโลกนี้ได้ ดังนั้นจึงควรที่จะเรียนรู้ถึง ความส้าคัญของทรัพยากรธรรมชาติ เรียนรู้ถึงประเภทของทรัพยากรธรรมชาติและเข้าใจถึง ทรัพยากรธรรมชาติเหล่านั้นเพื่อการวางแผนการจัดการที่มีคุณภาพ ความหมายและความส้าคัญของทรัพยากรธรรมชาติ 1. ความหมายของทรัพยากรธรรมชาติ เกษม จันทร์แก้ว (2541, หน้า 138) ให้ความหมายของทรัพยากรธรรมชาติ (natural resources)หมายถึง “สิ่งต่าง ๆ ที่มีอยู่ตามธรรมชาติ และให้ประโยชน์ต่อมนุษย์ไม่ทางใดก็ทางหนึ่ง” ชัยศรี ธาราสวัสดิ์พิพัฒน์ (2548, หน้า 92) ให้ความหมายของทรัพยากรธรรมชาติ ว่าหมายถึง “สิ่งที่เกิดขึ้น เองตามธรรมชาติ มีประโยชน์สามารถสนองความต้องการของมนุษย์ได้ หรือมนุษย์สามารถน้ามาใช้ประโยชน์ ได้ เช่น บรรยากาศ ดิน น้้า ป่าไม้ ทุ่งหญ้า สัตว์ป่า แร่ธาตุ พลังงาน รวมทั้งก้าลังจากมนุษย์ด้วย” จากความหมายที่กล่าวมา สรุปได้ว่าทรัพยากรธรรมชาติ เป็นส่วนหนึ่งของสิ่งแวดล้อม เกิดขึ้นเองตาม ธรรมชาติโดยที่มนุษย์ไม่ได้สร้างขึ้น และมีประโยชน์ต่อมนุษย์” 2. ความสาคัญของทรัพยากรธรรมชาติ จากความหมายของทรัพยากรธรรมชาติ จะเห็นได้ว่าสิ่งที่เรียกว่า “ทรัพยากรธรรมชาติ” นั้นคือสิ่งที่เป็น ประโยชน์ต่อมนุษย์ ไม่ว่าจะโดยทางตรงหรือทางอ้อม และเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นเอง ดังนั้นทรัพยากรธรรมชาติจึงมี ความส้าคัญต่อมนุษย์ในด้านต่าง ๆ ดังนี้ 1.) ทรัพยากรธรรมชาติ เป็นแหล่งของปัจจัยที่จ้าเป็นต่อการด้ารงชีวิตของมนุษย์ คือ 1.1) เป็นแหล่งที่อยู่อาศัย เป็นแหล่งวัตถุดิบในการก่อสร้างที่อยู่อาศัย มนุษย์น้าไม้ หิน ทราย มาก่อสร้าง บ้านเรือน สิ่งปลูกสร้างต่าง ๆ 1.2) เป็นแหล่งอาหาร ไม่ว่าจะเป็น พืช สัตว์ 1.3) เป็นแหล่งที่มาเครื่องนุ่มห่ม ในอดีตมนุษย์ใช้ใบไม้เป็นเครื่องปกปิดร่างกาย ในปัจจุบันน้าเส้นใยจาก ธรรมชาติ เช่น เส้นไหม ฝ้าย มาถักทอเป็นเสื้อผ้าปกปิดร่างกาย
  • 12. 4 1.4) เป็นแหล่งที่มาของยารักษาโรค วิวัฒนาการจากการเก็บส่วนต่าง ๆ ทั้งของพืช และสัตว์มารักษาโรค ที่รู้จักกันในชื่อของ “สมุนไพร” ต่อมาก็ได้ใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัยขึ้นมาเปลี่ยนสมุนไพรเป็นยาแผนปัจจุบัน ในประเทศไทยมีพืชที่สามารถใช้เป็นสมุนไพรรักษาโรคในท้องถิ่นมากกว่า 779 ชนิด (สถานการณ์สิ่งแวดล้อม ไทย, 2543) 2.) เป็นปัจจัยในการด้ารงชีวิตที่มนุษย์และสิ่งมีชีวิตอื่นขาดไม่ได้ ได้แก่ อากาศ น้้า 3.) เป็นปัจจัยที่ส้าคัญในการผลิต หรือเป็นวัตถุดิบในกระบวนการผลิตของอุตสาหกรรม เช่น การผลิต กระดาษต้องใช้เยื่อไม้ น้้า น้้ามันเชื้อเพลิง เป็นวัตถุดิบ 4.) ความต้องการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ บ่งชี้ถึงความเจริญทางเศรษฐกิจ และความเจริญของสังคมมนุษย์ 5.) มีความส้าคัญต่อเศรษฐกิจของประเทศทั้งทางตรง เช่น ทรัพยากรพลังงาน แร่ อัญมณีที่มีมูลค่าทาง เศรษฐกิจ หรือโดยทางอ้อม เช่น เป็นสถานที่ท่องเที่ยว พักผ่อนหย่อนใจ น้ารายได้จากการท่องเที่ยวเข้าสู่ ประเทศ 6.) มีความส้าคัญด้านวิชาการ ทางวิทยาศาสตร์และการแพทย์ 7.) มีความส้าคัญต่อการรักษาสมดุลของระบบนิเวศ เนื่องจากทรัพยากรธรรมชาติเป็นส่วนหนึ่งของระบบ นิเวศทั้งระบบนิเวศบนบก ระบบนิเวศทางน้้า เช่น ทรัพยากรธรรมชาติประเภทป่าไม้มีประโยชน์ต่อ องค์ประกอบของผู้ผลิตที่ต้องสร้างอาหารเลี้ยงสิ่งมีชีวิตบนโลกใบนี้ เป็นต้น 8.) มีความส้าคัญต่อการหมุนเวียน หรือวัฏจักรของแร่ธาตุและสารอาหารในระบบนิเวศ ประเภทของทรัพยากรธรรมชาติ ทรัพยากร เป็น 1 ใน 4 ของมิติทางสิ่งแวดล้อม ทรัพยากรแบ่งเป็นทรัพยากรที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ ซึ่ง เรียกว่า “ทรัพยากรธรรมชาติ” และทรัพยากรที่มนุษย์สร้างขึ้น แต่ในที่นี้จะกล่าวเฉพาะทรัพยากรธรรมชาติ เท่านั้น ทรัพยากรธรรมชาติมีมากกมายหลายชนิด หลายประเภท สามารถแบ่งตามการน้ามาใช้งาน ทรัพยากรธรรมชาติ(NaturalResource) ประเภทของทรัพยากรธรรมชาติ สามารถแบ่งตามการน้ามาใช้งานและผลที่เกิดขึ้นได้ 3 ประเภท ดังนี้ 1. ทรัพยากรธรรมชาติที่ใช้แล้วไม่หมด ทรัพยากรธรรมชาติที่ใช้แล้วไม่หมดหรือไม่สูญหาย(inexhaustiblenaturalresources) ทรัพยากรธรรมชาติ ประเภทนี้ ได้แก่ บรรยากาศ น้้าในวัฎจักร แสงอาทิตย์ เป็นต้น ลักษณะของทรัพยากรธรรมชาติในประเภทนี้ แบ่งได้เป็น 2 ชนิด ดังนี้ 1.1 บรรยากาศ (atmosphere) ในบรรยากาศประกอบไปด้วยอากาศซึ่งเป็นสิ่งจ้าเป็นส้าหรับมีชีวิต นอกจากนั้นยังมีความชื้น อุณหภูมิ และการเคลื่อนไหวของมวลอากาศ รวมเรียกว่า “ภูมิอากาศ (climate)” ซึ่งมีความส้าคัญต่อลักษณะของดิน พืชพันธุ์ และสภาพอื่น ๆ ของสิ่งมีชีวิตบนพื้นผิวโลก ดังนั้นบรรยากาศจึง เป็นทรัพยากรธรรมชาติที่มีผลต่อทรัพยากรธรรมชาติอื่น ๆ บรรยากาศจะหมุนเวียนเปลี่ยนแปลงต่อเนื่องกันไป อย่างไม่มีที่สิ้นสุด จึงจัดบรรยากาศอยู่ในทรัพยากรธรรมชาติที่ใช้ไม่หมด
  • 13. 5 1.2 น้้าที่อยู่ในวัฎจักร (water in cycle) น้้าที่อยู่ในวัฎจักรจะหมุนเวียนเปลี่ยนไปจากสภาพหนึ่งไปเป็นอีก สภาพหนึ่งเรื่อยไปโดยไม่มีสิ้นสุด เช่น จากฝน หิมะ ลูกเห็บตกลงสู่พื้นดิน บางส่วนระเหยกลับไปสู่บรรยากาศ บางส่วนไหลซึมลึกลงไปเป็นน้้าใต้ดิน บางส่วนไหลไปตามพื้นผิวดินลงสู่แม่น้้าล้าคลองออกสู่ทะเล มหาสมุทร และกลับระเหยกลายเป็นไอน้้าอยู่ในบรรยากาศและจับตัวเป็นก้อนเมฆตกลงมาเป็นฝนอีก การหมุนเวียนของน้้าแบบนี้จึงไม่มีที่สิ้นสุด มีอยู่ตลอดไป ภาพที่ 2.1 น้้าในวัฏจักร 2.ทรัพยากรธรรมชาติที่สูญเสียได้ ทรัพยากรธรรมชาติที่ทดแทนได้หรือรักษาไว้ได้ (replaceable and maintainable natural resources) แบ่งได้ดังนี้ 2.1 น้้าที่อยู่ ณ ที่ใดที่หนึ่ง (water in place) หมายถึง น้้าที่อยู่ในที่เฉพาะแห่ง เช่น น้้าในภาชนะ น้้าในเขื่อน เมื่อใช่ไปเรื่อย ๆ ปริมาณจะลดลง แต่จะมีปริมาณเพิ่มขึ้นได้เมื่อเกิดฝนตก น้้าที่อยู่ ณ ที่ใดที่หนึ่งเมื่อใช้แล้วก็ จะหมดไป แต่สามารถที่จะหามาทดแทนใหม่ได้ 2.2 ดิน (soil) หมายถึง เนื้อดินที่เป็นที่อยู่อาศัยของพืช เป็นแหล่งสะสมแร่ธาตุอาหารที่จ้าเป็นส้าหรับพืช เพราะเหตุที่อาหาร เครื่องนุ่งห่ม ที่อยู่อาศัย ยารักษาโรค ส่วนมากมาจากพืชซึ่งเจริญเติบโตมาจากดินหรือได้ จากสัตว์ซึ่งกินพืช ดินจึงเป็นสิ่งจ้าเป็นส้าหรับสิ่งมีชีวิต แต่ดินเกิดทดแทนตามธรรมชาติได้ช้ามาก กว่าจะได้เนื้อ ดินหนา 1 นิ้ว ธรรมชาติต้องใช้เวลาสร้างถึง 100 ปี 1,000 ปี เป็นอย่างน้อย อย่างไรก็ตามถึงดินจะเกิดได้ช้า แต่มนุษย์ก็สามารถดูแลรักษาดินให้คงมีคุณภาพเหมือนเดิมได้โดยการใส่ปุ๋ยหรือการใช้ประโยชน์จากดินอย่าง ถูกต้องตามหลักการอนุรักษ์ เพราะฉะนั้นลักษณะสมบัติของดินในแง่ของทรัพยากรธรรมชาติแล้วจัดเป็น ประเภทที่สามารถรักษาให้คงอยู่ได้ (maintainable) มากกว่าการเกิดขึ้นทดแทน (replaceable) ภาพที่ 2.2 ดิน
  • 14. 6 2.3 ป่าไม้ (forest) ทรัพยากรป่าไม้นับว่ามีความส้าคัญมากในแง่ของการอนุรักษ์ดิน น้้า และสัตว์ป่า ซึ่งอ้านวยประโยชน์ให้มนุษย์ทั้งทางตรงและทางอ้อม เนื่องจากป่าไม้สามารถขึ้น ทดแทนโดยธรรมชาติ หรือ การปลูกให้เป็นป่ามาใหม่ได้ ป่าไม้จึงถูกจัดอยู่ในทรัพยากรธรรมชาติพวกที่เกิดขึ้นทดแทนและรักษาให้คงอยู่ได้ ภาพที่2.3 ป่าไม้ 2.4 ทุ่งหญ้า (rangeland) หมายถึง พื้นที่ใดพื้นที่หนึ่งที่ส่วนใหญ่มีพืชวงศ์หญ้า และพืชพันธุ์อื่นๆ ขึ้นอยู่เอง ตามธรรมชาติ มักเป็นที่ที่มีฝนตกน้อย ใช้เป็นที่หากินของสัตว์เลี้ยงและสัตว์ป่า เป็นที่เหมาะแก่การด้าเนินการ จัดการโดยอาศัยพื้นฐานทางนิเวศวิทยามากกว่าพื้นฐานทางการเกษตร และใช้ประโยชน์แบบเอนกประสงค์ทุ่ง หญ้าเช่นเดียวกับป่าไม้ จัดเป็นทรัพยากรธรรมชาติที่เกิดขึ้น ทดแทน และรักษาให้คงอยู่ได้ 2.5 สัตว์ป่า (wildlife) 2.6 ทรัพยากรก้าลังงานมนุษย์ (human resources) ก้าลังงานมนุษย์จัดเป็นทรัพยากรธรรมชาติประเภท หนึ่ง มนุษย์เป็นสิ่งที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติตามกฎของธรรมชาติ มนุษย์สามารถใช้ประโยชน์จากตนเองให้ เป็นประโยชน์ต่อมนุษย์ชาติและต่อสังคม โดยอาศัยก้าลังงานที่มีอยู่ในตัวมนุษย์และก้าลังที่ว่านี้เป็นสิ่งที่เกิดขึ้น เองตามธรรมชาติ ก้าลังงานมนุษย์แบ่งออกได้เป็น 2 ทางคือ ก้าลังงานทางร่ายกายและก้าลังทางจิต (body and spirit) ก้าลังงานทางร่างกาย ได้แก่ ความแข็งแรงของร่างกาย ส่วนก้าลังทางจิต ได้แก่ การนึกคิดและ การใช้เหตุผล การจินตนาการ ถ้ามนุษย์มีความเป็นอยู่ดี มีการศึกษา อนามัยดี มีความรู้ ความช้านาญและ ประกอบการงานอย่างมีประสิทธิภาพหรือรู้จักใช้ทรัพยากรอื่น ๆ อย่างชาญฉลาดแล้วย่อมท้าให้ก้าลังงานที่ ต้องสูญเปล่าลดน้อยลงและสามารถใช้ก้าลังงานให้เป็นประโยชน์แก่งานในทุก ๆ ด้านได้อย่างเต็มที่ ก้าลังงาน มนุษย์จึงเป็นทรัพยากรที่ควรจะได้มีการอนุรักษ์และจัดการใช้ประโยชน์ให้เหมาะสม 3. ทรัพยากรธรรมชาติที่ใช้แล้วหมดไป ทรัพยากรธรรมชาติที่ใช้แล้วหมดไป (exhaustible natural resources) ทรัพยากรธรรมชาติประเภทนี้ จ้าเป็นอย่างยิ่งที่ต้องศึกษาเพื่อหาแนวทางในการอนุรักษ์ให้สามารถมีใช้ประโยชน์ได้นานที่สุด ซึ่ง ทรัพยากรธรรมชาติประเภทนี้ ได้แก่
  • 15. 7 3.1 ทรัพยากรแร่ธาตุ 3.2 ทรัพยากรพลังงาน 3.3 ที่ดินในสภาพธรรมชาติ (land in natural condition) ได้แก่ สถานที่ใช้ศึกษาธรรมชาติและสถานที่ วิเวกห่างไกลผู้คน (wilderness area) หากสถานที่เหล่านี้ถูกท้าลายจะไม่สามารถสร้างมาทดแทนใหม่ได้ ประเทศที่เจริญมีวัฒนธรรมสูงยิ่งมีความจ้าเป็นในการที่จะรักษาสภาพธรรมชาติที่ไม่เคยถูกรบกวนมาก่อนไว้ ส้าหรับศึกษาหาความรู้ตามธรรมชาติ มีไว้ส้าหรับคุณค่าทางจิตใจ เป็นทรัพยากรธรรมชาติที่ไม่สามารถท้าให้ เกิดขึ้นมาใหม่ได้เพราะมีลักษณะสมบัติเฉพาะตัว (unique) เช่น น้้าตก หน้าผา จุดเด่นตามธรรมชาติต่างๆ
  • 16. 8 บทที่ 3 วิธีดาเนินงาน วัสดุ – อุปกรณ์ 1. กล้อง 2. คอมพิวเตอร์ 3. โปรแกรม Adobe Premiere Pro และ Adobe Photoshop ภาพที่ 3.4 Adobe Premiere Pro ภาพที่ 3.5 Adobe Photoshop
  • 17. 9 ขั้นตอนการดาเนินงาน 1. ประชุมกลุ่มเพื่อวางแผนในการด้าเนินงานโครงงานเรื่อง ปัญหาทรัพยากรธรรมชาติ 2. ศึกษา ค้นคว้าหาข้อมูลเกี่ยวกับปัญหาสิ่งแวดล้อมทั้งในอดีตจนถึงปัจจุบัน ภาพที่ 3.6 ค้นคว้าข้อมูลที่ห้องสมุด 3. คิดเค้าโครงเรื่องหนังสั้น และเลือกสถานที่ถ่ายท้าหนังสั้น ภาพที่ 3.7 สถานที่ถ่ายท้าหนังสั้นท่อระบายน้้า 4. ด้าเนินการถ่ายท้าหนังสั้น ภาพที่ 3.8 ถ่ายท้าหนังสั้น
  • 18. 10 5. ด้าเนินการตัดต่อ เรียบเรียงหนังสั้นที่จัดท้าให้สมบูรณ์ ภาพที่ 3.9 ตัดต่อหนังสั้นเรื่อง ปัญหาทรัพยากรธรรมชาติ 6. น้าเสนอหนังสั้นที่ได้จัดท้าขึ้น 7. สรุปและประเมินผลการด้าเนินงาน
  • 19. 11 บทที่ 4 ผลการดาเนินงาน ผลการดาเนินงาน ได้หนังสั้นสะท้อนสังคมเรื่อง ปัญหาทรัพยากรธรรมชาติ ซึ่งชี้ให้เห็นถึงความส้าคัญของ ทรัพยากรธรรมชาติและปัญหาที่พบเกี่ยวกับทรัพยากรธรรมชาติและวิธีการแก้ปัญหาที่พบเกี่ยวกับ ทรัพยากรธรรมชาติ ซึ่งได้หนังสั้นมีความยาวทั้งหมด 12 นาที โดยมีเนื้อหาเกี่ยวกับปัญหาน้้าเสียและการทิ้ง ขยะไม่ถูกที่ พร้อมกับวิธีการแก้ปัญหาโดยวิธีการต่างๆ ภาพที่ 4.10 หนังสั้นเรื่องปัญหาทรัพยากรธรรมชาติ
  • 20. 12 บทที่ 5 สรุปผลการดาเนินงาน สรุปผลการดาเนินงาน ได้หนังสั้นสะท้อนปัญหาของสังคม ในเรื่องปัญหาทรัพยากรธรรมชาติ เพื่อที่จะปลูกจิตส้านึกให้กับคน ในสังคมมากขึ้น และเห็นความส้าคัญของปัญหาทรัพยากรธรรมชาติที่เราควรอนุรักษ์ เพราะปัญหาเหล่านี้เป็น ปัญหาที่อยู่รอบตัวเราๆเราก็ควรจะให้ความส้าคัญในเรื่องของวิธีกรอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติด้วย นอนจาก นี้ยังได้ท้าการเผยแพร่หนังสั้นลงสื่อโซเชียลมีเดีย คือ youtube ภาพที่ 4.11 หนังสั้น เรื่องปัญหาทรัพยากรธรรมชาติ เผยแพร่ใน youtube ข้อเสนอแนะ 1. ควรท้าให้หนังสั้นให้มีความน่าสนใจมากกว่านี้ 2. ควรเผยแผ่หนังสั้นลงสื่อชนิดอื่นๆได้วย เช่น facebook
  • 21. บรรณานุกรม ชัชพล ทรงสุนทรวงศ์. มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม. กรุงเทพมหานคร : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. กรุงเทพมหาคร , 2550. กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม. 2555. สิ่งแวดล้อมท้องถิ่น. [ออนไลน์]. เข้าถึงข้อมูลได้จาก : http://local.environnet.in.th/formal. (สืบค้นเมื่อวันที่ 16 มกราคม 2560).