SlideShare a Scribd company logo
1 of 36
Download to read offline
ปัญหาสิ่งแวดล้อม
จัดทาโดย
นางสาวกิรติกา ทองดี เลขที่31
นางสาวจิดาภา พลอยแสงสาย เลขที่32
นางสาวธฤษวรรณ ตันติศุภชัย เลขที่33
นางสาวปริชญา วงษ์พิมพ์ เลขที่ 34
นางสาวปวริศา ล้อมสินทรัพย์ เลขที่ 35
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/2
เสนอ
อาจารย์ทรงศักดิ์ โพธิ์เอี่ยม
รายงานฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของราชวิชาการศึกษาค้นคว้าสร้างองค์ความรู้ IS1
(I30201)
โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี
ก
คานา
รายงานการศึกษาค้นคว้าเล่มนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชา IS1 ( I 30201) ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่5
เพื่อศึกษาความรู้ในเรื่อง ปัญหาสิแวดล้อมโดยมีเนื้อหาเกี่ยวกับ ความหมายของสิ่ง แวดล้อม ประเภทของ
สิ่งแวดล้อม ปัญหาสิ่งแวดล้อมในปัจจุบันแนวทางการแก้ปัญหาและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง และได้ศึกษาอย่าง
เข้าใจเพื่อเป็นประโยชน์ในการเรียนและการดาเนินชีวิตประจาวัน
ผู้จัดทาหวังว่ารายงานการศึกษาค้นคว้าเล่มนี้จะเป็นประโยชน์กับผู้อ่านหรือผู้ที่สนใจศึกษาหาข้อมูล
ในเรื่องนี้อยู่หากมีข้อแนะนาหรือข้อผิดพลาดประการใด ผู้จัดทาขอน้อมรับไว้และขออภัยมา ณ ที่นี้ด้วย
คณะผู้จัดทา
ข
กิตติกรรมประกาศ
การศึกษาค้นค้าฉบับนี้สาเร็จลุล่วงไปด้วยดี ด้วยความช่วยเหลือของครูทรงศักดิ์ โพธิ์เอี่ยม ครูที่ปรึกษา
ในการศึกษาค้นคว้าซึ่งท่านได้ให้คาแนะนาและข้อคิดเห็นต่าง ๆ อันเป็นประโยชน์อย่างยิ่งในการศึกษา
ค้นคว้า อีกทั้งยังช่วยแก้ปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นระหว่างการดาเนินงานอีกด้วย ขอขอบคุณ คุณครูประจา
ห้องสมุดที่คอยอานวยความสะดวกในการค้นคว้าหนังสือ นอกจากนี้ขอขอบคุณเพื่อน ๆ ในห้องที่คอยเป็น
กาลังใจ และให้ความช่วยเหลือในการศึกษาค้นคว้าในครั้งนี้
สุดท้ายนี้ ขอขอบพระคุณบิดามารดา และครอบครัว ซึ่งเปิดโอกาสให้ได้รับการศึกษาเล่าเรียน ตลอดจน
คอยช่วยเหลือและให้กาลังใจเสมอมาจนงานได้สาเร็จลุล่วงไปด้วยดี
คณะผู้จัดทา
ค
สารบัญ
หน้า
คานา ก
กิตติกรรมประกาศ ข
สารบัญ ค
สารบัญภาพ ง
บทที่ 1 สิ่งแวดล้อม 1-2
1.1 ความหมายสิ่งแวดล้อม 1
1.2 ประเภทของสิ่งแวดล้อม 1
1.3 ความสาคัญของสิ่งแวดล้อม 2
บทที่ 2 มลพิษสิ่งแวดล้อม 3-6
2.1 มลภาวะทางดิน 3-4
2.2 มลภาวะทางน้า 4
2.3 มลภาวะทางอากาศ 5
2.4 มลภาวะทางเสียง 6
บทที่ 3 สาเหตุของปัญหาสิ่งแวดล้อม 7-10
3.1 ลักษณะปัญหาสิ่งแวดล้อม 10
บทที่ 4 พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม 11-12
บทที่ 5 แนวทางการแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อม 13-14
บรรณานุกรม 15
ภาคผนวก 16-26
จ
สารบัญภาพ
ภาพที่ หน้าที่
1.1สถานการณ์ป่าไม้ในประเทศเทศไทย 2
2.2การทิ้งขยะลงในดิน 3
2.3การปล่อยน้าเสียจากโรงงานอุตสาหกรรม 4
2.4การคมนาคมที่เป็นสาเหตุทาให้เกิดมลภาวะทางอากาศ 5
5.5การฟื้นฟูสภาพแวดล้อม 14
6.6การจัดวางผังเมือง 14
1
บทที่ 1
สิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อม หมายถึง สิ่งต่าง ๆ ที่มีลักษณะทางกายภาพและชีวภาพที่อยู่รอบตัวมนุษย์ซึ่งเกิดขึ้นโดย
ธรรมชาติและสิ่งที่มนุษย์ได้ทาขึ้น(พระราชบัญญัติ ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ.
๒๕๓๕ )
สิ่งแวดล้อม หมายถึง สิ่งต่างๆ ที่อยู่โดยรอบตัวมนุษย์ทั้งที่มนุษย์ประดิษฐ์ขึ้นและที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ
(อ.เปลื้อง นคร)
ประเภทของสิ่งแวดล้อม
1.สิ่งแวดล้อมที่มีชีวิต
1.1สิ่งแวดล้อมธรรมชาติ คือ สิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ มนุษย์ไม่ได้เข้าไปเกี่ยวข้องกับใน
การเกิด เช่น พืชในป่า สัตว์ในป่า สัตว์น้าชนิดต่างๆในทะเล
1.2 สิ่งแวดล้อมที่มนุษย์สร้างขึ้น คือสิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้นโดยมีมนุษย์เป็นผู้สร้าง ส่วนใหญ่เกิดจากกิจการ
ของมนุษย์เช่นพืชสวนพืชไร่ โคในฟาร์ม
2.สิ่งแวดล้อมไม่มีชีวิต
2.1สิ่งแวดล้อมธรรมชาติ คือสิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ เช่น ดิน น้า ลม ฝน แสงแดด
2.2 สิ่งแวดล้อมที่มนุษย์สร้างขึ้น คือสิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้นมาเพื่อเป้ปัจจัยในการดารงชีวิต
2.2.1สิ่งแวดล้อมที่เป็นรูปธรรม เป็นสิ่งแวดล้อมที่มีรูปทรง มองเห็นและจับได้เช่น บ้าน เรือน ถนน
2.2.2สิ่งแวดล้อมที่เป็นนามธรรม เป็นแบบแผนในการดาเนินชีวิตของมนุษย์เช่นเศรษฐกิจ สังคม
วัฒนธรรมประเพณี
2
ความสาคัญของสิ่งแวดล้อมที่มีต่อสิ่งมีชีวิต
1.สิ่งแวดล้อมทางกายภาพหรือสิ่งแวดล้อมที่ไม่มีชีวิต มีความสาคัญต่อสิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยู่ในสิ่งแวดล้อม
นั้น เช่น น้า ใช้ในการบริโภคและเป็นที่อยู่อาศัยของสัตว์น้า อากาศใช้ในการหายใจของมนุษย์และสัตว์
2.สิ่งแวดล้อมทางชีวภาพ จะช่วยปรับให้สิ่งมีชีวิตอาศัยอยู่ในสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมกับการดารงชีวิต
เช่น ป่ามีความอุดมสมบูรณ์ก็จะมีสัตว์ป่าเข้ามาอยู่อาศัย
3.สิ่งมีชีวิตจะเปลี่ยนไปตามสภาพแวดล้อม เช่น มีการปรับตัวให้เข้ากับสภาพแวดล้อม
4.สิ่งมีชีวิตจะเปลี่ยนแปลงไปตามการกระทาของสิ่งมีชีวิตที่อยู่ในสิ่งแวดล้อมนั้น เช่นเมื่อสัตว์กินพืชจานวน
มาก พืชถูกกินจานวนลดลง
ภาพที่ 1.1 สถานการณ์ป่าไม้ในประเทศเทศไทย
3
บทที่2
มลพิษสิ่งแวดล้อม
มลพิษทางดิน
มลพิษทางดิน หมายถึงภาวะที่ดินได้รับสารปนเปื้อนในปริมาณที่มากกว่าอัตราการสลายตัวหรือการ
เสื่อมฤทธิ์ของสารนั้น จนทาให้เกิดการสะสมของสารพืชหรือเชื้อโรคต่างๆ ซึ่งก่อให้เกิดอันตรายต่อการ
เจริญเติบโตและการเจริญสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต
1.สาเหตุของการเกิดมลพิษทางดิน
1.1ดินเสียโดยธรรมชาติ เกิดจากธรรมชาติไม่เอื้ออานวย เช่น เกิดความแห้งแล้ง ดินมีน้าท่วม
ตลอดเวลา การมีลมพัดหรือน้ากัดเซาะจนเกิดการชะล้างพังทลายของหน้าดิน สาเหตุเกิดปัญหาของดิน คือ
1.1.1 ดินเปรี้ยว ดินที่เป็นจัด มีpHต่ากว่า 4 เป็นดินที่ทาให้ผลผลิตข้าวต่า การแก้ไขทาได้โดยใช้ปูนมาร์ล
และปุ๋ ยช่วย
1.1.2ดินเค็มหรือกินโซดิก คือ ดินที่มีปริมาณโซเดียมคลอไรด์มากกว่าปกติ การแก้ไขทาได้โดยใช้
กระบวนการชะล้างน้าจืดหรือใช้แคลเซียมซัลเฟต ต้องพยายามทาให้ดินมีความชื้นโดยเสมอ
1.2ดินเสียเพราะการกระทาของมนุษย์
1.2.1 ของเสียจากชุมชน ได้แก่ เศษอาหาร เศษกระดาษ เศษแก้ว เศษโลหะ สิ่งเหล่านี้ทาให้ดินเสื่อม
คุณภาพ นอกจากนี้ยังมีน้าที่ผ่านกาใช้ในครัวเรือนโดยทั่วไปจะทิ้งน้าที่มีปริมาณสารเคมีอยู่มากลงสู่ดินดิน
เสีย
ภาพที่ 2.2 การทิ้งขยะลงในดิน
4
1.2.2ของเสียจากโรงงานอุตสาหกรรม ส่วนใหญ่โรงงานอุตสาหกรรมมักจะตั้งอยู่ริมแม่น้าแล้วจะปล่อยน้า
เสียลงแม่น้า แต่ละวันจะมีน้าเสียระบายลงไปในดินจานวนมากทาให้ดินได้รับสารปนเปื้อน
1.2.3 การใช้สารเคมีในการเพิ่มผลผลิตทางการเกษตรจะทาให้ผลผลิตต่าและเกิดดินเสียด้วย
มลพิษทางน้า
มลพิษทางน้า หมายถึงน้าที่มีมลพิษปนเปื้อนเกินขีดจากัด มีสมบัติเปลี่ยนไปจากธรรมชาติ จนทาให้มนุษย์
สัตว์และพืชได้รับอันตราย ซึ่งสิ่งเหล่านี้จะเป็นอันตรายต่อมนุษย์และสิ่งแวดล้อม
แหล่งที่ก่อให้เกิดน้าเสีย
1.อาคารบ้านเรือและชุมชน น้าเสียที่เกิดจากการทากิจกรรมต่างๆ เช่นการอาบน้า การซักผ้า การล้างถ้วย
ชาม ชุมชนส่วนใหญ่มักจะตั้งอยู่ริมฝั่งแม่น้าซึ่งน้าปล่อยจากอาคารบ้านเรือนส่วนใหญ่จะเป็นน้าที่ไม่มี
ระบบการบาบัดก่อนปล่อยลงธรรมชาติ ซึ่งจะทาให้เกิดน้าเสียได้ง่าย
2.โรงงานอุตสาหกรรม มีการใช้น้าในกระบวนการต่างๆ เช่น การผลิต การล้างทาความสะอาด หรือการ
ใช้น้าที่ปนเปื้อนสารเคมี แ ละมีการปล่อยน้าลงสู่แม่น้าโดยไม่ผ่านการบาบัด
3.การเกษตร การเลี้ยงสัตว์ มีการใช้น้าในกระบวนการต่างๆ การถ่ายเทมูลสัตว์และปล่อยลงแม่น้า
การล้างเครื่องมือหรือุปกรณ์การเกษตร น้าทิ้งจากการเพาะเลี้ยงสัตว์น้า
ภาพที่ 2.3 การปล่อยน้าเสียจากโรงงานอุตสาหกรรม
5
มลภาวะทางอากาศ
มลภาวะทางอากาศ หมายถึง ภาวะของอากาศที่มีกรเจือปนของสารพิษในปริมาณที่เป็นอันตรายของ
มนุษย์สัตว์และพืช และทรัพย์สินทั้งทางตรงและทางอ้อม สิ่งเจอปนเหล่านี้ ได้แก่ ก๊าซต่างๆ ฝุ่นละออง
เขม่า ควัน สารกัมมัตรังสี
สาเหตุที่ทาให้เกิดมลพิษทางอากาศมีดังนี้
1.การคมนาคม ยาพาหนะต่างๆที่ใช้ในการคมนาคมทางบก ทางน้า และทางอากาศ หากปล่อยให้
เครื่องยนต์มีสภาพสึกหรอ หรือมีคุณภาพต่า จะทาให้การเผาไหม้ของเครื่องยนต์ไม่สมบูรณ์ ก่อให้เกิดก๊าซ
พิษ เช่น ก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์ซัลเฟอร์ไดออกไซด์
2.ควันไฟและก๊าซจากโรงงาน การเผาไหม้ของเชื้อเพลิงในกระบวนการผลิตจากโรงงานอุตสาหกกรม
ก่อให้เกิดควัน เขม่า ก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์ ก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์
3.การเผามูลฝอย ก่อให้เกิดควัน เขม่า ก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์ ก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์
4.แหล่งอื่นๆ ชุนชนที่พักอาศัยเกิดการรั่วของแก๊สหุงต้ม น้าเน่าเสียจะเกิดก๊าซไฮโดรเจนซัลไฟต์ การ
ก่อสร้างก้อให้เกิดฝุ่นละออง
ภาพที่2.4 การคมนาคมที่เป็นสาเหตุทาให้เกิดมลภาวะทางอากาศ
6
มลพิษทางเสียง
เสียงเป็นพิษ หมายถึงเสียงที่ไม่พึงปรารถนาหรือไม่ต้องการหรือเกินขีดความสามารถของโสตประสาทจะ
รับได้
แหล่งกาเนิดเสียง
1.เสียงจากธรรมชาติ ได้แก่ เสียงฟ้าร้อง เสียงภูเขาไฟระเบิด เสียงลมพัด เสียใบไม้เสียดสีกัน
2.เสียงจากสัตว์มีความดังไม่ถึงกับเป็นอันตรายของมนุษย์แต่อาจก่อให้เกิดความราคาญ เช่น เสียงสุนัข
เห่าหอนในยามวิกาล
3.เสียงที่เกิดจากมนุษย์
3.1 แหล่งกาเนิดเสียงอยู่กับที่ ได้แก่ เสียงที่เกิดจากสถนประกอบการต่างๆ เช่นโรงงานอุตสาหกรรม อู่
ซ่อมรถยนต์บริเวณที่มีการก่อสร้าง
3.2แหล่งกาเนิดเสียงเคลื่อนที่ ได้แก่ยานพาหนะชนิดต่างๆ ที่ใช้เครื่องยนต์ในการขับเคลื่อน
ผลกระทบจากมลพิษทางเสียง
1.อันตรายต่อระบบการได้ยิน ถ้าได้ยินเสี่ยงที่ดังมากเกินปกติ จะทาให้เกิดการหูอื้อชั่วคราวหรือหูตึง แต่
ถ้าเสียงดังมาก เช่นเสียงระเบิด เยงประทัด เสียงฟ้าผา เสียงเครื่องจักร จะทาให้หูหนวกหรือหูตึงถาวร
2.อันตรายของเสียงทางด้านจิตใจ ทาให้เกิดเกิดความราคาญ และอาทาให้เกิดโรคประสาทได้
3.รบกวนการทางานและประสิทธิภาพของการทางาน ทาให้ขาดสมาธิ ประสิทธิภาพการทางานก็จะลดลง
ทางานไม่เต็มความสารถที่ตนเองควรจะทาได้
7
บทที่ 3
สาเหตุของปัญหาสิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาตินับวันแต่จะถูกทาลายลงไปเรื่อย ๆ โดยที่สิ่งแวดล้อมและ
ทรัพยากรธรรมชาติถูกทาลายและสูญเสียได้ 3 ทาง คือ (ราตรี ภารา, 2540)
1. มนุษย์
2. สัตว์และโรคต่าง ๆ
3. ปรากฏการณ์ธรรมชาติ
ซึ่งการสูญเสียเนื่องจากมนุษย์เป็นปัจจัยที่สาคัญที่สุด เนื่องจากสาเหตุต่อไปนี้
1. การเพิ่มของประชากร
ปัจจุบันการเพิ่มของประชากรโดยเฉลี่ยทั่วโลกมีแนวโน้มสูงขึ้น การที่ประชากรเพิ่มจานวนมากขึ้น
หมายถึง ความต้องการในการใช้ ทรัพยากรธรรมชาติในการดารงชีวิตขั้นต่าง ๆ ก็เพิ่มขึ้นด้วย (สุพจน์ แสง
มณี, 2546) ทาให้เกิดผลต่าง ๆ ตามมา ได้แก่ การเพิ่มขึ้นของพื้นที่ทากินทางการเกษตร จนมีการบุกรุก
ทาลายป่า ทาให้เกิดเสียสมดุลทางธรรมชาติ อีกทั้งความต้องการในการใช้ ทรัพยากรอื่น ๆ มากขึ้นเช่น น้า
แร่ธาตุ พลังงานอากาศตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันพบว่ามีอัตราการเพิ่มของประชากรมากขึ้นในแต่ละปี เป็น
สาเหตุสาคัญที่ที่ทาให้การใช้ทรัพยากรเพิ่มมากขึ้นและเป็นผลให้จานวนทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจากัดลด
จานวนลงอย่างรวดเร็ว และส่งผลให้เกิดปัญหาการขาดแคลนทรัพยากรและปัญหามลพิษสิ่งแวดล้อมต่าง ๆ
ตามมา
2. การขยายตัวของเมือง
การขยายตัวของชุมชนหรือเมือง ทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อมตามธรรมชาติต่าง ๆ ด้วย
เนื่องจากการขยายตัวของ เมืองอย่างรวดเร็วจะทาให้เกิดปัญหาการขาดการวางแผนการวางผังเมืองไว้
ล่วงหน้า ทาให้เกิดปัญหาขึ้นอีกทั้งการขยายตัว ของเมือง ปกติแล้วจะเกิดการขยายตัวของอุตสาหกรรม
8
เกิดขึ้นด้วย และในขั้นตอนต่าง ๆ ของโรงงานอุตสาหกรรมถ้าหากขาดการวางแผน และการควบคุมที่ดีก็จะ
ส่งผลต่าง ๆ ต่อสิ่งแวดล้อมมากมาย
3. การใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่
เทคโนโลยีสมัยใหม่ที่นามาใช้ในทางการผลิตด้านการเกษตร โดยการใช้สารเคมีต่าง ๆ เช่น ปุ๋ ย และยา
ฆ่าแมลงทาให้เกิดการตกค้าง ของสารเหล่านี้ในดิน และอาจขยายไปสู่แหล่งน้าและแหล่งต่าง ๆ ในระบบ
นิเวศ จนเกิดผลต่าง ๆ ตามมา รวมถึงเกิดการสะสม ในสายใยอาหารทางด้านอุตสาหกรรม สารที่ใช้ใน
กระบวนการผลิตและสารที่เป็นผลเกิดจากกระบวนการผลิต เช่น ตะกั่ว ปรอท
สารหนู เป็นต้น จะเป็นอันตรายต่อสุขภาพและมีขั้นตอนการกาจัดส่วนที่ตกค้าง ( Residuals ) ให้หมดสิ้นไป
ได้ยาก และจะเกิดผลกระทบต่าง ๆ ตามมาอีกมากมาย
4. การสร้างสิ่งก่อสร้างต่าง ๆ
การสร้างถนน อ่างเก็บน้า เขื่อน นับว่าเป็นสาเหตุใหญ่ที่ทาให้ทรัพยากรหลัก เช่นป่ าไม้ถูกทาลาย
ทรัพยากรดิน น้า สัตว์ป่าจึงพลอย ได้รับ ผลกระทบกระเทือนตามไปด้วย ทาให้มนุษย์เข้าสู่พื้นที่ป่าที่เหลือ
ได้ง่ายกว่าเดิม เนื่องจากการไปมาสะดวก การทาลายจึง เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง เมื่อป่าเสื่อมโทรมหรือหมดไป
ถิ่นที่อยู่อาศัยของสัตว์ป่ าถูกทาลาย โอกาสถูกล่ามีมากขึ้น สัตว์บางชนิดหาอาหาร เป็นไปด้วยความ
ยากลาบาก ในที่สุดก็สูญพันธุ์ไป เป็นต้น
5. การกีฬา
ส่วนใหญ่เกิดกับทรัพยากรสัตว์ป่า เช่นการยิงนก ตกปลา และการล่าสัตว์เป็นต้น ถ้าทาเพื่อการกีฬาที่
แท้จริงก็ไม่มีปัญหา เรื่องการ ทาลายทรัพยากรธรรมชาติมากนัก แต่เมื่อใดที่เป็นการแข่งขันเพื่อทาสถิติด้าน
จานวน ขนาดอาวุธร้ายแรงและทันสมัย จะถูกนามา ใช้มากยิ่งขึ้น สัตว์ป่าที่ได้มาก็จะนาส่วนหนึ่งของที่ได้
หรือบางส่วนของร่างกายไปเป็นอาหาร หรือเครื่องใช้เท่านั้น ส่วนที่เหลือจะทิ้ง ไว้ในป่า ซึ่งเป็นการกระทาที่
ไม่คุ้มกับการสูญเสียชีวิตและพันธุกรรมของสัตว์ป่า
6. การสงคราม
9
ก่อให้เกิดการกระตุ้นให้นาทรัพยากรธรรมชาติที่มีอยู่มาใช้มากขึ้น การนาทรัพยากรแร่ธาตุมาใช้เพื่อการ
ผลิตอาวุธและเครื่องมือต่าง ๆ ซึ่งสุดท้ายก็ถูกทาลายไป บางครั้งต้องเร่งขุดเจาะน้ามันดิบเพื่อขาย แล้วนา
เงินตราไปซื้ออาวุธที่ทันสมัยมี ประสิทธิภาพการทาลายสูง มาต่อสู้ซึ่งกันและกัน ผลของสงครามก็คือการ
สูญเสียทั้งสองฝ่ายในด้านทรัพยากรมนุษย์หรือทรัพยากรอื่น ๆ เช่นการทิ้งระเบิด ทาลายชีวิตและทรัพยากร
ของมนุษย์ซึ่งเป็นทรัพยากรธรรมชาติการทาลายบ่อน้ามันของอีรักในปี พ . ศ . 2536 ทาให้สูญเสียทรัพยากร
ซึ่งต้องใช้เวลาเป็นล้าน ๆ ปีในการเกิดไปอย่างน่าเสียดายและยังส่งผลเสียหายต่อสิ่งแวดล้อมเกือบทั่วโลก
7. ความไม่รู้หรือรู้เท่าไม่ถึงการณ์
หลาย ๆ ครั้งที่คนเราทาลายสิ่งแวดล้อมเพราะความไม่รู้ถึงสาเหตุและผลกระทบ ขาดข้อมูลความเข้าใจ
ที่ถูกต้อง ทาให้เราเข้าถึง และสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมแตกต่างกัน ในขณะที่นักอนุรักษ์นึกถึงสิ่งแวดล้อมใน
รูปของระบบนิเวศของธรรมชาติ ป่ าไม้และสัตว์ป่า แต่ภาคอุตสาหกรรมกลับนึกถึงวัตถุดิบที่เป็นปัจจัยใน
การผลิตเป็นต้นทุนนักเศรษฐศาสตร์ จะนึกถึงทรัพยากรที่ต้องใช้ให้คุ้มค่า ชาวนาจะนึกถึงฝน ภาคท่องเที่ยว
นึกถึงเงิน การทาการเกษตรที่ไม่ถูกต้องของเกษตรกร ลลล สังคมยังขาดความเข้าใจถึง สิ่งแวดล้อมใน
ลักษณะรวมที่เป็นความสัมพันธ์ของสิ่งต่าง ๆ ที่เมื่อเกิดความเสียหายที่ใดที่หนึ่งก็จะมีผลกระทบแก่กันและ
กันบางครั้งลืมไปว่า ความสนุกชั่วครู่ชั่วยามของตนเป็นสิ่งที่ทาลายความเป็นธรรมชาติและความงดงามของ
สถานที่
ความหมายของปัญหาสิ่งแวดล้อม
1. ปัญหาที่เกิดขึ้นจาการใช้ทรัพยากรของมนุษย์อย่างไม่ประหยัดและขาดความรับผิด ชอบก่อให้เกิดปัญหา
มลพิษและปัญหาอื่น ๆ ซึ่งเป็นภาวะการณ์ที่กระทบกระเทือนต่อคนจานวนมาก
ซึ่งภาวการณ์ดังกล่าวไม่ เป็นที่พึงปรารถนาและควรมีการกระทาบางอย่างเพื่อแก้ไขปรับปรุงให้ดีขึ้น
2. ปัญหาเสื่อมโทรมของสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติทั้งที่เป็นทรัพยากรธรรมชาติ เช่น ป่าไม้ ดิน แร่ธาตุ สัตว์
และพืช และปัญหาเสื่อมโทรมของคุณค่าสิ่งแวดล้อมรอบตัวมนุษย์เช่น ดิน น้า อากาศ เป็นต้น
รวมถึงปัญหาความเสื่อมโทรมของระบบนิเวศตามธรรมชาติ ตลอดจนปัญหาการเปลี่ยนแปลงทางด้าน
สิ่งแวดล้อมทางเศรษฐกิจและสังคมอันมี สาเหตุมาจากการกระทาของมนุษย์
10
ลักษณะปัญหาสิ่งแวดล้อม ตามการให้นิยามของ สานักงานคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ แบ่งเป็น
1. ปัญหาสิ่งแวดล้อมทางกายภาพ ได้แก่
- ภาวะมลพิษ
- ปัญหาความร่อยหรอของทรัพยากร
- ปัญหาการใช้ทรัพยากรไม่ถูกวิธี ขาดการอนุรักษ์
2. ปัญหาสิ่งแวดล้อมทางสังคม ได้แก่
- ปัญหาความยากจน
- ความขาดแคลนอาหาร
- ที่อยู่อาศัย
- ความไม่รู้หนังสือ
- ความเจ็บไข้ลลล
11
บทที่ 4
พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม
1.พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติพ.ศ. 2535
"เขตอนุรักษ์" หมายความว่า เขตอุทยานแห่งชาติ เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขตสงวนเพื่อการท่องเที่ยว
และเขตพื้นที่คุ้มครองอย่างอื่นเพื่อสงวนและรักษาสภาพธรรมชาติตามที่มีกฎหมายกาหนด
"คุณภาพสิ่งแวดล้อม" หมายความว่า ดุลยภาพของธรรมชาติ อันได้แก่ สัตว์ พืช และ
ทรัพยากรธรรมชาติต่างๆ และสิ่งที่มนุษย์ได้ทาขึ้น ทั้งนี้ เพื่อประโยชน์ต่อการดารงชีพของประชาชนและ
ความสมบูรณ์สืบไปของ มนุษยชาติ
"มาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดล้อมหมายความว่าค่ามาตรฐานคุณภาพ น้า อากาศ เสียง และสภาวะอื่น ๆ
ของสิ่งแวดล้อม ซึ่งกาหนดเป็นเกณฑ์ทั่วไปสาหรับการส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม
1.1การคุ้มครองสิ่งแวดล้อม
1.1.1(มาตรา32)มาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดล้อม
(1) มาตรฐานคุณภาพน้าในแม่น้าลาคลอง หนอง บึง ทะเลสาบ อ่างเก็บน้า และแหล่งน้าสาธารณะ ที่
อยู่ภายในผืนแผ่นดิน โดยจาแนกตามลักษณะการใช้ประโยชน์บริเวณพื้นที่ลุ่มน้าในแต่ละพื้นที่
(2) มาตรฐานคุณภาพน้าทะเลชายฝั่งรวมทั้งบริเวณพื้นที่ปากแม่น้า
(3) มาตรฐานคุณภาพน้าบาดาล
(4) มาตรฐานคุณภาพอากาศในบรรยากาศโดยทั่วไป
(5) มาตรฐานระดับเสียงและความสั่นสะเทือนโดยทั่วไป
(6) มาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดล้อมในเรื่องอื่น ๆ
12
1.1.2 (มาตรา 34) ให้คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติมีอานาจปรับปรุง แก้ไขมาตรฐานคุณภาพ
สิ่งแวดล้อมที่ได้กาหนดไว้แล้วให้เหมาะสมตามความ ก้าวหน้าในทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและความ
เปลี่ยนแปลงในทาง เศรษฐกิจและสังคมของประเทศ
1.2เขตอนุรักษ์และพื้นที่คุ้มครองสิ่งแวดล้อม
(1) กาหนดการใช้ประโยชน์ในที่ดินเพื่อรักษาสภาพธรรมชาติหรือมิให้กระทบกระเทือนต่อระบบ
นิเวศน์ ตามธรรมชาติหรือคุณค่าของสิ่งแวดล้อม ศิลปกรรม
(2) ห้ามการกระทาหรือกิจกรรมใด ๆ ที่อาจเป็นอันตรายหรือก่อให้เกิดผลกระทบในทางเปลี่ยนแปลง
ระบบนิเวศน์ของพื้นที่นั้นจากลักษณ์ ตามธรรมชาติหรือเกิดผลกระทบต่อคุณค่าของสิ่งแวดล้อมศิลปกรรม
(3) กาหนดประเภทและขนาดของโครงการหรือกิจการของส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ หรือเอกชนที่จะ
ทาการก่อสร้างหรือดาเนินการในพื้นที่นั้น ให้มีหน้าที่ต้องเสนอรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม
(4) กาหนดวิธีจัดการโดยเฉพาะสาหรับพื้นที่นั้นรวมทั้งการกาหนด ขอบเขตหน้าที่และความ
รับผิดชอบของส่วนราชการที่เกี่ยวข้องเพื่อประโยชน์ในการร่วมมือและประสานงานให้เกิดประสิทธิภาพใน
การปฏิบัติงานเพื่อรักษาสภาพธรรมชาติหรือระบบนิเวศน์ตามธรรมชาติหรือคุณค่าของสิ่งแวดล้อม
ศิลปกรรมในพื้นที่นั้น
(5) กาหนดมาตรการคุ้มครองอื่น ๆ ตามที่เห็นสมควรและเหมาะสมแก่สภาพของพื้นที่นั้น
13
บทที่ 5
แนวทางการแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อม
แนวทางการแก้ปัญหาสิ่งแวดล้อม
1.การพัฒนาคน
หมายถึง การให้ความรู้ความเข้าใจ และสร้างจิตสานึกร่วมกันของมนุษย์ในสังคมโลกโดยการ
จัดเป็นหลักสูตรการเรียนทั้งในระดับการศึกษาขึ้นพื้นฐานและอุดมศึกษารวมทั้งเผยแพร่ความรู้ทาง
สื่อมวลชน ทั้งหนังสือพิมพ์วิทยุโทรทัศน์ หรือเอกสาร เพื่อให้เห็นความสาคัญของสภาพแวดล้อม
2.การประสานความร่วมมือระหว่างประเทศ
องค์การสหประชาชาติได้จัดการประชุมเพื่อระดมความร่วมมือในการแก้ปัญหาโดยการจัดตั้งองค์กรความ
ร่วมมือระหว่างชาติขึ้น ดูแลในเรื่องสภาพแวดล้อมคือ โครงการสิ่งแวดล้อมแห่งสหประชาชาติ (UN
Environment Program : UNEP) และมีกลุ่มพิทักษ์สิ่งแวดล้อมที่เรียกว่า กลุ่มกรีนพืช (Green Peace) ออก
ปฏิบัติการต่อด้านพฤติกรรมที่ทาให้เกิดสภาพแวดล้อมเป็นพิษ
3.การใช้มาตรการบังคับ
การออกกฎหมายควบคุมการถ่ายเทน้าเสียในโรงงานอุตสาหกรรม กฎหมายบังคับให้โรงงานอุตสาหกรรม
ต้องสร้างปล่อยควันให้สูง เพื่อไม่ให้ควัน และสารพิษทาอันตรายต่อมนุษย์ได้การออกกฎหมายควบคุมควัน
ดาจากท่อไอเสียรถยนต์ นอกจากการควบคุมที่ใช้มาตรการทางกฎหมายแล้ว อาจมีการได้จัดระบบเฉพาะ
เกิดขึ้นควบคุมสภาพแวดล้อมด้วย เช่น การห้ามรถยนต์บางชนิดวิ่งในถนนบางสาย หรือการกาหนดปริมาณ
ก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์ในอากาศไม่ให้สูงเกินมาตรฐานกาหนด
4.การฟื้นฟูสภาพแวดล้อม
ในปัจจุบันประเทศต่างๆ ได้จัดงบประมาณเพื่อการฟื้นฟูสภาพแวดล้อมที่เสื่อมโทรมให้คืนสู่สภาพปกติเป็น
เงิน โดยรวมนับหลายหมื่นล้านเหรียญ เช่น การเพิ่มก๊าซออกซิเจนในน้า การลงทุนในปฏิบัติการฟอกอากาศ
ในโรงงาน
14
ภาพที่5.5 การฟื้นฟูสภาพแวดล้อม
5.การจัดวางผังเมือง มีการกาหนดพื้นที่ ให้เป็นสัดส่วนตามหลักวิชาการ โดยการกาหนดว่าที่ใดเป็นเขตที่
อยู่อาศัย พื้นที่ใดเป็นเขตอุตสาหกรรม เพื่อไม่ให้มลพิษทาลายสุขภาพอนามัยของประชาชน
ภาพที่5.6 การจัดวางผังเมือง
15
บรรณานุกรม
ณชพัฒน์ เดช ศรีสิงห์แก้ว. (2552สภาพ). แนวทางแก้ปัญหาแวดล้อม. ค้นเมื่อ 8 กันยายน 2559,
จาก https://www.gotoknow.org/posts/242786?locale=th
ชุติมา อ่อนตีบ.สาเหตุปัญหาสิ่งแวดล้อม.ค้นเมื่อ 8 กันยายน 2559,จาก
http://www.ptcn.ac.th/port_ptcn/Stu.Port/chutuma_ann/index_files/Page418.htm
วนิดา แน่นหนา.มลพิษทางสิ่งแวดล้อม.ค้นเมื่อ 8 กันยายน 2559,จาก
http://environments2.blogspot.com/
ชัชพล ทรงสุนทรวงศ์.มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม.กรุงเทพมหานคร:จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.กรุงเทพมหาคร
,2550
สุกรานต์ โรจนไพรวงศ์.สถานการณ์สิ่งแวดล้อมไทย2540-41.กรุงเทพมหานคร:มูลนิธิโลกสีเขียว.
กรุงเทพมหานคร,2542
16
ภาคผนวก
ค้นคว้าหาข้อมูลที่ห้องสมุด
หนังสือที่ใช้ประกอบการหาข้อมูล
17
ข้อมูลรายละเอียดต่างๆ
งานย่อย 4
งาน ก#1
ปัญหาสิ่งแวดล้อม
สาเหตุของปัญหาสิ่งแวดล้อม
1. การเพิ่มของประชากร การที่ประชากรเพิ่มจานวนมากขึ้น หมายถึง ความต้องการในการใช้
ทรัพยากรธรรมชาติในการดารงชีวิตขั้นต่าง ๆ ก็เพิ่มขึ้นด้วย (สุพจน์ แสงมณี, 2546) ทาให้เกิดผลต่าง ๆ
ตามมา ได้แก่ การเพิ่มขึ้นของพื้นที่ทากินทางการเกษตร จนมีการบุกรุกทาลายป่า ทาให้เกิดเสียสมดุลทาง
ธรรมชาติ อีกทั้งความต้องการใน การใช้ทรัพยากรอื่น ๆ มากขึ้นเช่น น้า แร่ธาตุ
2 .การใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่ เทคโนโลยีสมัยใหม่ที่นามาใช้ในทางการผลิตด้านการเกษตร โดยการใช้
สารเคมีต่าง ๆ เช่น ปุ๋ ย และยาฆ่าแมลงทาให้เกิดการตกค้าง ของสารเหล่านี้ ในดิน และอาจขยายไปสู่แหล่ง
น้าและแหล่งต่าง ๆ ในระบบนิเวศถูกทาลาย 3. การสร้างสิ่งก่อสร้างต่าง ๆ การสร้างถนน อ่างเก็บน้า เขื่อน
18
นับว่าเป็นสาเหตุใหญ่ที่ทาให้ทรัพยากร หลัก เช่นป่ าไม้ถูกทาลาย ทรัพยากรดิน น้า สัตว์ป่ าจึงได้รับ
ผลกระทบ กระเทือนตามไปด้วย ทาให้มนุษย์เข้าสู่พื้นที่ป่ าที่เหลือได้ง่ายกว่าเดิม ทาให้ ทรัพยากรป่าไม้
เสื่อมโทรดและหมดไป
การวางแผน
วิธีการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
1. รักษารถยนต์ด้วยการเปลี่ยนไส้กรอง ไส้กรองอากาศที่สกปรกจะทาให้ การไหลของอากาศที่สะอาดทา
ได้น้อยลง มีผลต่อการเผาไหม้ของ เครื่องยนต์ด้วย
2. ควรใช้ผ้าแทนการใช้กระดาษทิชชู
3. ใช้ถุงผ้าแทนการใช้ถุงพลาสติก
4. ทิ้งขยะเป็นที่เป็นทาง ควรทิ้งขยะให้ลงถังขยะ
5. ช่วยกันปลูกต้นไม้เพื่อเพิ่มพื้นที่สีเขียวให้มากขึ้น
6. ไม่บุกรุกพื้นที่ป่า
7. ไม่เปิดน้า และไฟฟ้าทิ้งไว้โดยไร้ประโยชน์
8. ไม่ทิ้งน้าเสียลงแม่น้าลาคลอง
9. ควรทานอาหารให้หมดจาน
10. ไม่ควรเผาขยะหรือเศษไม้,เศษหญ้า
ค้นหาความรู้จากแหล่งข้อมูลที่มีประสิทธิภาพ
ทรัพยากรธรรมชาติเป็นทรัพยากรสาคัญ ของสิ่งแวดล้อม ซึ่งเกิดขึ้นเอง ตามธรรมชาติโดยที่มนุษย์ไม่ได้
สร้างขึ้น และมีประโยชน์ต่อมนุษย์ความสาคัญของทรัพยากรธรรมชาติ
1.) ทรัพยากรธรรมชาติ เป็นแหล่งของปัจจัยที่จาเป็นต่อการดารงชีวิต ของมนุษย์คือ
19
- เป็นแหล่งที่อยู่อาศัย
-เป็นแหล่งอาหาร ไม่ว่าจะเป็น พืช สัตว์
-เป็นแหล่งที่มาเครื่องนุ่มห่ม
-เป็นแหล่งที่มาของยารักษาโรค
2.) เป็นปัจจัยในการดารงชีวิตที่มนุษย์และสิ่งมีชีวิตอื่นขาดไม่ได้ได้แก่ อากาศ น้า
3.) เป็นปัจจัยที่สาคัญในการผลิต หรือเป็นวัตถุดิบในกระบวนการ ผลิตของอุตสาหกรรม
4.) ความต้องการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ บ่งชี้ถึงความเจริญทาง เศรษฐกิจ และความเจริญของสังคมมนุษย์
5.) มีความสาคัญต่อเศรษฐกิจของประเทศทั้งทางตรง 7.) มีความสาคัญต่อการรักษาสมดุลของระบบนิเวศ
ประเภทของทรัพยากร
1. ทรัพยากรธรรมชาติที่ใช้แล้วไม่หมด เช่น บรรยากาศ น้า
2. ทรัพยากรธรรมชาติที่ทดแทนได้เช่น ดิน ป่าไม้ทุ่งหญ้า สัตว์ป่า
3. ทรัพยากรธรรมชาติที่ใช้แล้วหมดไป เช่น ทรัพยากรแร่ธาตุ ทรัพยากรพลังงาน
ตรวจสอบความน่าเชื่อถือของแหล่งข้อมูลที่มา
1.พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535 บัญญัติขึ้นเพื่อป้องกันปัญหา
ความเสื่อมโทรมของคุณภาพสิ่งแวดล้อม เช่น ดินเสีย น้าเน่า อากาศเป็นพิษ ป่าไม้ต้นน้าลาธารถูกทาลาย อัน
เนื่องมาจาก การขยายตัวของประชากร การใช้ทรัพยากรอย่างไม่ถูกต้อง และอุตสาหกรรม โดยส่งเสริม
ประชาชน และองค์กรเอกชน ให้มีส่วนร่วมในการส่งเสริมและ รักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม
2.พระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535 เป็นกฎหมายที่ออกใช้เพื่อ ควบคุมดูแลการประกอบกิจการโรงงานให้
เหมาะสม 3.พระราชบัญญัติรักษาความสะอาดและความเป็นระเบียบ เรียบร้อยของบ้านเมือง พ.ศ. 2535
พระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535 และพระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม
แห่งชาติ พ.ศ. 2535ห้ามทิ้งขยะมูลฝอยในที่ห้ามและอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
20
สถิติ
สรุปความรู้ด้วยกระบวนการกลุ่ม
1.ความสาคัญของทรัพยากรธรรมชาติ
1.)ทรัพยากรธรรมชาติ เป็นแหล่งของปัจจัยที่จาเป็นต่อการ ดารงชีวิตของมนุษย์
2.)เป็นปัจจัยในการดารงชีวิตที่มนุษย์และสิ่งมีชีวิตอื่นขาดไม่ได้ได้แก่ อากาศ น้า
3.)เป็นปัจจัยที่สาคัญในการผลิต หรือเป็นวัตถุดิบในกระบวนการ ผลิตของอุตสาหกรรม
4.)ความต้องการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ บ่งชี้ถึงความเจริญทาง เศรษฐกิจ และความเจริญของสังคมมนุษย์
5.)มีความสาคัญต่อเศรษฐกิจของประเทศทั้งทางตรง
2.การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
1) การใช้อย่างประหยัด
2) การนากลับมาใช้ซ้าอีก
3) การบูรณซ่อมแซม
4) การบาบัดและการฟื้นฟู
5) การใช้สิ่งอื่นทดแทน
21
6) การเฝ้าระวังดูแลและป้องกัน
เสนอแนวคิดในการแก้ปัญหา
การอนุรักษ์ป่าไม้
1. กาหนดนโยบายป่าไม้แห่งชาติเพื่อเป็นแนวทางใน การจัดการและพัฒนาป่าไม้ในระยะยาว
2. การปลูกป่าสงวน รวมทั้งทานุบารุงดูแล โดยให้ ประชาชน และชุมชนมีส่วนร่วมในการรักษาดูแลป่าไม้
3. สร้างจิตสานึกให้ประชาชนทุกคนได้รู้คุณค่าของป่า ไม้และผลกระทบที่เกิดจากการ ตัดไม้ทาลายป่า
การอนุรักษ์ทรัพยากรดิน
1. ปรับสภาพดิน หรือปลูกพืชที่สามารถป้องกันการ ทะลาย การชะล้าง และการกัดเซาะ
2. ใช้ประโยชน์ให้เหมาะสมกับลักษณะดิน
3.ไม่ใช้สารเคมีในการปลูกพืชโดยไม่คานึงถึงสภาพของ ดิน
การอนุรักษ์ทรัพยากรน้า
1. ไม่ทิ้งเศษขยะมูลฝอย สิ่งสกปรกโสโครก ลงไปใน แม่น้า ลาคลอง
2. ควรมีมาตรการห้ามไม่ให้โรงงานอุตสาหกรรมทิ้งน้า เสียลงในแม่น้า
3. ประชาชนทุกชุมชน องค์กรภาครัฐและเอกชนทุก หน่วยงาน ต้องช่วยกันรักษาต้นน้า ลาธาร
การอนุรักษ์ทรัพยากรแร่ธาตุ
1. กาหนดแผนการใช้ทรัพยากรแร่เพื่อให้การบริหาร ทรัพยากรแร่เป็นไปอย่างต่อเนื่อง
2. วางแผนการนาแร่มาใช้ประโยชน์อย่างมีประสิทธิภาพ ไม่ทาลายสิ่งแวดล้อมตามธรรมชาติ
3. ส่งเสริมให้มีการใช้ทรัพยากรแร่ให้มากที่สุดและครบ วงจร รวมทั้งให้รัฐเข้ามามีบทบาทในการควบคุม
กลไกการผลิต
22
งานย่อย 8
23
24
25
26
ผู้จัดทา
นางสาวกิรติกา ทองดี ชั้น ม.5/2 เลขที่ 31
นางสาวจิดาภา พลอยแสงสาย ชั้นม.5/2 เลขที่ 32
นางสาวธฤษวรรณ ตันติศุภชัย ชั้นม.5/2 เลขที่ 33
นางสาวปริชญา วงษ์พิมพ์ชั้น ม.5/2 เลขที่34
นางสาวปวริศา ล้อมสินทรัพย์ชั้นม.5/2 เลขที่ 35
ปัญหาสิ่งเเวดล้อม

More Related Content

What's hot

โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มดโครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
พัน พัน
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวกโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
พัน พัน
 
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียนโครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
พัน พัน
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
ssuser858855
 
ผักตบชวาไล่แมลง
ผักตบชวาไล่แมลงผักตบชวาไล่แมลง
ผักตบชวาไล่แมลง
พัน พัน
 
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
chaipalat
 
หน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงานหน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงาน
Kanistha Chudchum
 
โครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติดโครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติด
พัน พัน
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ ชุดโซฟาจากกระป๋องนม
โครงงานวิทยาศาสตร์  ชุดโซฟาจากกระป๋องนมโครงงานวิทยาศาสตร์  ชุดโซฟาจากกระป๋องนม
โครงงานวิทยาศาสตร์ ชุดโซฟาจากกระป๋องนม
Chok Ke
 

What's hot (20)

โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มดโครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวกโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
 
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุง
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุงเทียนหอมสมุนไพรไล่ยุง
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุง
 
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียนโครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
 
ผักตบชวาไล่แมลง
ผักตบชวาไล่แมลงผักตบชวาไล่แมลง
ผักตบชวาไล่แมลง
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
 
โครงงานใบย่านางผง
โครงงานใบย่านางผงโครงงานใบย่านางผง
โครงงานใบย่านางผง
 
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
 
จานรองแก้วกระป๋องโค้ก
จานรองแก้วกระป๋องโค้กจานรองแก้วกระป๋องโค้ก
จานรองแก้วกระป๋องโค้ก
 
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
 
หน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงานหน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงาน
 
โครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติดโครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติด
 
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์ 58
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์  58กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์  58
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์ 58
 
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
 
โครงร่างรายงาน6/5
โครงร่างรายงาน6/5โครงร่างรายงาน6/5
โครงร่างรายงาน6/5
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้
 
โครงงานคัดแยกขยะ
โครงงานคัดแยกขยะโครงงานคัดแยกขยะ
โครงงานคัดแยกขยะ
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ ชุดโซฟาจากกระป๋องนม
โครงงานวิทยาศาสตร์  ชุดโซฟาจากกระป๋องนมโครงงานวิทยาศาสตร์  ชุดโซฟาจากกระป๋องนม
โครงงานวิทยาศาสตร์ ชุดโซฟาจากกระป๋องนม
 

Viewers also liked

powerpoint อุตสาหกรรมกับผลกระทบทางสิ่งแวดล้อม
powerpoint อุตสาหกรรมกับผลกระทบทางสิ่งแวดล้อมpowerpoint อุตสาหกรรมกับผลกระทบทางสิ่งแวดล้อม
powerpoint อุตสาหกรรมกับผลกระทบทางสิ่งแวดล้อม
Junjira Wuttiwitchai
 
การจัดระเบียบทางสังคม
การจัดระเบียบทางสังคมการจัดระเบียบทางสังคม
การจัดระเบียบทางสังคม
billy ratchadamri
 
ปัญหาสังคมไทยในปัจจุบันและแนวทางการแก้ปัญหาโดยสันติวิธี
ปัญหาสังคมไทยในปัจจุบันและแนวทางการแก้ปัญหาโดยสันติวิธีปัญหาสังคมไทยในปัจจุบันและแนวทางการแก้ปัญหาโดยสันติวิธี
ปัญหาสังคมไทยในปัจจุบันและแนวทางการแก้ปัญหาโดยสันติวิธี
พระอภิชัช ธมฺมโชโต
 

Viewers also liked (6)

ปัญหาสังคม
ปัญหาสังคมปัญหาสังคม
ปัญหาสังคม
 
พฤติกรรมที่เป็นปัญหาในการเรียนการ
พฤติกรรมที่เป็นปัญหาในการเรียนการพฤติกรรมที่เป็นปัญหาในการเรียนการ
พฤติกรรมที่เป็นปัญหาในการเรียนการ
 
powerpoint อุตสาหกรรมกับผลกระทบทางสิ่งแวดล้อม
powerpoint อุตสาหกรรมกับผลกระทบทางสิ่งแวดล้อมpowerpoint อุตสาหกรรมกับผลกระทบทางสิ่งแวดล้อม
powerpoint อุตสาหกรรมกับผลกระทบทางสิ่งแวดล้อม
 
ปัญหาของสังคมไทย
ปัญหาของสังคมไทยปัญหาของสังคมไทย
ปัญหาของสังคมไทย
 
การจัดระเบียบทางสังคม
การจัดระเบียบทางสังคมการจัดระเบียบทางสังคม
การจัดระเบียบทางสังคม
 
ปัญหาสังคมไทยในปัจจุบันและแนวทางการแก้ปัญหาโดยสันติวิธี
ปัญหาสังคมไทยในปัจจุบันและแนวทางการแก้ปัญหาโดยสันติวิธีปัญหาสังคมไทยในปัจจุบันและแนวทางการแก้ปัญหาโดยสันติวิธี
ปัญหาสังคมไทยในปัจจุบันและแนวทางการแก้ปัญหาโดยสันติวิธี
 

Similar to ปัญหาสิ่งเเวดล้อม

เทคนิคและวิธีการเพาะเลี้ยงเห็ด
เทคนิคและวิธีการเพาะเลี้ยงเห็ดเทคนิคและวิธีการเพาะเลี้ยงเห็ด
เทคนิคและวิธีการเพาะเลี้ยงเห็ด
sornblog2u
 
บทที่ 1ปรับปรุง
บทที่ 1ปรับปรุงบทที่ 1ปรับปรุง
บทที่ 1ปรับปรุง
kasetpcc
 
รุปเล่มโครงงานคอมM5
รุปเล่มโครงงานคอมM5รุปเล่มโครงงานคอมM5
รุปเล่มโครงงานคอมM5
Tewit Chotchang
 

Similar to ปัญหาสิ่งเเวดล้อม (20)

กล่องแฟนซีรีไซเคิล (1)
กล่องแฟนซีรีไซเคิล (1)กล่องแฟนซีรีไซเคิล (1)
กล่องแฟนซีรีไซเคิล (1)
 
Random 140310050606-phpapp01
Random 140310050606-phpapp01Random 140310050606-phpapp01
Random 140310050606-phpapp01
 
ปัญหาสิ่งแวดล้อม
ปัญหาสิ่งแวดล้อมปัญหาสิ่งแวดล้อม
ปัญหาสิ่งแวดล้อม
 
2560 project -1-1
2560 project -1-12560 project -1-1
2560 project -1-1
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ขยะหอมไล่แมลง
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ขยะหอมไล่แมลงโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ขยะหอมไล่แมลง
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ขยะหอมไล่แมลง
 
2561 project -7
2561 project -72561 project -7
2561 project -7
 
2561 project -7
2561 project -72561 project -7
2561 project -7
 
Kiki
KikiKiki
Kiki
 
โครงงานวิทยาศาสตร์
โครงงานวิทยาศาสตร์โครงงานวิทยาศาสตร์
โครงงานวิทยาศาสตร์
 
เทคนิคและวิธีการเพาะเลี้ยงเห็ด
เทคนิคและวิธีการเพาะเลี้ยงเห็ดเทคนิคและวิธีการเพาะเลี้ยงเห็ด
เทคนิคและวิธีการเพาะเลี้ยงเห็ด
 
โครงงานคอม[1]
โครงงานคอม[1]โครงงานคอม[1]
โครงงานคอม[1]
 
บทที่ 1ปรับปรุง
บทที่ 1ปรับปรุงบทที่ 1ปรับปรุง
บทที่ 1ปรับปรุง
 
Herbarium 334 Group 1 No.16,17,19,21,22
Herbarium 334 Group 1 No.16,17,19,21,22Herbarium 334 Group 1 No.16,17,19,21,22
Herbarium 334 Group 1 No.16,17,19,21,22
 
โครงงานประเภทสืบค้น เรื่องถังขยะหลากสี (Trashcan)
โครงงานประเภทสืบค้น เรื่องถังขยะหลากสี (Trashcan)โครงงานประเภทสืบค้น เรื่องถังขยะหลากสี (Trashcan)
โครงงานประเภทสืบค้น เรื่องถังขยะหลากสี (Trashcan)
 
การตากแห้ง
การตากแห้งการตากแห้ง
การตากแห้ง
 
การตากแห้ง
การตากแห้งการตากแห้ง
การตากแห้ง
 
การตากแห้ง
การตากแห้งการตากแห้ง
การตากแห้ง
 
Thitiporn1
Thitiporn1Thitiporn1
Thitiporn1
 
โครงงานคอมพิวเตอร์(เต็ม)
โครงงานคอมพิวเตอร์(เต็ม)โครงงานคอมพิวเตอร์(เต็ม)
โครงงานคอมพิวเตอร์(เต็ม)
 
รุปเล่มโครงงานคอมM5
รุปเล่มโครงงานคอมM5รุปเล่มโครงงานคอมM5
รุปเล่มโครงงานคอมM5
 

More from พัน พัน

More from พัน พัน (20)

เรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการเรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการ
 
เรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีเรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซี
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
 
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรการเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
 
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
 
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์
 
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
 
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
 
เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
การปริ้น
การปริ้นการปริ้น
การปริ้น
 
Office
OfficeOffice
Office
 
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
 
ยาเสพติด
ยาเสพติดยาเสพติด
ยาเสพติด
 

ปัญหาสิ่งเเวดล้อม

  • 1. ปัญหาสิ่งแวดล้อม จัดทาโดย นางสาวกิรติกา ทองดี เลขที่31 นางสาวจิดาภา พลอยแสงสาย เลขที่32 นางสาวธฤษวรรณ ตันติศุภชัย เลขที่33 นางสาวปริชญา วงษ์พิมพ์ เลขที่ 34 นางสาวปวริศา ล้อมสินทรัพย์ เลขที่ 35 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/2 เสนอ อาจารย์ทรงศักดิ์ โพธิ์เอี่ยม รายงานฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของราชวิชาการศึกษาค้นคว้าสร้างองค์ความรู้ IS1 (I30201) โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี
  • 2. ก คานา รายงานการศึกษาค้นคว้าเล่มนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชา IS1 ( I 30201) ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่5 เพื่อศึกษาความรู้ในเรื่อง ปัญหาสิแวดล้อมโดยมีเนื้อหาเกี่ยวกับ ความหมายของสิ่ง แวดล้อม ประเภทของ สิ่งแวดล้อม ปัญหาสิ่งแวดล้อมในปัจจุบันแนวทางการแก้ปัญหาและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง และได้ศึกษาอย่าง เข้าใจเพื่อเป็นประโยชน์ในการเรียนและการดาเนินชีวิตประจาวัน ผู้จัดทาหวังว่ารายงานการศึกษาค้นคว้าเล่มนี้จะเป็นประโยชน์กับผู้อ่านหรือผู้ที่สนใจศึกษาหาข้อมูล ในเรื่องนี้อยู่หากมีข้อแนะนาหรือข้อผิดพลาดประการใด ผู้จัดทาขอน้อมรับไว้และขออภัยมา ณ ที่นี้ด้วย คณะผู้จัดทา
  • 3. ข กิตติกรรมประกาศ การศึกษาค้นค้าฉบับนี้สาเร็จลุล่วงไปด้วยดี ด้วยความช่วยเหลือของครูทรงศักดิ์ โพธิ์เอี่ยม ครูที่ปรึกษา ในการศึกษาค้นคว้าซึ่งท่านได้ให้คาแนะนาและข้อคิดเห็นต่าง ๆ อันเป็นประโยชน์อย่างยิ่งในการศึกษา ค้นคว้า อีกทั้งยังช่วยแก้ปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นระหว่างการดาเนินงานอีกด้วย ขอขอบคุณ คุณครูประจา ห้องสมุดที่คอยอานวยความสะดวกในการค้นคว้าหนังสือ นอกจากนี้ขอขอบคุณเพื่อน ๆ ในห้องที่คอยเป็น กาลังใจ และให้ความช่วยเหลือในการศึกษาค้นคว้าในครั้งนี้ สุดท้ายนี้ ขอขอบพระคุณบิดามารดา และครอบครัว ซึ่งเปิดโอกาสให้ได้รับการศึกษาเล่าเรียน ตลอดจน คอยช่วยเหลือและให้กาลังใจเสมอมาจนงานได้สาเร็จลุล่วงไปด้วยดี คณะผู้จัดทา
  • 4. ค สารบัญ หน้า คานา ก กิตติกรรมประกาศ ข สารบัญ ค สารบัญภาพ ง บทที่ 1 สิ่งแวดล้อม 1-2 1.1 ความหมายสิ่งแวดล้อม 1 1.2 ประเภทของสิ่งแวดล้อม 1 1.3 ความสาคัญของสิ่งแวดล้อม 2 บทที่ 2 มลพิษสิ่งแวดล้อม 3-6 2.1 มลภาวะทางดิน 3-4 2.2 มลภาวะทางน้า 4 2.3 มลภาวะทางอากาศ 5 2.4 มลภาวะทางเสียง 6 บทที่ 3 สาเหตุของปัญหาสิ่งแวดล้อม 7-10 3.1 ลักษณะปัญหาสิ่งแวดล้อม 10 บทที่ 4 พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม 11-12 บทที่ 5 แนวทางการแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อม 13-14
  • 6. จ สารบัญภาพ ภาพที่ หน้าที่ 1.1สถานการณ์ป่าไม้ในประเทศเทศไทย 2 2.2การทิ้งขยะลงในดิน 3 2.3การปล่อยน้าเสียจากโรงงานอุตสาหกรรม 4 2.4การคมนาคมที่เป็นสาเหตุทาให้เกิดมลภาวะทางอากาศ 5 5.5การฟื้นฟูสภาพแวดล้อม 14 6.6การจัดวางผังเมือง 14
  • 7. 1 บทที่ 1 สิ่งแวดล้อม สิ่งแวดล้อม หมายถึง สิ่งต่าง ๆ ที่มีลักษณะทางกายภาพและชีวภาพที่อยู่รอบตัวมนุษย์ซึ่งเกิดขึ้นโดย ธรรมชาติและสิ่งที่มนุษย์ได้ทาขึ้น(พระราชบัญญัติ ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๓๕ ) สิ่งแวดล้อม หมายถึง สิ่งต่างๆ ที่อยู่โดยรอบตัวมนุษย์ทั้งที่มนุษย์ประดิษฐ์ขึ้นและที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ (อ.เปลื้อง นคร) ประเภทของสิ่งแวดล้อม 1.สิ่งแวดล้อมที่มีชีวิต 1.1สิ่งแวดล้อมธรรมชาติ คือ สิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ มนุษย์ไม่ได้เข้าไปเกี่ยวข้องกับใน การเกิด เช่น พืชในป่า สัตว์ในป่า สัตว์น้าชนิดต่างๆในทะเล 1.2 สิ่งแวดล้อมที่มนุษย์สร้างขึ้น คือสิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้นโดยมีมนุษย์เป็นผู้สร้าง ส่วนใหญ่เกิดจากกิจการ ของมนุษย์เช่นพืชสวนพืชไร่ โคในฟาร์ม 2.สิ่งแวดล้อมไม่มีชีวิต 2.1สิ่งแวดล้อมธรรมชาติ คือสิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ เช่น ดิน น้า ลม ฝน แสงแดด 2.2 สิ่งแวดล้อมที่มนุษย์สร้างขึ้น คือสิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้นมาเพื่อเป้ปัจจัยในการดารงชีวิต 2.2.1สิ่งแวดล้อมที่เป็นรูปธรรม เป็นสิ่งแวดล้อมที่มีรูปทรง มองเห็นและจับได้เช่น บ้าน เรือน ถนน 2.2.2สิ่งแวดล้อมที่เป็นนามธรรม เป็นแบบแผนในการดาเนินชีวิตของมนุษย์เช่นเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรมประเพณี
  • 8. 2 ความสาคัญของสิ่งแวดล้อมที่มีต่อสิ่งมีชีวิต 1.สิ่งแวดล้อมทางกายภาพหรือสิ่งแวดล้อมที่ไม่มีชีวิต มีความสาคัญต่อสิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยู่ในสิ่งแวดล้อม นั้น เช่น น้า ใช้ในการบริโภคและเป็นที่อยู่อาศัยของสัตว์น้า อากาศใช้ในการหายใจของมนุษย์และสัตว์ 2.สิ่งแวดล้อมทางชีวภาพ จะช่วยปรับให้สิ่งมีชีวิตอาศัยอยู่ในสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมกับการดารงชีวิต เช่น ป่ามีความอุดมสมบูรณ์ก็จะมีสัตว์ป่าเข้ามาอยู่อาศัย 3.สิ่งมีชีวิตจะเปลี่ยนไปตามสภาพแวดล้อม เช่น มีการปรับตัวให้เข้ากับสภาพแวดล้อม 4.สิ่งมีชีวิตจะเปลี่ยนแปลงไปตามการกระทาของสิ่งมีชีวิตที่อยู่ในสิ่งแวดล้อมนั้น เช่นเมื่อสัตว์กินพืชจานวน มาก พืชถูกกินจานวนลดลง ภาพที่ 1.1 สถานการณ์ป่าไม้ในประเทศเทศไทย
  • 9. 3 บทที่2 มลพิษสิ่งแวดล้อม มลพิษทางดิน มลพิษทางดิน หมายถึงภาวะที่ดินได้รับสารปนเปื้อนในปริมาณที่มากกว่าอัตราการสลายตัวหรือการ เสื่อมฤทธิ์ของสารนั้น จนทาให้เกิดการสะสมของสารพืชหรือเชื้อโรคต่างๆ ซึ่งก่อให้เกิดอันตรายต่อการ เจริญเติบโตและการเจริญสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต 1.สาเหตุของการเกิดมลพิษทางดิน 1.1ดินเสียโดยธรรมชาติ เกิดจากธรรมชาติไม่เอื้ออานวย เช่น เกิดความแห้งแล้ง ดินมีน้าท่วม ตลอดเวลา การมีลมพัดหรือน้ากัดเซาะจนเกิดการชะล้างพังทลายของหน้าดิน สาเหตุเกิดปัญหาของดิน คือ 1.1.1 ดินเปรี้ยว ดินที่เป็นจัด มีpHต่ากว่า 4 เป็นดินที่ทาให้ผลผลิตข้าวต่า การแก้ไขทาได้โดยใช้ปูนมาร์ล และปุ๋ ยช่วย 1.1.2ดินเค็มหรือกินโซดิก คือ ดินที่มีปริมาณโซเดียมคลอไรด์มากกว่าปกติ การแก้ไขทาได้โดยใช้ กระบวนการชะล้างน้าจืดหรือใช้แคลเซียมซัลเฟต ต้องพยายามทาให้ดินมีความชื้นโดยเสมอ 1.2ดินเสียเพราะการกระทาของมนุษย์ 1.2.1 ของเสียจากชุมชน ได้แก่ เศษอาหาร เศษกระดาษ เศษแก้ว เศษโลหะ สิ่งเหล่านี้ทาให้ดินเสื่อม คุณภาพ นอกจากนี้ยังมีน้าที่ผ่านกาใช้ในครัวเรือนโดยทั่วไปจะทิ้งน้าที่มีปริมาณสารเคมีอยู่มากลงสู่ดินดิน เสีย ภาพที่ 2.2 การทิ้งขยะลงในดิน
  • 10. 4 1.2.2ของเสียจากโรงงานอุตสาหกรรม ส่วนใหญ่โรงงานอุตสาหกรรมมักจะตั้งอยู่ริมแม่น้าแล้วจะปล่อยน้า เสียลงแม่น้า แต่ละวันจะมีน้าเสียระบายลงไปในดินจานวนมากทาให้ดินได้รับสารปนเปื้อน 1.2.3 การใช้สารเคมีในการเพิ่มผลผลิตทางการเกษตรจะทาให้ผลผลิตต่าและเกิดดินเสียด้วย มลพิษทางน้า มลพิษทางน้า หมายถึงน้าที่มีมลพิษปนเปื้อนเกินขีดจากัด มีสมบัติเปลี่ยนไปจากธรรมชาติ จนทาให้มนุษย์ สัตว์และพืชได้รับอันตราย ซึ่งสิ่งเหล่านี้จะเป็นอันตรายต่อมนุษย์และสิ่งแวดล้อม แหล่งที่ก่อให้เกิดน้าเสีย 1.อาคารบ้านเรือและชุมชน น้าเสียที่เกิดจากการทากิจกรรมต่างๆ เช่นการอาบน้า การซักผ้า การล้างถ้วย ชาม ชุมชนส่วนใหญ่มักจะตั้งอยู่ริมฝั่งแม่น้าซึ่งน้าปล่อยจากอาคารบ้านเรือนส่วนใหญ่จะเป็นน้าที่ไม่มี ระบบการบาบัดก่อนปล่อยลงธรรมชาติ ซึ่งจะทาให้เกิดน้าเสียได้ง่าย 2.โรงงานอุตสาหกรรม มีการใช้น้าในกระบวนการต่างๆ เช่น การผลิต การล้างทาความสะอาด หรือการ ใช้น้าที่ปนเปื้อนสารเคมี แ ละมีการปล่อยน้าลงสู่แม่น้าโดยไม่ผ่านการบาบัด 3.การเกษตร การเลี้ยงสัตว์ มีการใช้น้าในกระบวนการต่างๆ การถ่ายเทมูลสัตว์และปล่อยลงแม่น้า การล้างเครื่องมือหรือุปกรณ์การเกษตร น้าทิ้งจากการเพาะเลี้ยงสัตว์น้า ภาพที่ 2.3 การปล่อยน้าเสียจากโรงงานอุตสาหกรรม
  • 11. 5 มลภาวะทางอากาศ มลภาวะทางอากาศ หมายถึง ภาวะของอากาศที่มีกรเจือปนของสารพิษในปริมาณที่เป็นอันตรายของ มนุษย์สัตว์และพืช และทรัพย์สินทั้งทางตรงและทางอ้อม สิ่งเจอปนเหล่านี้ ได้แก่ ก๊าซต่างๆ ฝุ่นละออง เขม่า ควัน สารกัมมัตรังสี สาเหตุที่ทาให้เกิดมลพิษทางอากาศมีดังนี้ 1.การคมนาคม ยาพาหนะต่างๆที่ใช้ในการคมนาคมทางบก ทางน้า และทางอากาศ หากปล่อยให้ เครื่องยนต์มีสภาพสึกหรอ หรือมีคุณภาพต่า จะทาให้การเผาไหม้ของเครื่องยนต์ไม่สมบูรณ์ ก่อให้เกิดก๊าซ พิษ เช่น ก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์ซัลเฟอร์ไดออกไซด์ 2.ควันไฟและก๊าซจากโรงงาน การเผาไหม้ของเชื้อเพลิงในกระบวนการผลิตจากโรงงานอุตสาหกกรม ก่อให้เกิดควัน เขม่า ก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์ ก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ 3.การเผามูลฝอย ก่อให้เกิดควัน เขม่า ก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์ ก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ 4.แหล่งอื่นๆ ชุนชนที่พักอาศัยเกิดการรั่วของแก๊สหุงต้ม น้าเน่าเสียจะเกิดก๊าซไฮโดรเจนซัลไฟต์ การ ก่อสร้างก้อให้เกิดฝุ่นละออง ภาพที่2.4 การคมนาคมที่เป็นสาเหตุทาให้เกิดมลภาวะทางอากาศ
  • 12. 6 มลพิษทางเสียง เสียงเป็นพิษ หมายถึงเสียงที่ไม่พึงปรารถนาหรือไม่ต้องการหรือเกินขีดความสามารถของโสตประสาทจะ รับได้ แหล่งกาเนิดเสียง 1.เสียงจากธรรมชาติ ได้แก่ เสียงฟ้าร้อง เสียงภูเขาไฟระเบิด เสียงลมพัด เสียใบไม้เสียดสีกัน 2.เสียงจากสัตว์มีความดังไม่ถึงกับเป็นอันตรายของมนุษย์แต่อาจก่อให้เกิดความราคาญ เช่น เสียงสุนัข เห่าหอนในยามวิกาล 3.เสียงที่เกิดจากมนุษย์ 3.1 แหล่งกาเนิดเสียงอยู่กับที่ ได้แก่ เสียงที่เกิดจากสถนประกอบการต่างๆ เช่นโรงงานอุตสาหกรรม อู่ ซ่อมรถยนต์บริเวณที่มีการก่อสร้าง 3.2แหล่งกาเนิดเสียงเคลื่อนที่ ได้แก่ยานพาหนะชนิดต่างๆ ที่ใช้เครื่องยนต์ในการขับเคลื่อน ผลกระทบจากมลพิษทางเสียง 1.อันตรายต่อระบบการได้ยิน ถ้าได้ยินเสี่ยงที่ดังมากเกินปกติ จะทาให้เกิดการหูอื้อชั่วคราวหรือหูตึง แต่ ถ้าเสียงดังมาก เช่นเสียงระเบิด เยงประทัด เสียงฟ้าผา เสียงเครื่องจักร จะทาให้หูหนวกหรือหูตึงถาวร 2.อันตรายของเสียงทางด้านจิตใจ ทาให้เกิดเกิดความราคาญ และอาทาให้เกิดโรคประสาทได้ 3.รบกวนการทางานและประสิทธิภาพของการทางาน ทาให้ขาดสมาธิ ประสิทธิภาพการทางานก็จะลดลง ทางานไม่เต็มความสารถที่ตนเองควรจะทาได้
  • 13. 7 บทที่ 3 สาเหตุของปัญหาสิ่งแวดล้อม สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาตินับวันแต่จะถูกทาลายลงไปเรื่อย ๆ โดยที่สิ่งแวดล้อมและ ทรัพยากรธรรมชาติถูกทาลายและสูญเสียได้ 3 ทาง คือ (ราตรี ภารา, 2540) 1. มนุษย์ 2. สัตว์และโรคต่าง ๆ 3. ปรากฏการณ์ธรรมชาติ ซึ่งการสูญเสียเนื่องจากมนุษย์เป็นปัจจัยที่สาคัญที่สุด เนื่องจากสาเหตุต่อไปนี้ 1. การเพิ่มของประชากร ปัจจุบันการเพิ่มของประชากรโดยเฉลี่ยทั่วโลกมีแนวโน้มสูงขึ้น การที่ประชากรเพิ่มจานวนมากขึ้น หมายถึง ความต้องการในการใช้ ทรัพยากรธรรมชาติในการดารงชีวิตขั้นต่าง ๆ ก็เพิ่มขึ้นด้วย (สุพจน์ แสง มณี, 2546) ทาให้เกิดผลต่าง ๆ ตามมา ได้แก่ การเพิ่มขึ้นของพื้นที่ทากินทางการเกษตร จนมีการบุกรุก ทาลายป่า ทาให้เกิดเสียสมดุลทางธรรมชาติ อีกทั้งความต้องการในการใช้ ทรัพยากรอื่น ๆ มากขึ้นเช่น น้า แร่ธาตุ พลังงานอากาศตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันพบว่ามีอัตราการเพิ่มของประชากรมากขึ้นในแต่ละปี เป็น สาเหตุสาคัญที่ที่ทาให้การใช้ทรัพยากรเพิ่มมากขึ้นและเป็นผลให้จานวนทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจากัดลด จานวนลงอย่างรวดเร็ว และส่งผลให้เกิดปัญหาการขาดแคลนทรัพยากรและปัญหามลพิษสิ่งแวดล้อมต่าง ๆ ตามมา 2. การขยายตัวของเมือง การขยายตัวของชุมชนหรือเมือง ทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อมตามธรรมชาติต่าง ๆ ด้วย เนื่องจากการขยายตัวของ เมืองอย่างรวดเร็วจะทาให้เกิดปัญหาการขาดการวางแผนการวางผังเมืองไว้ ล่วงหน้า ทาให้เกิดปัญหาขึ้นอีกทั้งการขยายตัว ของเมือง ปกติแล้วจะเกิดการขยายตัวของอุตสาหกรรม
  • 14. 8 เกิดขึ้นด้วย และในขั้นตอนต่าง ๆ ของโรงงานอุตสาหกรรมถ้าหากขาดการวางแผน และการควบคุมที่ดีก็จะ ส่งผลต่าง ๆ ต่อสิ่งแวดล้อมมากมาย 3. การใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่ เทคโนโลยีสมัยใหม่ที่นามาใช้ในทางการผลิตด้านการเกษตร โดยการใช้สารเคมีต่าง ๆ เช่น ปุ๋ ย และยา ฆ่าแมลงทาให้เกิดการตกค้าง ของสารเหล่านี้ในดิน และอาจขยายไปสู่แหล่งน้าและแหล่งต่าง ๆ ในระบบ นิเวศ จนเกิดผลต่าง ๆ ตามมา รวมถึงเกิดการสะสม ในสายใยอาหารทางด้านอุตสาหกรรม สารที่ใช้ใน กระบวนการผลิตและสารที่เป็นผลเกิดจากกระบวนการผลิต เช่น ตะกั่ว ปรอท สารหนู เป็นต้น จะเป็นอันตรายต่อสุขภาพและมีขั้นตอนการกาจัดส่วนที่ตกค้าง ( Residuals ) ให้หมดสิ้นไป ได้ยาก และจะเกิดผลกระทบต่าง ๆ ตามมาอีกมากมาย 4. การสร้างสิ่งก่อสร้างต่าง ๆ การสร้างถนน อ่างเก็บน้า เขื่อน นับว่าเป็นสาเหตุใหญ่ที่ทาให้ทรัพยากรหลัก เช่นป่ าไม้ถูกทาลาย ทรัพยากรดิน น้า สัตว์ป่าจึงพลอย ได้รับ ผลกระทบกระเทือนตามไปด้วย ทาให้มนุษย์เข้าสู่พื้นที่ป่าที่เหลือ ได้ง่ายกว่าเดิม เนื่องจากการไปมาสะดวก การทาลายจึง เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง เมื่อป่าเสื่อมโทรมหรือหมดไป ถิ่นที่อยู่อาศัยของสัตว์ป่ าถูกทาลาย โอกาสถูกล่ามีมากขึ้น สัตว์บางชนิดหาอาหาร เป็นไปด้วยความ ยากลาบาก ในที่สุดก็สูญพันธุ์ไป เป็นต้น 5. การกีฬา ส่วนใหญ่เกิดกับทรัพยากรสัตว์ป่า เช่นการยิงนก ตกปลา และการล่าสัตว์เป็นต้น ถ้าทาเพื่อการกีฬาที่ แท้จริงก็ไม่มีปัญหา เรื่องการ ทาลายทรัพยากรธรรมชาติมากนัก แต่เมื่อใดที่เป็นการแข่งขันเพื่อทาสถิติด้าน จานวน ขนาดอาวุธร้ายแรงและทันสมัย จะถูกนามา ใช้มากยิ่งขึ้น สัตว์ป่าที่ได้มาก็จะนาส่วนหนึ่งของที่ได้ หรือบางส่วนของร่างกายไปเป็นอาหาร หรือเครื่องใช้เท่านั้น ส่วนที่เหลือจะทิ้ง ไว้ในป่า ซึ่งเป็นการกระทาที่ ไม่คุ้มกับการสูญเสียชีวิตและพันธุกรรมของสัตว์ป่า 6. การสงคราม
  • 15. 9 ก่อให้เกิดการกระตุ้นให้นาทรัพยากรธรรมชาติที่มีอยู่มาใช้มากขึ้น การนาทรัพยากรแร่ธาตุมาใช้เพื่อการ ผลิตอาวุธและเครื่องมือต่าง ๆ ซึ่งสุดท้ายก็ถูกทาลายไป บางครั้งต้องเร่งขุดเจาะน้ามันดิบเพื่อขาย แล้วนา เงินตราไปซื้ออาวุธที่ทันสมัยมี ประสิทธิภาพการทาลายสูง มาต่อสู้ซึ่งกันและกัน ผลของสงครามก็คือการ สูญเสียทั้งสองฝ่ายในด้านทรัพยากรมนุษย์หรือทรัพยากรอื่น ๆ เช่นการทิ้งระเบิด ทาลายชีวิตและทรัพยากร ของมนุษย์ซึ่งเป็นทรัพยากรธรรมชาติการทาลายบ่อน้ามันของอีรักในปี พ . ศ . 2536 ทาให้สูญเสียทรัพยากร ซึ่งต้องใช้เวลาเป็นล้าน ๆ ปีในการเกิดไปอย่างน่าเสียดายและยังส่งผลเสียหายต่อสิ่งแวดล้อมเกือบทั่วโลก 7. ความไม่รู้หรือรู้เท่าไม่ถึงการณ์ หลาย ๆ ครั้งที่คนเราทาลายสิ่งแวดล้อมเพราะความไม่รู้ถึงสาเหตุและผลกระทบ ขาดข้อมูลความเข้าใจ ที่ถูกต้อง ทาให้เราเข้าถึง และสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมแตกต่างกัน ในขณะที่นักอนุรักษ์นึกถึงสิ่งแวดล้อมใน รูปของระบบนิเวศของธรรมชาติ ป่ าไม้และสัตว์ป่า แต่ภาคอุตสาหกรรมกลับนึกถึงวัตถุดิบที่เป็นปัจจัยใน การผลิตเป็นต้นทุนนักเศรษฐศาสตร์ จะนึกถึงทรัพยากรที่ต้องใช้ให้คุ้มค่า ชาวนาจะนึกถึงฝน ภาคท่องเที่ยว นึกถึงเงิน การทาการเกษตรที่ไม่ถูกต้องของเกษตรกร ลลล สังคมยังขาดความเข้าใจถึง สิ่งแวดล้อมใน ลักษณะรวมที่เป็นความสัมพันธ์ของสิ่งต่าง ๆ ที่เมื่อเกิดความเสียหายที่ใดที่หนึ่งก็จะมีผลกระทบแก่กันและ กันบางครั้งลืมไปว่า ความสนุกชั่วครู่ชั่วยามของตนเป็นสิ่งที่ทาลายความเป็นธรรมชาติและความงดงามของ สถานที่ ความหมายของปัญหาสิ่งแวดล้อม 1. ปัญหาที่เกิดขึ้นจาการใช้ทรัพยากรของมนุษย์อย่างไม่ประหยัดและขาดความรับผิด ชอบก่อให้เกิดปัญหา มลพิษและปัญหาอื่น ๆ ซึ่งเป็นภาวะการณ์ที่กระทบกระเทือนต่อคนจานวนมาก ซึ่งภาวการณ์ดังกล่าวไม่ เป็นที่พึงปรารถนาและควรมีการกระทาบางอย่างเพื่อแก้ไขปรับปรุงให้ดีขึ้น 2. ปัญหาเสื่อมโทรมของสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติทั้งที่เป็นทรัพยากรธรรมชาติ เช่น ป่าไม้ ดิน แร่ธาตุ สัตว์ และพืช และปัญหาเสื่อมโทรมของคุณค่าสิ่งแวดล้อมรอบตัวมนุษย์เช่น ดิน น้า อากาศ เป็นต้น รวมถึงปัญหาความเสื่อมโทรมของระบบนิเวศตามธรรมชาติ ตลอดจนปัญหาการเปลี่ยนแปลงทางด้าน สิ่งแวดล้อมทางเศรษฐกิจและสังคมอันมี สาเหตุมาจากการกระทาของมนุษย์
  • 16. 10 ลักษณะปัญหาสิ่งแวดล้อม ตามการให้นิยามของ สานักงานคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ แบ่งเป็น 1. ปัญหาสิ่งแวดล้อมทางกายภาพ ได้แก่ - ภาวะมลพิษ - ปัญหาความร่อยหรอของทรัพยากร - ปัญหาการใช้ทรัพยากรไม่ถูกวิธี ขาดการอนุรักษ์ 2. ปัญหาสิ่งแวดล้อมทางสังคม ได้แก่ - ปัญหาความยากจน - ความขาดแคลนอาหาร - ที่อยู่อาศัย - ความไม่รู้หนังสือ - ความเจ็บไข้ลลล
  • 17. 11 บทที่ 4 พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม 1.พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติพ.ศ. 2535 "เขตอนุรักษ์" หมายความว่า เขตอุทยานแห่งชาติ เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขตสงวนเพื่อการท่องเที่ยว และเขตพื้นที่คุ้มครองอย่างอื่นเพื่อสงวนและรักษาสภาพธรรมชาติตามที่มีกฎหมายกาหนด "คุณภาพสิ่งแวดล้อม" หมายความว่า ดุลยภาพของธรรมชาติ อันได้แก่ สัตว์ พืช และ ทรัพยากรธรรมชาติต่างๆ และสิ่งที่มนุษย์ได้ทาขึ้น ทั้งนี้ เพื่อประโยชน์ต่อการดารงชีพของประชาชนและ ความสมบูรณ์สืบไปของ มนุษยชาติ "มาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดล้อมหมายความว่าค่ามาตรฐานคุณภาพ น้า อากาศ เสียง และสภาวะอื่น ๆ ของสิ่งแวดล้อม ซึ่งกาหนดเป็นเกณฑ์ทั่วไปสาหรับการส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม 1.1การคุ้มครองสิ่งแวดล้อม 1.1.1(มาตรา32)มาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดล้อม (1) มาตรฐานคุณภาพน้าในแม่น้าลาคลอง หนอง บึง ทะเลสาบ อ่างเก็บน้า และแหล่งน้าสาธารณะ ที่ อยู่ภายในผืนแผ่นดิน โดยจาแนกตามลักษณะการใช้ประโยชน์บริเวณพื้นที่ลุ่มน้าในแต่ละพื้นที่ (2) มาตรฐานคุณภาพน้าทะเลชายฝั่งรวมทั้งบริเวณพื้นที่ปากแม่น้า (3) มาตรฐานคุณภาพน้าบาดาล (4) มาตรฐานคุณภาพอากาศในบรรยากาศโดยทั่วไป (5) มาตรฐานระดับเสียงและความสั่นสะเทือนโดยทั่วไป (6) มาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดล้อมในเรื่องอื่น ๆ
  • 18. 12 1.1.2 (มาตรา 34) ให้คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติมีอานาจปรับปรุง แก้ไขมาตรฐานคุณภาพ สิ่งแวดล้อมที่ได้กาหนดไว้แล้วให้เหมาะสมตามความ ก้าวหน้าในทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและความ เปลี่ยนแปลงในทาง เศรษฐกิจและสังคมของประเทศ 1.2เขตอนุรักษ์และพื้นที่คุ้มครองสิ่งแวดล้อม (1) กาหนดการใช้ประโยชน์ในที่ดินเพื่อรักษาสภาพธรรมชาติหรือมิให้กระทบกระเทือนต่อระบบ นิเวศน์ ตามธรรมชาติหรือคุณค่าของสิ่งแวดล้อม ศิลปกรรม (2) ห้ามการกระทาหรือกิจกรรมใด ๆ ที่อาจเป็นอันตรายหรือก่อให้เกิดผลกระทบในทางเปลี่ยนแปลง ระบบนิเวศน์ของพื้นที่นั้นจากลักษณ์ ตามธรรมชาติหรือเกิดผลกระทบต่อคุณค่าของสิ่งแวดล้อมศิลปกรรม (3) กาหนดประเภทและขนาดของโครงการหรือกิจการของส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ หรือเอกชนที่จะ ทาการก่อสร้างหรือดาเนินการในพื้นที่นั้น ให้มีหน้าที่ต้องเสนอรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม (4) กาหนดวิธีจัดการโดยเฉพาะสาหรับพื้นที่นั้นรวมทั้งการกาหนด ขอบเขตหน้าที่และความ รับผิดชอบของส่วนราชการที่เกี่ยวข้องเพื่อประโยชน์ในการร่วมมือและประสานงานให้เกิดประสิทธิภาพใน การปฏิบัติงานเพื่อรักษาสภาพธรรมชาติหรือระบบนิเวศน์ตามธรรมชาติหรือคุณค่าของสิ่งแวดล้อม ศิลปกรรมในพื้นที่นั้น (5) กาหนดมาตรการคุ้มครองอื่น ๆ ตามที่เห็นสมควรและเหมาะสมแก่สภาพของพื้นที่นั้น
  • 19. 13 บทที่ 5 แนวทางการแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อม แนวทางการแก้ปัญหาสิ่งแวดล้อม 1.การพัฒนาคน หมายถึง การให้ความรู้ความเข้าใจ และสร้างจิตสานึกร่วมกันของมนุษย์ในสังคมโลกโดยการ จัดเป็นหลักสูตรการเรียนทั้งในระดับการศึกษาขึ้นพื้นฐานและอุดมศึกษารวมทั้งเผยแพร่ความรู้ทาง สื่อมวลชน ทั้งหนังสือพิมพ์วิทยุโทรทัศน์ หรือเอกสาร เพื่อให้เห็นความสาคัญของสภาพแวดล้อม 2.การประสานความร่วมมือระหว่างประเทศ องค์การสหประชาชาติได้จัดการประชุมเพื่อระดมความร่วมมือในการแก้ปัญหาโดยการจัดตั้งองค์กรความ ร่วมมือระหว่างชาติขึ้น ดูแลในเรื่องสภาพแวดล้อมคือ โครงการสิ่งแวดล้อมแห่งสหประชาชาติ (UN Environment Program : UNEP) และมีกลุ่มพิทักษ์สิ่งแวดล้อมที่เรียกว่า กลุ่มกรีนพืช (Green Peace) ออก ปฏิบัติการต่อด้านพฤติกรรมที่ทาให้เกิดสภาพแวดล้อมเป็นพิษ 3.การใช้มาตรการบังคับ การออกกฎหมายควบคุมการถ่ายเทน้าเสียในโรงงานอุตสาหกรรม กฎหมายบังคับให้โรงงานอุตสาหกรรม ต้องสร้างปล่อยควันให้สูง เพื่อไม่ให้ควัน และสารพิษทาอันตรายต่อมนุษย์ได้การออกกฎหมายควบคุมควัน ดาจากท่อไอเสียรถยนต์ นอกจากการควบคุมที่ใช้มาตรการทางกฎหมายแล้ว อาจมีการได้จัดระบบเฉพาะ เกิดขึ้นควบคุมสภาพแวดล้อมด้วย เช่น การห้ามรถยนต์บางชนิดวิ่งในถนนบางสาย หรือการกาหนดปริมาณ ก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์ในอากาศไม่ให้สูงเกินมาตรฐานกาหนด 4.การฟื้นฟูสภาพแวดล้อม ในปัจจุบันประเทศต่างๆ ได้จัดงบประมาณเพื่อการฟื้นฟูสภาพแวดล้อมที่เสื่อมโทรมให้คืนสู่สภาพปกติเป็น เงิน โดยรวมนับหลายหมื่นล้านเหรียญ เช่น การเพิ่มก๊าซออกซิเจนในน้า การลงทุนในปฏิบัติการฟอกอากาศ ในโรงงาน
  • 20. 14 ภาพที่5.5 การฟื้นฟูสภาพแวดล้อม 5.การจัดวางผังเมือง มีการกาหนดพื้นที่ ให้เป็นสัดส่วนตามหลักวิชาการ โดยการกาหนดว่าที่ใดเป็นเขตที่ อยู่อาศัย พื้นที่ใดเป็นเขตอุตสาหกรรม เพื่อไม่ให้มลพิษทาลายสุขภาพอนามัยของประชาชน ภาพที่5.6 การจัดวางผังเมือง
  • 21. 15 บรรณานุกรม ณชพัฒน์ เดช ศรีสิงห์แก้ว. (2552สภาพ). แนวทางแก้ปัญหาแวดล้อม. ค้นเมื่อ 8 กันยายน 2559, จาก https://www.gotoknow.org/posts/242786?locale=th ชุติมา อ่อนตีบ.สาเหตุปัญหาสิ่งแวดล้อม.ค้นเมื่อ 8 กันยายน 2559,จาก http://www.ptcn.ac.th/port_ptcn/Stu.Port/chutuma_ann/index_files/Page418.htm วนิดา แน่นหนา.มลพิษทางสิ่งแวดล้อม.ค้นเมื่อ 8 กันยายน 2559,จาก http://environments2.blogspot.com/ ชัชพล ทรงสุนทรวงศ์.มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม.กรุงเทพมหานคร:จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.กรุงเทพมหาคร ,2550 สุกรานต์ โรจนไพรวงศ์.สถานการณ์สิ่งแวดล้อมไทย2540-41.กรุงเทพมหานคร:มูลนิธิโลกสีเขียว. กรุงเทพมหานคร,2542
  • 23. 17 ข้อมูลรายละเอียดต่างๆ งานย่อย 4 งาน ก#1 ปัญหาสิ่งแวดล้อม สาเหตุของปัญหาสิ่งแวดล้อม 1. การเพิ่มของประชากร การที่ประชากรเพิ่มจานวนมากขึ้น หมายถึง ความต้องการในการใช้ ทรัพยากรธรรมชาติในการดารงชีวิตขั้นต่าง ๆ ก็เพิ่มขึ้นด้วย (สุพจน์ แสงมณี, 2546) ทาให้เกิดผลต่าง ๆ ตามมา ได้แก่ การเพิ่มขึ้นของพื้นที่ทากินทางการเกษตร จนมีการบุกรุกทาลายป่า ทาให้เกิดเสียสมดุลทาง ธรรมชาติ อีกทั้งความต้องการใน การใช้ทรัพยากรอื่น ๆ มากขึ้นเช่น น้า แร่ธาตุ 2 .การใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่ เทคโนโลยีสมัยใหม่ที่นามาใช้ในทางการผลิตด้านการเกษตร โดยการใช้ สารเคมีต่าง ๆ เช่น ปุ๋ ย และยาฆ่าแมลงทาให้เกิดการตกค้าง ของสารเหล่านี้ ในดิน และอาจขยายไปสู่แหล่ง น้าและแหล่งต่าง ๆ ในระบบนิเวศถูกทาลาย 3. การสร้างสิ่งก่อสร้างต่าง ๆ การสร้างถนน อ่างเก็บน้า เขื่อน
  • 24. 18 นับว่าเป็นสาเหตุใหญ่ที่ทาให้ทรัพยากร หลัก เช่นป่ าไม้ถูกทาลาย ทรัพยากรดิน น้า สัตว์ป่ าจึงได้รับ ผลกระทบ กระเทือนตามไปด้วย ทาให้มนุษย์เข้าสู่พื้นที่ป่ าที่เหลือได้ง่ายกว่าเดิม ทาให้ ทรัพยากรป่าไม้ เสื่อมโทรดและหมดไป การวางแผน วิธีการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม 1. รักษารถยนต์ด้วยการเปลี่ยนไส้กรอง ไส้กรองอากาศที่สกปรกจะทาให้ การไหลของอากาศที่สะอาดทา ได้น้อยลง มีผลต่อการเผาไหม้ของ เครื่องยนต์ด้วย 2. ควรใช้ผ้าแทนการใช้กระดาษทิชชู 3. ใช้ถุงผ้าแทนการใช้ถุงพลาสติก 4. ทิ้งขยะเป็นที่เป็นทาง ควรทิ้งขยะให้ลงถังขยะ 5. ช่วยกันปลูกต้นไม้เพื่อเพิ่มพื้นที่สีเขียวให้มากขึ้น 6. ไม่บุกรุกพื้นที่ป่า 7. ไม่เปิดน้า และไฟฟ้าทิ้งไว้โดยไร้ประโยชน์ 8. ไม่ทิ้งน้าเสียลงแม่น้าลาคลอง 9. ควรทานอาหารให้หมดจาน 10. ไม่ควรเผาขยะหรือเศษไม้,เศษหญ้า ค้นหาความรู้จากแหล่งข้อมูลที่มีประสิทธิภาพ ทรัพยากรธรรมชาติเป็นทรัพยากรสาคัญ ของสิ่งแวดล้อม ซึ่งเกิดขึ้นเอง ตามธรรมชาติโดยที่มนุษย์ไม่ได้ สร้างขึ้น และมีประโยชน์ต่อมนุษย์ความสาคัญของทรัพยากรธรรมชาติ 1.) ทรัพยากรธรรมชาติ เป็นแหล่งของปัจจัยที่จาเป็นต่อการดารงชีวิต ของมนุษย์คือ
  • 25. 19 - เป็นแหล่งที่อยู่อาศัย -เป็นแหล่งอาหาร ไม่ว่าจะเป็น พืช สัตว์ -เป็นแหล่งที่มาเครื่องนุ่มห่ม -เป็นแหล่งที่มาของยารักษาโรค 2.) เป็นปัจจัยในการดารงชีวิตที่มนุษย์และสิ่งมีชีวิตอื่นขาดไม่ได้ได้แก่ อากาศ น้า 3.) เป็นปัจจัยที่สาคัญในการผลิต หรือเป็นวัตถุดิบในกระบวนการ ผลิตของอุตสาหกรรม 4.) ความต้องการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ บ่งชี้ถึงความเจริญทาง เศรษฐกิจ และความเจริญของสังคมมนุษย์ 5.) มีความสาคัญต่อเศรษฐกิจของประเทศทั้งทางตรง 7.) มีความสาคัญต่อการรักษาสมดุลของระบบนิเวศ ประเภทของทรัพยากร 1. ทรัพยากรธรรมชาติที่ใช้แล้วไม่หมด เช่น บรรยากาศ น้า 2. ทรัพยากรธรรมชาติที่ทดแทนได้เช่น ดิน ป่าไม้ทุ่งหญ้า สัตว์ป่า 3. ทรัพยากรธรรมชาติที่ใช้แล้วหมดไป เช่น ทรัพยากรแร่ธาตุ ทรัพยากรพลังงาน ตรวจสอบความน่าเชื่อถือของแหล่งข้อมูลที่มา 1.พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535 บัญญัติขึ้นเพื่อป้องกันปัญหา ความเสื่อมโทรมของคุณภาพสิ่งแวดล้อม เช่น ดินเสีย น้าเน่า อากาศเป็นพิษ ป่าไม้ต้นน้าลาธารถูกทาลาย อัน เนื่องมาจาก การขยายตัวของประชากร การใช้ทรัพยากรอย่างไม่ถูกต้อง และอุตสาหกรรม โดยส่งเสริม ประชาชน และองค์กรเอกชน ให้มีส่วนร่วมในการส่งเสริมและ รักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม 2.พระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535 เป็นกฎหมายที่ออกใช้เพื่อ ควบคุมดูแลการประกอบกิจการโรงงานให้ เหมาะสม 3.พระราชบัญญัติรักษาความสะอาดและความเป็นระเบียบ เรียบร้อยของบ้านเมือง พ.ศ. 2535 พระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535 และพระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม แห่งชาติ พ.ศ. 2535ห้ามทิ้งขยะมูลฝอยในที่ห้ามและอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
  • 26. 20 สถิติ สรุปความรู้ด้วยกระบวนการกลุ่ม 1.ความสาคัญของทรัพยากรธรรมชาติ 1.)ทรัพยากรธรรมชาติ เป็นแหล่งของปัจจัยที่จาเป็นต่อการ ดารงชีวิตของมนุษย์ 2.)เป็นปัจจัยในการดารงชีวิตที่มนุษย์และสิ่งมีชีวิตอื่นขาดไม่ได้ได้แก่ อากาศ น้า 3.)เป็นปัจจัยที่สาคัญในการผลิต หรือเป็นวัตถุดิบในกระบวนการ ผลิตของอุตสาหกรรม 4.)ความต้องการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ บ่งชี้ถึงความเจริญทาง เศรษฐกิจ และความเจริญของสังคมมนุษย์ 5.)มีความสาคัญต่อเศรษฐกิจของประเทศทั้งทางตรง 2.การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 1) การใช้อย่างประหยัด 2) การนากลับมาใช้ซ้าอีก 3) การบูรณซ่อมแซม 4) การบาบัดและการฟื้นฟู 5) การใช้สิ่งอื่นทดแทน
  • 27. 21 6) การเฝ้าระวังดูแลและป้องกัน เสนอแนวคิดในการแก้ปัญหา การอนุรักษ์ป่าไม้ 1. กาหนดนโยบายป่าไม้แห่งชาติเพื่อเป็นแนวทางใน การจัดการและพัฒนาป่าไม้ในระยะยาว 2. การปลูกป่าสงวน รวมทั้งทานุบารุงดูแล โดยให้ ประชาชน และชุมชนมีส่วนร่วมในการรักษาดูแลป่าไม้ 3. สร้างจิตสานึกให้ประชาชนทุกคนได้รู้คุณค่าของป่า ไม้และผลกระทบที่เกิดจากการ ตัดไม้ทาลายป่า การอนุรักษ์ทรัพยากรดิน 1. ปรับสภาพดิน หรือปลูกพืชที่สามารถป้องกันการ ทะลาย การชะล้าง และการกัดเซาะ 2. ใช้ประโยชน์ให้เหมาะสมกับลักษณะดิน 3.ไม่ใช้สารเคมีในการปลูกพืชโดยไม่คานึงถึงสภาพของ ดิน การอนุรักษ์ทรัพยากรน้า 1. ไม่ทิ้งเศษขยะมูลฝอย สิ่งสกปรกโสโครก ลงไปใน แม่น้า ลาคลอง 2. ควรมีมาตรการห้ามไม่ให้โรงงานอุตสาหกรรมทิ้งน้า เสียลงในแม่น้า 3. ประชาชนทุกชุมชน องค์กรภาครัฐและเอกชนทุก หน่วยงาน ต้องช่วยกันรักษาต้นน้า ลาธาร การอนุรักษ์ทรัพยากรแร่ธาตุ 1. กาหนดแผนการใช้ทรัพยากรแร่เพื่อให้การบริหาร ทรัพยากรแร่เป็นไปอย่างต่อเนื่อง 2. วางแผนการนาแร่มาใช้ประโยชน์อย่างมีประสิทธิภาพ ไม่ทาลายสิ่งแวดล้อมตามธรรมชาติ 3. ส่งเสริมให้มีการใช้ทรัพยากรแร่ให้มากที่สุดและครบ วงจร รวมทั้งให้รัฐเข้ามามีบทบาทในการควบคุม กลไกการผลิต
  • 29. 23
  • 30. 24
  • 31. 25
  • 32. 26
  • 33. ผู้จัดทา นางสาวกิรติกา ทองดี ชั้น ม.5/2 เลขที่ 31 นางสาวจิดาภา พลอยแสงสาย ชั้นม.5/2 เลขที่ 32
  • 34. นางสาวธฤษวรรณ ตันติศุภชัย ชั้นม.5/2 เลขที่ 33 นางสาวปริชญา วงษ์พิมพ์ชั้น ม.5/2 เลขที่34