SlideShare a Scribd company logo
1 of 21
Download to read offline
รายงาน เรื่อง
ไซโตไคนินตอการแตกตาของพืช
เสนอ
คุณครูวิชัย ลิขิตพรรักษ
จัดทําโดย
นายฌานฤทธิ์ จิโรจนวณิชชากร เลขที่ 27
นายธราธร บุญรัตนเสถียร เลขที่ 30
นายภูริณัฐ เชียรเจริญธนกิจ เลขที่ 33
นายวิวิธชัย บุญลอย เลขที่ 36
หอง 143 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6
รายงานเลมนี้เปนสวนหนึ่งของรายวิชา ว30245 ชีววิทยา 5
ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2560
คํานํา
รายงานเลมนี้มีจุดประสงคเพื่อนําเสนอความรูและโครงงานแกคุณครูและผูที่สนใจ เนื่องจากฮอรโมน
ไซโตไคนินมีผลตอจํานวนการแตกตาขางอยางไร เปนประโยชนตอวิทยาการเกี่ยวกับพืช และการเกษตรใน
อนาคต เราจึงควรทราบผลการทดลอง และนําผลที่ไดไปเปนขอมูลเพื่อเผยแพรเปนวิทยาทานแกผูที่สนใจ อัน
เปนพัฒนาการที่ดีทางการเกษตรตอไปในอนาคตนั่นเอง
ทั้งนี้ในการจัดทํารายงานเลมนี้ไดรวบรวมขอมูลและศึกษาคนควาจากผลการทดลองเปนหลัก อีกทั้ง
คําแนะนําจากคุณครู คณะผูจัดทําหวังเปนอยางยิ่งวารายงานเลมนี้จะกอใหเกิดประโยชนตอผูอานสูงสุด เพื่อ
สัมฤทธิ์ผลตามตองการ และหากมีขอผิดพลาดใดๆ ขออภัยมา ณ ที่นี้ ผูจัดทํานอมรับทุกขอเสนอแนะ อันจะ
นําไปปรับปรุงในรายงานครั้งถัดๆไป
คณะผูจัดทํา
ข
สารบัญ
หนาที่
คํานํา ข
ปญหา ที่มาและความสําคัญ 1
ขอมูลของพืชและรายละเอียดฮอรโมนที่ใชในการทดลอง 2
สมมติฐานในการทดลอง 4
จุดประสงคในการทดลอง
ตัวแปรในการทดลอง
รายละเอียดอุปกรณที่ใชในการทดลอง
ระยะเวลาในการทดลอง 5
วิธีการเก็บขอมูลผลการทดลอง 6
ขั้นตอนในการทดลอง 8
ผลการทดลอง 10
สรุปผลการทดลอง และขอเสนอแนะ 13
บรรณานุกรม 14
ภาคผนวก 15
สารบัญรูปภาพและตาราง
หนาที่
รูปภาพ
ภาพที่ 1 ตนประดูที่นํามาใชในการทดลอง 2
ภาพที่ 2 ตนประดูเมื่อโตเต็มวัย
ภาพที่ 3 ฮอรโมนไซโตไคนินที่ใชในการทดลอง 3
ภาพที่ 4 โครงสรางทางเคมีของไซโตไคนิน
ภาพที่ 5 การระบุตาขางที่พบวันแรก 6
ภาพที่ 6 การระบุตาขางที่เกิดขึ้นใหม
ภาพที่ 7 ตัวอยางประดูที่มีการการระบุตาขาง
ภาพที่ 8 มารกเกอรที่ใชในการระบุตาขาง
ภาพที่ 9 ตัวอยางตาตนประดูที่นํามาศึกษา 7
ภาพที่ 9.1 ตาที่ถูกตอง
ภาพที่ 9.2 ตาที่ไมถูกตอง
ภาพที่ 10 ขั้นตอนในการซื้อตนประดู 8
ภาพที่ 11 รานคาที่จําหนายฮอรโมนไซโตไคนิน
ภาพที่ 12 ขั้นตอนในการเตรียมสาร
ภาพที่ 13 ฮอรโมนที่ผสมเสร็จแลว
ภาพที่ 14 ขั้นตอนการฉีดพนฮอรโมน 9
ภาพที่ 15 ขั้นตอนการรดน้ําตนไม
ภาพที่ 16 ตัวอยางตารางที่มีการบันทึก
ภาพที่ 17 ตนควบคุม 1 10
ภาพที่ 18 ตนควบคุม 2
ภาพที่ 19 ตนควบคุม 3
ภาพที่ 20 ตน Low Dose 1
ภาพที่ 21 ตน Low Dose 2
ภาพที่ 22 ตน Low Dose 3
สารบัญรูปภาพและตาราง
หนาที่
รูปภาพ
ภาพที่ 23 ตน High Dose 1 11
ภาพที่ 24 ตน High Dose 2
ภาพที่ 25 ตน High Dose 3
ภาพที่ 26 การนําเสนอโครงงานฮอร์โมนพืชกลุ่ม 9 ห้อง 143 16
ภาพที่ 27 การนําเสนอโครงงานฮอร์โมนพืชกลุ่ม 9 ห้อง 143
ภาพที่ 28 การนําเสนอโครงงานฮอร์โมนพืชกลุ่ม 9 ห้อง 143
ตาราง
ตารางที่ 1 ตารางระยะเวลาในการดําเนินการทดลอง 5
ตารางที่ 2 ตารางบันทึกผลการทดลอง 10
ไซโตไคนินตอการแตกตาของพืช 1
ปญหา ที่มาและความสําคัญ
แมในปจจุบันประเทศไทยจะมีความเจริญกาวหนาทางวิทยาการและการแพทยมากแลว แตภูมิปญญา
ชาวบานในการใชพืชสมุนไพรก็ยังเปนสิ่งที่คูกับชาวบานและยังใชประโยชนไดหลายดาน ตนประดูก็เปนหนึ่งใน
พืชที่มีการใชอยางแพรหลายและยังมีสรรพคุณมากมายเชนใชเปนยาแกโรคตางๆทั้งทองเสีย โรคบิด อาการ
ปากเปอยรวมถึงการใชเปนยาบํารุงรางกาย แตการปลูกตนไมหนึ่งตนในปจจุบันที่มีพื้นที่จํากัดอาจไมคุมคาและ
เปลืองพื้นที่เนื่องจากถาปลอยใหตนไมโตตามธรรมชาติอาจมีจํานวนกิ่งนอย ซึ่งสงผลทําใหใบของตนประดูที่มี
สรรพคุณมากมายนั้นไดผลผลิตออกมาในปริมาณที่ไมเพียงพอตอความตองการ
คณะผูจัดทําจึงไดทําการทดลองในการศึกษาเพื่อหาวิธีการเพิ่มการแตกตาของตนประดูโดยใชฮอรโมน
ในการเรงการแตกตา ในปริมาณที่ตางกันเพื่อหาปริมาณที่เหมาะสมที่สุด ในที่นี้ทางคณะผูจัดทําไดเลือก
ฮอรโมนไซโตไคนินมาใชในการทดลอง โดยตั้งปญหาโครงงานนี้วา ฮอรโมนไซโตไคนิน มีผลตอจํานวนการแตก
ตาขางของตนประดูหรือไม
2 ไซโตไคนินตอการแตกตาของพืช
ขอมูลของพืชและรายละเอียดฮอรโมนที่ใชในการทดลอง
1. ตนประดู
ชื่อวิทยาศาสตร Pterocarpus macrocarpus
สกุล Pterocarpus
วงศ Leguminosae
ประดูเปนไมยืนตน ขนาดกลางถึงขนาดใหญ สูงถึง 25 ม. ผลัดใบกอนออกดอก เรือนยอดเปนรูป
คลายทรงกระบอก ยอดออนมีขนปกคลุมเล็กนอย เปลือกนอกสีน้ําตาลเทา หนา แตกหยาบๆ เปนรองลึก ใบ
เรียงสลับ ใบประกอบแบบขนนกปลายคี่ ใบยอยเรียงตัวแบบสลับจํานวน 7-13 ใบ ใบยอยรูปไข รูปรีหรือรูป
ขอบขนาน กวาง 3-6 ซม. ยาว 4-13 ซม. โคนใบมนหรือคอนขางแหลม ปลายใบแหลม ขอบใบเรียบ โคนกาน
ใบมีหูใบ 2 อันเปนเสนยาว ผิวใบมีขนสั้นๆ ปกคลุมดานทองใบมากกวาดานหลังใบ กานใบออนมีขนปกคลุม
เล็กนอย ดอกเปนชอแบบชอกระจะ ออกที่ซอกใบหรือปลายกิ่ง โคนกานมีใบประดับ 1-2 อัน รูปรี กลีบเลี้ยง 5
กลีบ ติดกันเปนถวยสีเขียว ปลายแยกเปน 2 แฉกอันบนจาก 2 กลีบติดกัน อันลางจาก 3 กลีบติดกัน กลีบดอก
5 กลีบ สีเหลืองแกมแสด ลักษณะกลีบเปนรูปผีเสื้อ มีผลแหงแบบ Samaroid รูปกลมหรือรีแบน ขอบมีปกบาง
คลายใบโดยรอบ แผนปกบิด เปนคลื่น ผิวมีขนละเอียด เสนผานศูนยกลางผล 4-8 ซม. มี 1 เมล็ด
2. ฮอรโมนไซโตไคนิน
ภาพที่ 1 ต้นประดู่ที่นํามาใช้ในการ ภาพที่ 2 ต้นประดู่เมื่อโตเต็ม
ไซโตไคนินตอการแตกตาของพืช 3
ไซโตไคนินเปนกลุมของสารควบคุมการเจริญเติบโตที่มีบทบาทสําคัญในการควบคุม การแบงเซลล
การขยายตัวและการเปลี่ยนแปลงของเซลลพืช มีผลตอการขมของตายอด การเจริญของตาขาง และการชรา
ของใบการออกฤทธิ์ของสารกลุมนี้คนพบในน้ํามะพราวเมื่อ พ.ศ. 2483 โดย Folke Skoog นักวิทยาศาสตรที่
University of Wisconsin–Madison
ไซโตไคนินมีสองประเภท ไดแก ไซโตไคนินที่เปนอนุพันธของอะดีนีนโดยมีโซขางมาเชื่อมตอกับเบสที่
ตําแหนง N6 ไซโตไคนินแบงไดเปนสองชนิดตามชนิดของโซขางคือ ไอโซพรีนอยด ไซโตไคนิน (Isoprenoid
cytokinin) มีโซขางเปนสารกลุมไอโซพรีน กับ อะโรมาติก ไซโตไคนิน เชน ไคนีติน ซีเอติน และ6-
benzylaminopurine อีกกลุมหนึ่งคือไซโตไคนินที่เปนอนุพันธของไดฟนิลยูเรีย และ ไทเดียซูรอน (TDZ) ไซ
โตไคนินชนิดอะดีนีนมักสังเคราะหที่รากแคมเบียม และเนื้อเยื่อเจริญอื่นๆเปนแหลงที่มีการสังเคราะหไวโตไค
นินเชนกัน ไมมีหลักฐานวาพืชสรางไซโตไคนินชนิดฟนิลยูเรียได ไซโตไคนินเกี่ยวของกับการสงสัญญาณทั้ง
ระยะใกลและระยะไกล และเกี่ยวของกับการขนสงนิวคลีโอไทดในพืชโดยทั่วไป ไซโตไคนินถูกขนสงผานไซเลม
ภาพที่ 3 ฮอร์โมนไซโตไคนินที่ใช้ในการทดลอง ภาพที่ 4 โครงสร้างทางเคมีของไซโตไคนิน
4 ไซโตไคนินตอการแตกตาของพืช
สมมติฐานในการทดลอง
จากหัวขอการทดลองที่ตั้งไววา การทดลองวาปริมาณไซโตไคนินสงผลทําใหเกิดการแตกตาหรือไม
และปริมาณไซโตไคนินเทาใดมีความเพียงพอตอการแตกตาขางโดยที่ไมเกิดอาการผิดปกติตอตนประดู
สามารถตั้งสมมติฐานไดคือ
1. เมื่อมีการใชฮอรโมนไซโตไคนินในการดูแลตนประดู จะทําใหมีการแตกตามากขึ้น
2. การใชไซโตไคนินในปริมานที่มีความเขมขนมาก (high dose) จะทําใหตนประดูแตกตาขางได
จํานวนมากกวา การใชไซโตไคนินในปริมาณที่มีความเขมขนนอย (low dose)
จุดประสงคในการทดลอง
1. เพื่อทดลองการสงผลของฮอรโมนไซโตไคนินในการเพิ่มจํานวนตาขางของตนประดู
2. เพื่อทดสอบวาไซโตไคนินปริมาณใดที่เหมาะสมที่สุดในการเพิ่มจํานวนตาขางของตนประดู
ตัวแปรในการทดลอง
ตัวแปรตน : ฮอรโมนไซโตไคนิน
ตัวแปรตาม : อัตราการแตกตาขางของตนไม
ตัวแปรควบคุม : สถานที่ปลูก , การรดน้ําตนไม , ชนิดของดินที่ใชปลูก , ชนิดและอายุของพืช , ปริมาณการ
ใหฮอรโมนในแตละครั้ง
รายละเอียดอุปกรณที่ใชในการทดลอง
1. ตนไมพรอมกระถางใสตนไม 9 ตน
2. ฮอรโมนไซโตไคนิน 1 ขวด
3. กระบอกฉีดฮอรโมน 3 กระบอก
- กระบอก low dose
- กระบอก high dose
- กระบอกควบคุม (ไมใสฮอรโมน)
4. ดินรวน 3 ถุง
5. ปายชื่อตนไม 9 แผน
6. มารกเกอรสีดําและสีชมพู
ไซโตไคนินตอการแตกตาของพืช 5
ระยะเวลาในการทดลอง
ในเวลาในการศึกษาทั้งสิ้น 4 เดือน
เริ่มการทดลองเมื่อวันที่ 5 มิถุนายน 2560 ถึงวันที่ 31 กรกฎาคม 2560
ขั้นตอนในการเตรียมอุปกรณที่ใชในการทดลอง
ขั้นตอนในการวางแผนดําเนินการทดลอง
ขั้นตอนในการดําเนินการทดลอง
ขั้นตอนในการเก็บผลการทดลอง
ขั้นตอนในการสรุปผลการทดลองและจัดทํารายงาน
พฤษภาคม มิถุนายน กรกฎาคม สิงหาคม
ตารางที่ 1 ตารางระยะเวลาในการดําเนินการ
6 ไซโตไคนินตอการแตกตาของพืช
วิธีการเก็บขอมูลผลการทดลอง
เพื่อความแมนยําในการเก็บขอมูลผลการทดลอง ทางคณะผูจัดทําไดเลือกใชการระบุจุดที่เปนตาขาง
ตนไมดวยการใชมารกเกอรในทุกทุกตาที่ไดทําการนับไปแลวเพื่อปองการการนับซ้ําที่สามารถเกิดขึ้นได โดยจะ
แบงมารกเกอรเปน 2 สี ไดแก สีดํา และสีชมพู มารกเกอรสีดําจะใชในการขีดตําแหนงตาที่พบตั้งแตวันแรกที่
เริ่มทําการทดลอง สวนสีชมพูจะใชขีดตาขางที่พบหลังจากวันที่เริ่มทดลอง และมีการบันทึกผลการทดลองลง
ตารางทุกครั้งที่เก็บผลการทดลอง เพื่อความถูกตองแมนยํา
ภาพที่ 5 การระบุตําแหน่งตาข้างที่พบวัน ภาพที่ 6 การระบุตําแหน่งตาข้างที่เกิดขึ้น
ภาพที่ 7 ตัวอย่างประดู่ที่มีการระบุตา
ตาข้าง
ตาข้าง
ตาข้าง
ภาพที่ 8 มาร์กเกอร์ที่ใช้ในการระบุตา
ไซโตไคนินตอการแตกตาของพืช 7
ตาขางของพืช ในพฤกษศาสตร ตาเปนหนอที่ยังไมไดพัฒนาหรือเปนตัวออนและปกติเกิดขึ้นในซอก
ใบหรือปลายกาน เมื่อเกิดแลวตาอาจอยูไดนานในสภาพอยูเฉยๆหรืออาจเปนการงอกตอทันที หนออาจมีความ
เชี่ยวชาญในการพัฒนาดอกไมหรือหนอสั้น ๆ หรืออาจมีศักยภาพในการพัฒนาหนอไม
สวนที่ทําการศึกษาคือตาพืช โดยตาพืชที่คณะผูทดลองสนใจตองมีลักษณะเปนรอยแตกของเปลือกไม
โดยตองมีบางสวนยื่นออกมาจากบริเวณรอยนั้น เพื่อความมั่นใจวาตําแหนงตาพืชนั้นสามารถเจริญเปนกิ่งใหม
ของตนไมไดและความเปนกลางในการพิจารณาตาขางใหมใหเขาใจตรงกัน ในที่นี้จะไมนับกิ่งเดิมของตนประดู
เปนตาขาง
ภาพที่ 9 ตัวอย่างตาต้นประดู่ที่นํามา
ภาพที่ 9.1 ตาที่
ตัวอย่างตาที่ถูกต้องจะ
มีบางส่วนยื่นออกมา
จากบริเวณตา ในที่นี้
เป็นส่วนของใบอ่อน
ภาพที่ 9.2 ตาที่ไม่9.1
9.2
ตัวอย่างตาที่ไม่ถูกต้อง
ไม่มีบางส่วนยื่นออกมา
จากบริเวณตา เป็ น
เ พีย ง ร อ ย นู น ข อ ง
8 ไซโตไคนินตอการแตกตาของพืช
ขั้นตอนในการทดลอง
1. การซื้ออุปกรณและพืชที่ใชทดลอง
คณะผูจัดทําไดเดินทางไปยัง ตลาดธนบุรี สนามหลวง2 ในวันศุกรที่ 19 พฤษภาคม 2560 เพื่อไปซื้อ
อุปกรณและพืชที่ในการทดลอง อันไดแก ตนประดู 9 ตน กระถางตนไมขนาดกลาง 9 ถาด ที่รองกระถางตนไม
9 ชิ้น ดินรวน 3 กระสอบ กระบอกฉีด 3 กระบอกและฮอรโมนไซโตไคนิน 1 ขวด
2. การผสมฮอรโมนไซโตไคนิน
คณะผูจัดทําไดเตรียมฮอรโมนพืช โดยนายฌานฤทธิ์ จิโรจนวณิชชากร ในวันที่ 5 มิถุนายน 2560 โดย
ใชหลอดฉีดยาในการตวงฮอรโมน สําหรับสารละลายไซโตไคนินทั้งสามความเขมขนจะใชน้ําเปลา 500 ซีซี
เชนเดียวกัน แบบเขมขน 0% ไมตองเติมฮอรโมนเพิ่ม แบบเขมขน 0.3% เติมฮอรโมนเพิ่มลงไป 15 ซีซี และ
เติมฮอรโมน 45 ซีซีสําหรับแบบเขมขน 0.9%
ภาพที่ 10 ขั้นตอนการซื้อต้น ภาพที่ 11 ร้านค้าที่จําหน่ายฮอร์โมนไซโต
ภาพที่ 12 ขั้นตอนการในการเตรียม ภาพที่ 13 ฮอร์โมนที่ผสมเสร็จ
ไซโตไคนินตอการแตกตาของพืช 9
3. ขั้นตอนในการทําการทดลอง
คณะผูจัดทําไดเตรียมทําการทดลอง ดวยการฉีดฮอรโมนใหตนไมทั้ง 9 ตนดวยฮอรโมนแตกตางกัน 3
ตนแรกเปนน้ําเปลา 3 ตนถัดมาเปนสารละลายไซโตไคนินเขมขน 0.3% โดยปริมาตร และ3 ตนสุดทายเปน
สารละลายไซโตไคนินเขมขน 0.9% โดยปริมาตร ดวยกระบอกฉีดตั้นละ 6 ครั้งการกดกระบอกฉีด โดย 3 ครั้ง
แรกพนบริเวณใบและอีก 3 ครั้งพนบริเวณลําตน วันละ 1 ครั้งตอนเชากอนเคารพธงชาติ และมีการรดน้ําอยาง
สม่ําเสมอวันละ 2 ครั้ง (ทําทุกวันยกเวนวันเสาร-อาทิตยและวันที่โรงเรียนหยุดเรียน) เปนเวลา 3 เดือน
4. ขั้นตอนในการบันทึกผลการทดลอง
คณะผูจัดทําไดบันทึกทําการทดลอง ดวยการนับจํานวนตาขางและมีการขีดทับดวยมารกเกอรทุกครั้ง
เพื่อความถูกตองแมนยําในการเก็บผลการทดลอง โดยจะเก็บผลการทดลองทุกทุก 1 สัปดาห
ภาพที่ 14 ขั้นตอนการฉีดพ่น ภาพที่ 15 ขั้นตอนการรด
ภาพที่ 16 ตัวอย่างตารางที่มีการ
10 ไซโตไคนินตอการแตกตาของพืช
ผลการทดลอง
วัน/เดือน/ป
จํานวนตาขางของตนประดู (ตา)
ชุดควบคุม ชุด Low dose ชุด High dose
1 2 3 Av 1 2 3 Av 1 2 3 Av
5 มิ.ย. 2560 3 3 4 3.33 3 2 2 2.33 3 3 3 3
12 มิ.ย. 2560 3 3 4 3.33 3 2 3 2.67 4 4 5 4.33
19 มิ.ย. 2560 3 3 4 3.33 4 2 3 3 4 5 5 4.67
26 มิ.ย. 2560 3 3 5 3.67 5 3 4 4 6 5 6 5.67
3 ก.ค. 2560 4 4 5 4.33 5 3 4 4 7 6 7 6.67
10 ก.ค. 2560 4 4 5 4.33 5 4 4 4.33 7 7 8 7.67
17 ก.ค. 2560 4 4 5 4.33 6 4 5 5 8 9 8 8.67
24 ก.ค. 2560 4 4 6 4.67 6 5 6 5.67 10 10 9 9.67
31 ก.ค. 2560 4 4 6 4.67 6 5 6 5.67 10 10 9 9.67
ตารางที่ 2 ตารางบันทึกผลการทดลอง
ไซโตไคนินเขมขน 0% โดยปริมาตร ไซโตไคนินเขมขน 0.3% โดยปริมาตร ไซโตไคนินเขมขน 0.9% โดยปริมาตร
ไซโตไคนินตอการแตกตาของพืช 11
ตนควบคุม ถายเมื่อวันที่ 31 กรกฎาคม 2560
ตน Low Dose ถายเมื่อวันที่ 31 กรกฎาคม 2560
ภาพที่ 17 ต้นควบคุม 1
ภาพที่ 20 ต้น Low Dose 1 ภาพที่ 21 ต้น Low Dose 2 ภาพที่ 22 ต้น Low Dose 3
ภาพที่ 18 ต้นควบคุม 2 ภาพที่ 19 ต้นควบคุม 3
1
2
3
4 1
2
3
4
1
2
3 4
5
6
1
2
3
4
5
6
1
5
3
2
4
6
1
4
3
5
2
12 ไซโตไคนินตอการแตกตาของพืช
ตน High Dose ถายเมื่อวันที่ 31 กรกฎาคม 2560
ภาพที่ 23 ต้น High Dose ภาพที่ 24 ต้น High Dose ภาพที่ 25 ต้น High Dose 3
1
2
3
5
7
8
4
6
10
9
1
2
3
5
7
8
4
6
9
1
2
3
5
7
8
4
6
9
10
ไซโตไคนินตอการแตกตาของพืช 13
สรุปผลการทดลอง
กลุมตนประดูที่ใชฮอรโมนไซโตไคนินเขมขน 0% โดยปริมาตร มีจํานวนตาเฉลี่ยเพิ่มขึ้น 1.34 ตาหรือ
คิดเปนอัตราการเกิดตาใหมเฉลี่ยอยูที่ประมาณ 0.0268 ตา /1 ตน / 1วัน ในขณะที่กลุมตนประดูที่ใชฮอรโมน
ไซโตไคนินเขมขน 0.3% โดยปริมาตรมีจํานวนตาเฉลี่ยเพิ่มขึ้น 3.34 ตาหรือคิดเปนอัตราการเกิดตาใหมเฉลี่ย
อยูที่ประมาณ 0.0668 ตา /1 ตน / 1วัน และกลุมตนประดูที่ใชฮอรโมนไซโตไคนินเขมขน 0.9% โดยปริมาตร
มีจํานวนตาเฉลี่ยเพิ่มขึ้น 6.67 ตาหรือคิดเปนอัตราการเกิดตาใหมเฉลี่ยอยูที่ ประมาณ 0.1334 ตา /1 ตน / 1
วัน ซึ่งใหความหมายไดวา ฮอรโมนไซโตไคนินสงผลตอการแตกตาขางของพืชอยางมีนัยสําคัญ โดยฮอรโมนที่มี
ความเขมขนมากกวาจะเรงผลการแตกตาขางที่เพิ่มขึ้นมากตามดวย
14 ไซโตไคนินตอการแตกตาของพืช
บรรณานุกรม
J.J. Kieber (2002): Tribute to Folke Skoog: Recent advances in our understanding of
cytokinin biology. Journal of Plant Growth Regulation 21, 1-2.
Campbell, Neil A., Jane B. Reece, Lisa Andrea. Urry, Michael L. Cain, Steven
Alexander. Wasserman, Peter V. Minorsky, and Robert Bradley Jackson. Biology. 8th ed. San
Francisco: Pearson, Benjamin Cummings, 2008. 827-30.
Chen, C. et al. 1985. Localization of Cytokinin Biosynthetic Sites in Pea Plants and
Carrot Roots. Plant Physiology 78:510–513.
Kaori Miyawaki, Miho Matsumoto-Kitano, Tatsuo Kakimoto (2004) Expression of
cytokinin biosynthetic isopentenyltransferase genes in Arabidopsis: tissue specificity and
regulation by auxin, cytokinin, and nitrate The Plant Journal 37 (1), 128–138
Serdyuk, O.P., Smolygina, L.D., Muzafarov, E.N., Adanin, V.M., and Arinbasarov, M.V.
1995. 4-Hydroxyphenethyl alcohol – a new cytokinin – like substance from the phototrophic
purple bacteria Rhodospirillum robrom 1R. FEBS Letter. 365, 10 – 12
Timmusk, S., Nicander, B., Granhall, U., and Tillberg, E. 1999. Cytokonin production by
Paenibacillus polymyxa. Soil Biology and Biochemistry. 31, 1847 - 1852
สถาพร ดียิ่ง. 2542. ฮอรโมนพืช. ฉะเชิงเทรา: มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร
มานี เตื้อสกุล. 2542. สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช: ไซโตไคนิน. สงขลา: มหาวิทยาลัยราชภัฏ
สงขลา
วันทนี สวางอารมณ. 2542. การเจริญและการเติบโตของพืช. พิมพครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัย
ราชภัฏบานสมเด็จเจาพระยา
ไซโตไคนินตอการแตกตาของพืช 15
ภาคผนวก
16 ไซโตไคนินตอการแตกตาของพืช
รูปภาพบางสวนจากการนําเสนอฮอรโมนพืชกลุม 9 หอง 143
ภาพที่ 26
การนําเสนอ
โครงงาน
ฮอร์โมนพืช
กลุ่ม 9ห้อง
ภาพที่ 27
การนําเสนอ
โครงงาน
ฮอร์โมนพืช
กลุ่ม 9ห้อง
ภาพที่ 28
การนําเสนอ
โครงงาน
ฮอร์โมนพืช
กลุ่ม 9ห้อง

More Related Content

What's hot

รายงาน
รายงานรายงาน
รายงานduckbellonly
 
การปลูกพืชไร้ดิน
การปลูกพืชไร้ดินการปลูกพืชไร้ดิน
การปลูกพืชไร้ดินPraphawit Promthep
 
สัปดาห์ที่ 2 : การทดลองหลอดไฟ LED
สัปดาห์ที่ 2 : การทดลองหลอดไฟ LEDสัปดาห์ที่ 2 : การทดลองหลอดไฟ LED
สัปดาห์ที่ 2 : การทดลองหลอดไฟ LEDMahidol University
 
เอกสารประกอบการบรรยาย การฝึกไฮโดรไฮโดรโปนิกส์ โดย อ.เสถียร ณ วันที่ 19-20 ก.พ...
เอกสารประกอบการบรรยาย การฝึกไฮโดรไฮโดรโปนิกส์ โดย อ.เสถียร ณ วันที่ 19-20 ก.พ...เอกสารประกอบการบรรยาย การฝึกไฮโดรไฮโดรโปนิกส์ โดย อ.เสถียร ณ วันที่ 19-20 ก.พ...
เอกสารประกอบการบรรยาย การฝึกไฮโดรไฮโดรโปนิกส์ โดย อ.เสถียร ณ วันที่ 19-20 ก.พ...ibtik
 
เอกสารฝึกอบรมผักไฮโดรโปนิกส์
เอกสารฝึกอบรมผักไฮโดรโปนิกส์เอกสารฝึกอบรมผักไฮโดรโปนิกส์
เอกสารฝึกอบรมผักไฮโดรโปนิกส์ibtik
 
มะม่วงเป็นพืชที่มีความสำคัญของประเทศไทยซึ่งมีผู้ที่ปลูกและรับประทานเป็นอันดับ...
มะม่วงเป็นพืชที่มีความสำคัญของประเทศไทยซึ่งมีผู้ที่ปลูกและรับประทานเป็นอันดับ...มะม่วงเป็นพืชที่มีความสำคัญของประเทศไทยซึ่งมีผู้ที่ปลูกและรับประทานเป็นอันดับ...
มะม่วงเป็นพืชที่มีความสำคัญของประเทศไทยซึ่งมีผู้ที่ปลูกและรับประทานเป็นอันดับ...Hero Siamza
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงานHero Siamza
 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 10 เรื่องการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 10 เรื่องการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 10 เรื่องการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 10 เรื่องการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศWann Rattiya
 

What's hot (20)

M6 143 60_5
M6 143 60_5M6 143 60_5
M6 143 60_5
 
รายงาน
รายงานรายงาน
รายงาน
 
โครงงานเปรียบเทียบการใช้ปุ๋ยน้ำ
โครงงานเปรียบเทียบการใช้ปุ๋ยน้ำโครงงานเปรียบเทียบการใช้ปุ๋ยน้ำ
โครงงานเปรียบเทียบการใช้ปุ๋ยน้ำ
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
Pptgst uprojectsmall62
Pptgst uprojectsmall62Pptgst uprojectsmall62
Pptgst uprojectsmall62
 
M6 144 60_2
M6 144 60_2M6 144 60_2
M6 144 60_2
 
การปลูกพืชไร้ดิน
การปลูกพืชไร้ดินการปลูกพืชไร้ดิน
การปลูกพืชไร้ดิน
 
สัปดาห์ที่ 2 : การทดลองหลอดไฟ LED
สัปดาห์ที่ 2 : การทดลองหลอดไฟ LEDสัปดาห์ที่ 2 : การทดลองหลอดไฟ LED
สัปดาห์ที่ 2 : การทดลองหลอดไฟ LED
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ขยะหอมไล่แมลง
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ขยะหอมไล่แมลงโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ขยะหอมไล่แมลง
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ขยะหอมไล่แมลง
 
เอกสารประกอบการบรรยาย การฝึกไฮโดรไฮโดรโปนิกส์ โดย อ.เสถียร ณ วันที่ 19-20 ก.พ...
เอกสารประกอบการบรรยาย การฝึกไฮโดรไฮโดรโปนิกส์ โดย อ.เสถียร ณ วันที่ 19-20 ก.พ...เอกสารประกอบการบรรยาย การฝึกไฮโดรไฮโดรโปนิกส์ โดย อ.เสถียร ณ วันที่ 19-20 ก.พ...
เอกสารประกอบการบรรยาย การฝึกไฮโดรไฮโดรโปนิกส์ โดย อ.เสถียร ณ วันที่ 19-20 ก.พ...
 
M6 125 60_2
M6 125 60_2M6 125 60_2
M6 125 60_2
 
เอกสารฝึกอบรมผักไฮโดรโปนิกส์
เอกสารฝึกอบรมผักไฮโดรโปนิกส์เอกสารฝึกอบรมผักไฮโดรโปนิกส์
เอกสารฝึกอบรมผักไฮโดรโปนิกส์
 
M6 78 60_7
M6 78 60_7M6 78 60_7
M6 78 60_7
 
มะม่วงเป็นพืชที่มีความสำคัญของประเทศไทยซึ่งมีผู้ที่ปลูกและรับประทานเป็นอันดับ...
มะม่วงเป็นพืชที่มีความสำคัญของประเทศไทยซึ่งมีผู้ที่ปลูกและรับประทานเป็นอันดับ...มะม่วงเป็นพืชที่มีความสำคัญของประเทศไทยซึ่งมีผู้ที่ปลูกและรับประทานเป็นอันดับ...
มะม่วงเป็นพืชที่มีความสำคัญของประเทศไทยซึ่งมีผู้ที่ปลูกและรับประทานเป็นอันดับ...
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 10 เรื่องการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 10 เรื่องการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 10 เรื่องการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 10 เรื่องการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ
 
Pptgst uprojecttannin62
Pptgst uprojecttannin62Pptgst uprojecttannin62
Pptgst uprojecttannin62
 
M6 144 60_9
M6 144 60_9M6 144 60_9
M6 144 60_9
 
Plant factory II
Plant factory IIPlant factory II
Plant factory II
 
M6 144 60_8
M6 144 60_8M6 144 60_8
M6 144 60_8
 

Similar to M6 143 60_9

พยาธิวิทยาทททททททททททททททททททททททททททททททททททททททททท
พยาธิวิทยาททททททททททททททททททททททททททททททททททททททททททพยาธิวิทยาทททททททททททททททททททททททททททททททททททททททททท
พยาธิวิทยาททททททททททททททททททททททททททททททททททททททททททpakpoomounhalekjit
 
บท4ตอบสนองพืช
บท4ตอบสนองพืชบท4ตอบสนองพืช
บท4ตอบสนองพืชWichai Likitponrak
 
แผ่นพับ_kirakit_125_No16
แผ่นพับ_kirakit_125_No16แผ่นพับ_kirakit_125_No16
แผ่นพับ_kirakit_125_No16KirakitPintavirooj
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3korakate
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3korakate
 
การเจริญของ embryo ไก่
การเจริญของ embryo ไก่การเจริญของ embryo ไก่
การเจริญของ embryo ไก่NawatHongthongsakul
 
หน่อไม้ฝรั่ง
หน่อไม้ฝรั่งหน่อไม้ฝรั่ง
หน่อไม้ฝรั่งTanutkit Kinruean
 
หน่อไม้ฝรั่ง
หน่อไม้ฝรั่งหน่อไม้ฝรั่ง
หน่อไม้ฝรั่งTanutkit Kinruean
 

Similar to M6 143 60_9 (20)

M6 143 60_8
M6 143 60_8M6 143 60_8
M6 143 60_8
 
Pp tbio5lessonplanthormone
Pp tbio5lessonplanthormonePp tbio5lessonplanthormone
Pp tbio5lessonplanthormone
 
ขาดโปรตีน
ขาดโปรตีนขาดโปรตีน
ขาดโปรตีน
 
พยาธิวิทยาทททททททททททททททททททททททททททททททททททททททททท
พยาธิวิทยาททททททททททททททททททททททททททททททททททททททททททพยาธิวิทยาทททททททททททททททททททททททททททททททททททททททททท
พยาธิวิทยาทททททททททททททททททททททททททททททททททททททททททท
 
บท4ตอบสนองพืช
บท4ตอบสนองพืชบท4ตอบสนองพืช
บท4ตอบสนองพืช
 
AT1
AT1AT1
AT1
 
Comnmmn
ComnmmnComnmmn
Comnmmn
 
652 pre3
652 pre3652 pre3
652 pre3
 
แผ่นพับ_kirakit_125_No16
แผ่นพับ_kirakit_125_No16แผ่นพับ_kirakit_125_No16
แผ่นพับ_kirakit_125_No16
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3
 
Pat2/53
Pat2/53Pat2/53
Pat2/53
 
การเจริญของ embryo ไก่
การเจริญของ embryo ไก่การเจริญของ embryo ไก่
การเจริญของ embryo ไก่
 
Nut1
Nut1Nut1
Nut1
 
652 pre7
652 pre7652 pre7
652 pre7
 
หน่อไม้ฝรั่ง
หน่อไม้ฝรั่งหน่อไม้ฝรั่ง
หน่อไม้ฝรั่ง
 
หน่อไม้ฝรั่ง
หน่อไม้ฝรั่งหน่อไม้ฝรั่ง
หน่อไม้ฝรั่ง
 
Pat2
Pat2Pat2
Pat2
 
Pat2 3-2553
Pat2 3-2553Pat2 3-2553
Pat2 3-2553
 
Pat2 (1)
Pat2 (1)Pat2 (1)
Pat2 (1)
 

More from Wichai Likitponrak

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfWichai Likitponrak
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64Wichai Likitponrak
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564Wichai Likitponrak
 

More from Wichai Likitponrak (20)

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
 
Biotest kku60
Biotest kku60Biotest kku60
Biotest kku60
 
Key biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaituKey biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaitu
 
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichaiBi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
 
BiOsaman2564
BiOsaman2564BiOsaman2564
BiOsaman2564
 
Biosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichaiBiosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichai
 
Ijs obio62 testing
Ijs obio62 testingIjs obio62 testing
Ijs obio62 testing
 
Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62
 
Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61
 
Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61
 
Pptgst uprojectcoconut61
Pptgst uprojectcoconut61Pptgst uprojectcoconut61
Pptgst uprojectcoconut61
 

M6 143 60_9

  • 1. รายงาน เรื่อง ไซโตไคนินตอการแตกตาของพืช เสนอ คุณครูวิชัย ลิขิตพรรักษ จัดทําโดย นายฌานฤทธิ์ จิโรจนวณิชชากร เลขที่ 27 นายธราธร บุญรัตนเสถียร เลขที่ 30 นายภูริณัฐ เชียรเจริญธนกิจ เลขที่ 33 นายวิวิธชัย บุญลอย เลขที่ 36 หอง 143 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 รายงานเลมนี้เปนสวนหนึ่งของรายวิชา ว30245 ชีววิทยา 5 ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2560
  • 2. คํานํา รายงานเลมนี้มีจุดประสงคเพื่อนําเสนอความรูและโครงงานแกคุณครูและผูที่สนใจ เนื่องจากฮอรโมน ไซโตไคนินมีผลตอจํานวนการแตกตาขางอยางไร เปนประโยชนตอวิทยาการเกี่ยวกับพืช และการเกษตรใน อนาคต เราจึงควรทราบผลการทดลอง และนําผลที่ไดไปเปนขอมูลเพื่อเผยแพรเปนวิทยาทานแกผูที่สนใจ อัน เปนพัฒนาการที่ดีทางการเกษตรตอไปในอนาคตนั่นเอง ทั้งนี้ในการจัดทํารายงานเลมนี้ไดรวบรวมขอมูลและศึกษาคนควาจากผลการทดลองเปนหลัก อีกทั้ง คําแนะนําจากคุณครู คณะผูจัดทําหวังเปนอยางยิ่งวารายงานเลมนี้จะกอใหเกิดประโยชนตอผูอานสูงสุด เพื่อ สัมฤทธิ์ผลตามตองการ และหากมีขอผิดพลาดใดๆ ขออภัยมา ณ ที่นี้ ผูจัดทํานอมรับทุกขอเสนอแนะ อันจะ นําไปปรับปรุงในรายงานครั้งถัดๆไป คณะผูจัดทํา ข
  • 3. สารบัญ หนาที่ คํานํา ข ปญหา ที่มาและความสําคัญ 1 ขอมูลของพืชและรายละเอียดฮอรโมนที่ใชในการทดลอง 2 สมมติฐานในการทดลอง 4 จุดประสงคในการทดลอง ตัวแปรในการทดลอง รายละเอียดอุปกรณที่ใชในการทดลอง ระยะเวลาในการทดลอง 5 วิธีการเก็บขอมูลผลการทดลอง 6 ขั้นตอนในการทดลอง 8 ผลการทดลอง 10 สรุปผลการทดลอง และขอเสนอแนะ 13 บรรณานุกรม 14 ภาคผนวก 15
  • 4. สารบัญรูปภาพและตาราง หนาที่ รูปภาพ ภาพที่ 1 ตนประดูที่นํามาใชในการทดลอง 2 ภาพที่ 2 ตนประดูเมื่อโตเต็มวัย ภาพที่ 3 ฮอรโมนไซโตไคนินที่ใชในการทดลอง 3 ภาพที่ 4 โครงสรางทางเคมีของไซโตไคนิน ภาพที่ 5 การระบุตาขางที่พบวันแรก 6 ภาพที่ 6 การระบุตาขางที่เกิดขึ้นใหม ภาพที่ 7 ตัวอยางประดูที่มีการการระบุตาขาง ภาพที่ 8 มารกเกอรที่ใชในการระบุตาขาง ภาพที่ 9 ตัวอยางตาตนประดูที่นํามาศึกษา 7 ภาพที่ 9.1 ตาที่ถูกตอง ภาพที่ 9.2 ตาที่ไมถูกตอง ภาพที่ 10 ขั้นตอนในการซื้อตนประดู 8 ภาพที่ 11 รานคาที่จําหนายฮอรโมนไซโตไคนิน ภาพที่ 12 ขั้นตอนในการเตรียมสาร ภาพที่ 13 ฮอรโมนที่ผสมเสร็จแลว ภาพที่ 14 ขั้นตอนการฉีดพนฮอรโมน 9 ภาพที่ 15 ขั้นตอนการรดน้ําตนไม ภาพที่ 16 ตัวอยางตารางที่มีการบันทึก ภาพที่ 17 ตนควบคุม 1 10 ภาพที่ 18 ตนควบคุม 2 ภาพที่ 19 ตนควบคุม 3 ภาพที่ 20 ตน Low Dose 1 ภาพที่ 21 ตน Low Dose 2 ภาพที่ 22 ตน Low Dose 3
  • 5. สารบัญรูปภาพและตาราง หนาที่ รูปภาพ ภาพที่ 23 ตน High Dose 1 11 ภาพที่ 24 ตน High Dose 2 ภาพที่ 25 ตน High Dose 3 ภาพที่ 26 การนําเสนอโครงงานฮอร์โมนพืชกลุ่ม 9 ห้อง 143 16 ภาพที่ 27 การนําเสนอโครงงานฮอร์โมนพืชกลุ่ม 9 ห้อง 143 ภาพที่ 28 การนําเสนอโครงงานฮอร์โมนพืชกลุ่ม 9 ห้อง 143 ตาราง ตารางที่ 1 ตารางระยะเวลาในการดําเนินการทดลอง 5 ตารางที่ 2 ตารางบันทึกผลการทดลอง 10
  • 6. ไซโตไคนินตอการแตกตาของพืช 1 ปญหา ที่มาและความสําคัญ แมในปจจุบันประเทศไทยจะมีความเจริญกาวหนาทางวิทยาการและการแพทยมากแลว แตภูมิปญญา ชาวบานในการใชพืชสมุนไพรก็ยังเปนสิ่งที่คูกับชาวบานและยังใชประโยชนไดหลายดาน ตนประดูก็เปนหนึ่งใน พืชที่มีการใชอยางแพรหลายและยังมีสรรพคุณมากมายเชนใชเปนยาแกโรคตางๆทั้งทองเสีย โรคบิด อาการ ปากเปอยรวมถึงการใชเปนยาบํารุงรางกาย แตการปลูกตนไมหนึ่งตนในปจจุบันที่มีพื้นที่จํากัดอาจไมคุมคาและ เปลืองพื้นที่เนื่องจากถาปลอยใหตนไมโตตามธรรมชาติอาจมีจํานวนกิ่งนอย ซึ่งสงผลทําใหใบของตนประดูที่มี สรรพคุณมากมายนั้นไดผลผลิตออกมาในปริมาณที่ไมเพียงพอตอความตองการ คณะผูจัดทําจึงไดทําการทดลองในการศึกษาเพื่อหาวิธีการเพิ่มการแตกตาของตนประดูโดยใชฮอรโมน ในการเรงการแตกตา ในปริมาณที่ตางกันเพื่อหาปริมาณที่เหมาะสมที่สุด ในที่นี้ทางคณะผูจัดทําไดเลือก ฮอรโมนไซโตไคนินมาใชในการทดลอง โดยตั้งปญหาโครงงานนี้วา ฮอรโมนไซโตไคนิน มีผลตอจํานวนการแตก ตาขางของตนประดูหรือไม
  • 7. 2 ไซโตไคนินตอการแตกตาของพืช ขอมูลของพืชและรายละเอียดฮอรโมนที่ใชในการทดลอง 1. ตนประดู ชื่อวิทยาศาสตร Pterocarpus macrocarpus สกุล Pterocarpus วงศ Leguminosae ประดูเปนไมยืนตน ขนาดกลางถึงขนาดใหญ สูงถึง 25 ม. ผลัดใบกอนออกดอก เรือนยอดเปนรูป คลายทรงกระบอก ยอดออนมีขนปกคลุมเล็กนอย เปลือกนอกสีน้ําตาลเทา หนา แตกหยาบๆ เปนรองลึก ใบ เรียงสลับ ใบประกอบแบบขนนกปลายคี่ ใบยอยเรียงตัวแบบสลับจํานวน 7-13 ใบ ใบยอยรูปไข รูปรีหรือรูป ขอบขนาน กวาง 3-6 ซม. ยาว 4-13 ซม. โคนใบมนหรือคอนขางแหลม ปลายใบแหลม ขอบใบเรียบ โคนกาน ใบมีหูใบ 2 อันเปนเสนยาว ผิวใบมีขนสั้นๆ ปกคลุมดานทองใบมากกวาดานหลังใบ กานใบออนมีขนปกคลุม เล็กนอย ดอกเปนชอแบบชอกระจะ ออกที่ซอกใบหรือปลายกิ่ง โคนกานมีใบประดับ 1-2 อัน รูปรี กลีบเลี้ยง 5 กลีบ ติดกันเปนถวยสีเขียว ปลายแยกเปน 2 แฉกอันบนจาก 2 กลีบติดกัน อันลางจาก 3 กลีบติดกัน กลีบดอก 5 กลีบ สีเหลืองแกมแสด ลักษณะกลีบเปนรูปผีเสื้อ มีผลแหงแบบ Samaroid รูปกลมหรือรีแบน ขอบมีปกบาง คลายใบโดยรอบ แผนปกบิด เปนคลื่น ผิวมีขนละเอียด เสนผานศูนยกลางผล 4-8 ซม. มี 1 เมล็ด 2. ฮอรโมนไซโตไคนิน ภาพที่ 1 ต้นประดู่ที่นํามาใช้ในการ ภาพที่ 2 ต้นประดู่เมื่อโตเต็ม
  • 8. ไซโตไคนินตอการแตกตาของพืช 3 ไซโตไคนินเปนกลุมของสารควบคุมการเจริญเติบโตที่มีบทบาทสําคัญในการควบคุม การแบงเซลล การขยายตัวและการเปลี่ยนแปลงของเซลลพืช มีผลตอการขมของตายอด การเจริญของตาขาง และการชรา ของใบการออกฤทธิ์ของสารกลุมนี้คนพบในน้ํามะพราวเมื่อ พ.ศ. 2483 โดย Folke Skoog นักวิทยาศาสตรที่ University of Wisconsin–Madison ไซโตไคนินมีสองประเภท ไดแก ไซโตไคนินที่เปนอนุพันธของอะดีนีนโดยมีโซขางมาเชื่อมตอกับเบสที่ ตําแหนง N6 ไซโตไคนินแบงไดเปนสองชนิดตามชนิดของโซขางคือ ไอโซพรีนอยด ไซโตไคนิน (Isoprenoid cytokinin) มีโซขางเปนสารกลุมไอโซพรีน กับ อะโรมาติก ไซโตไคนิน เชน ไคนีติน ซีเอติน และ6- benzylaminopurine อีกกลุมหนึ่งคือไซโตไคนินที่เปนอนุพันธของไดฟนิลยูเรีย และ ไทเดียซูรอน (TDZ) ไซ โตไคนินชนิดอะดีนีนมักสังเคราะหที่รากแคมเบียม และเนื้อเยื่อเจริญอื่นๆเปนแหลงที่มีการสังเคราะหไวโตไค นินเชนกัน ไมมีหลักฐานวาพืชสรางไซโตไคนินชนิดฟนิลยูเรียได ไซโตไคนินเกี่ยวของกับการสงสัญญาณทั้ง ระยะใกลและระยะไกล และเกี่ยวของกับการขนสงนิวคลีโอไทดในพืชโดยทั่วไป ไซโตไคนินถูกขนสงผานไซเลม ภาพที่ 3 ฮอร์โมนไซโตไคนินที่ใช้ในการทดลอง ภาพที่ 4 โครงสร้างทางเคมีของไซโตไคนิน
  • 9. 4 ไซโตไคนินตอการแตกตาของพืช สมมติฐานในการทดลอง จากหัวขอการทดลองที่ตั้งไววา การทดลองวาปริมาณไซโตไคนินสงผลทําใหเกิดการแตกตาหรือไม และปริมาณไซโตไคนินเทาใดมีความเพียงพอตอการแตกตาขางโดยที่ไมเกิดอาการผิดปกติตอตนประดู สามารถตั้งสมมติฐานไดคือ 1. เมื่อมีการใชฮอรโมนไซโตไคนินในการดูแลตนประดู จะทําใหมีการแตกตามากขึ้น 2. การใชไซโตไคนินในปริมานที่มีความเขมขนมาก (high dose) จะทําใหตนประดูแตกตาขางได จํานวนมากกวา การใชไซโตไคนินในปริมาณที่มีความเขมขนนอย (low dose) จุดประสงคในการทดลอง 1. เพื่อทดลองการสงผลของฮอรโมนไซโตไคนินในการเพิ่มจํานวนตาขางของตนประดู 2. เพื่อทดสอบวาไซโตไคนินปริมาณใดที่เหมาะสมที่สุดในการเพิ่มจํานวนตาขางของตนประดู ตัวแปรในการทดลอง ตัวแปรตน : ฮอรโมนไซโตไคนิน ตัวแปรตาม : อัตราการแตกตาขางของตนไม ตัวแปรควบคุม : สถานที่ปลูก , การรดน้ําตนไม , ชนิดของดินที่ใชปลูก , ชนิดและอายุของพืช , ปริมาณการ ใหฮอรโมนในแตละครั้ง รายละเอียดอุปกรณที่ใชในการทดลอง 1. ตนไมพรอมกระถางใสตนไม 9 ตน 2. ฮอรโมนไซโตไคนิน 1 ขวด 3. กระบอกฉีดฮอรโมน 3 กระบอก - กระบอก low dose - กระบอก high dose - กระบอกควบคุม (ไมใสฮอรโมน) 4. ดินรวน 3 ถุง 5. ปายชื่อตนไม 9 แผน 6. มารกเกอรสีดําและสีชมพู
  • 10. ไซโตไคนินตอการแตกตาของพืช 5 ระยะเวลาในการทดลอง ในเวลาในการศึกษาทั้งสิ้น 4 เดือน เริ่มการทดลองเมื่อวันที่ 5 มิถุนายน 2560 ถึงวันที่ 31 กรกฎาคม 2560 ขั้นตอนในการเตรียมอุปกรณที่ใชในการทดลอง ขั้นตอนในการวางแผนดําเนินการทดลอง ขั้นตอนในการดําเนินการทดลอง ขั้นตอนในการเก็บผลการทดลอง ขั้นตอนในการสรุปผลการทดลองและจัดทํารายงาน พฤษภาคม มิถุนายน กรกฎาคม สิงหาคม ตารางที่ 1 ตารางระยะเวลาในการดําเนินการ
  • 11. 6 ไซโตไคนินตอการแตกตาของพืช วิธีการเก็บขอมูลผลการทดลอง เพื่อความแมนยําในการเก็บขอมูลผลการทดลอง ทางคณะผูจัดทําไดเลือกใชการระบุจุดที่เปนตาขาง ตนไมดวยการใชมารกเกอรในทุกทุกตาที่ไดทําการนับไปแลวเพื่อปองการการนับซ้ําที่สามารถเกิดขึ้นได โดยจะ แบงมารกเกอรเปน 2 สี ไดแก สีดํา และสีชมพู มารกเกอรสีดําจะใชในการขีดตําแหนงตาที่พบตั้งแตวันแรกที่ เริ่มทําการทดลอง สวนสีชมพูจะใชขีดตาขางที่พบหลังจากวันที่เริ่มทดลอง และมีการบันทึกผลการทดลองลง ตารางทุกครั้งที่เก็บผลการทดลอง เพื่อความถูกตองแมนยํา ภาพที่ 5 การระบุตําแหน่งตาข้างที่พบวัน ภาพที่ 6 การระบุตําแหน่งตาข้างที่เกิดขึ้น ภาพที่ 7 ตัวอย่างประดู่ที่มีการระบุตา ตาข้าง ตาข้าง ตาข้าง ภาพที่ 8 มาร์กเกอร์ที่ใช้ในการระบุตา
  • 12. ไซโตไคนินตอการแตกตาของพืช 7 ตาขางของพืช ในพฤกษศาสตร ตาเปนหนอที่ยังไมไดพัฒนาหรือเปนตัวออนและปกติเกิดขึ้นในซอก ใบหรือปลายกาน เมื่อเกิดแลวตาอาจอยูไดนานในสภาพอยูเฉยๆหรืออาจเปนการงอกตอทันที หนออาจมีความ เชี่ยวชาญในการพัฒนาดอกไมหรือหนอสั้น ๆ หรืออาจมีศักยภาพในการพัฒนาหนอไม สวนที่ทําการศึกษาคือตาพืช โดยตาพืชที่คณะผูทดลองสนใจตองมีลักษณะเปนรอยแตกของเปลือกไม โดยตองมีบางสวนยื่นออกมาจากบริเวณรอยนั้น เพื่อความมั่นใจวาตําแหนงตาพืชนั้นสามารถเจริญเปนกิ่งใหม ของตนไมไดและความเปนกลางในการพิจารณาตาขางใหมใหเขาใจตรงกัน ในที่นี้จะไมนับกิ่งเดิมของตนประดู เปนตาขาง ภาพที่ 9 ตัวอย่างตาต้นประดู่ที่นํามา ภาพที่ 9.1 ตาที่ ตัวอย่างตาที่ถูกต้องจะ มีบางส่วนยื่นออกมา จากบริเวณตา ในที่นี้ เป็นส่วนของใบอ่อน ภาพที่ 9.2 ตาที่ไม่9.1 9.2 ตัวอย่างตาที่ไม่ถูกต้อง ไม่มีบางส่วนยื่นออกมา จากบริเวณตา เป็ น เ พีย ง ร อ ย นู น ข อ ง
  • 13. 8 ไซโตไคนินตอการแตกตาของพืช ขั้นตอนในการทดลอง 1. การซื้ออุปกรณและพืชที่ใชทดลอง คณะผูจัดทําไดเดินทางไปยัง ตลาดธนบุรี สนามหลวง2 ในวันศุกรที่ 19 พฤษภาคม 2560 เพื่อไปซื้อ อุปกรณและพืชที่ในการทดลอง อันไดแก ตนประดู 9 ตน กระถางตนไมขนาดกลาง 9 ถาด ที่รองกระถางตนไม 9 ชิ้น ดินรวน 3 กระสอบ กระบอกฉีด 3 กระบอกและฮอรโมนไซโตไคนิน 1 ขวด 2. การผสมฮอรโมนไซโตไคนิน คณะผูจัดทําไดเตรียมฮอรโมนพืช โดยนายฌานฤทธิ์ จิโรจนวณิชชากร ในวันที่ 5 มิถุนายน 2560 โดย ใชหลอดฉีดยาในการตวงฮอรโมน สําหรับสารละลายไซโตไคนินทั้งสามความเขมขนจะใชน้ําเปลา 500 ซีซี เชนเดียวกัน แบบเขมขน 0% ไมตองเติมฮอรโมนเพิ่ม แบบเขมขน 0.3% เติมฮอรโมนเพิ่มลงไป 15 ซีซี และ เติมฮอรโมน 45 ซีซีสําหรับแบบเขมขน 0.9% ภาพที่ 10 ขั้นตอนการซื้อต้น ภาพที่ 11 ร้านค้าที่จําหน่ายฮอร์โมนไซโต ภาพที่ 12 ขั้นตอนการในการเตรียม ภาพที่ 13 ฮอร์โมนที่ผสมเสร็จ
  • 14. ไซโตไคนินตอการแตกตาของพืช 9 3. ขั้นตอนในการทําการทดลอง คณะผูจัดทําไดเตรียมทําการทดลอง ดวยการฉีดฮอรโมนใหตนไมทั้ง 9 ตนดวยฮอรโมนแตกตางกัน 3 ตนแรกเปนน้ําเปลา 3 ตนถัดมาเปนสารละลายไซโตไคนินเขมขน 0.3% โดยปริมาตร และ3 ตนสุดทายเปน สารละลายไซโตไคนินเขมขน 0.9% โดยปริมาตร ดวยกระบอกฉีดตั้นละ 6 ครั้งการกดกระบอกฉีด โดย 3 ครั้ง แรกพนบริเวณใบและอีก 3 ครั้งพนบริเวณลําตน วันละ 1 ครั้งตอนเชากอนเคารพธงชาติ และมีการรดน้ําอยาง สม่ําเสมอวันละ 2 ครั้ง (ทําทุกวันยกเวนวันเสาร-อาทิตยและวันที่โรงเรียนหยุดเรียน) เปนเวลา 3 เดือน 4. ขั้นตอนในการบันทึกผลการทดลอง คณะผูจัดทําไดบันทึกทําการทดลอง ดวยการนับจํานวนตาขางและมีการขีดทับดวยมารกเกอรทุกครั้ง เพื่อความถูกตองแมนยําในการเก็บผลการทดลอง โดยจะเก็บผลการทดลองทุกทุก 1 สัปดาห ภาพที่ 14 ขั้นตอนการฉีดพ่น ภาพที่ 15 ขั้นตอนการรด ภาพที่ 16 ตัวอย่างตารางที่มีการ
  • 15. 10 ไซโตไคนินตอการแตกตาของพืช ผลการทดลอง วัน/เดือน/ป จํานวนตาขางของตนประดู (ตา) ชุดควบคุม ชุด Low dose ชุด High dose 1 2 3 Av 1 2 3 Av 1 2 3 Av 5 มิ.ย. 2560 3 3 4 3.33 3 2 2 2.33 3 3 3 3 12 มิ.ย. 2560 3 3 4 3.33 3 2 3 2.67 4 4 5 4.33 19 มิ.ย. 2560 3 3 4 3.33 4 2 3 3 4 5 5 4.67 26 มิ.ย. 2560 3 3 5 3.67 5 3 4 4 6 5 6 5.67 3 ก.ค. 2560 4 4 5 4.33 5 3 4 4 7 6 7 6.67 10 ก.ค. 2560 4 4 5 4.33 5 4 4 4.33 7 7 8 7.67 17 ก.ค. 2560 4 4 5 4.33 6 4 5 5 8 9 8 8.67 24 ก.ค. 2560 4 4 6 4.67 6 5 6 5.67 10 10 9 9.67 31 ก.ค. 2560 4 4 6 4.67 6 5 6 5.67 10 10 9 9.67 ตารางที่ 2 ตารางบันทึกผลการทดลอง ไซโตไคนินเขมขน 0% โดยปริมาตร ไซโตไคนินเขมขน 0.3% โดยปริมาตร ไซโตไคนินเขมขน 0.9% โดยปริมาตร
  • 16. ไซโตไคนินตอการแตกตาของพืช 11 ตนควบคุม ถายเมื่อวันที่ 31 กรกฎาคม 2560 ตน Low Dose ถายเมื่อวันที่ 31 กรกฎาคม 2560 ภาพที่ 17 ต้นควบคุม 1 ภาพที่ 20 ต้น Low Dose 1 ภาพที่ 21 ต้น Low Dose 2 ภาพที่ 22 ต้น Low Dose 3 ภาพที่ 18 ต้นควบคุม 2 ภาพที่ 19 ต้นควบคุม 3 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 5 6 1 2 3 4 5 6 1 5 3 2 4 6 1 4 3 5 2
  • 17. 12 ไซโตไคนินตอการแตกตาของพืช ตน High Dose ถายเมื่อวันที่ 31 กรกฎาคม 2560 ภาพที่ 23 ต้น High Dose ภาพที่ 24 ต้น High Dose ภาพที่ 25 ต้น High Dose 3 1 2 3 5 7 8 4 6 10 9 1 2 3 5 7 8 4 6 9 1 2 3 5 7 8 4 6 9 10
  • 18. ไซโตไคนินตอการแตกตาของพืช 13 สรุปผลการทดลอง กลุมตนประดูที่ใชฮอรโมนไซโตไคนินเขมขน 0% โดยปริมาตร มีจํานวนตาเฉลี่ยเพิ่มขึ้น 1.34 ตาหรือ คิดเปนอัตราการเกิดตาใหมเฉลี่ยอยูที่ประมาณ 0.0268 ตา /1 ตน / 1วัน ในขณะที่กลุมตนประดูที่ใชฮอรโมน ไซโตไคนินเขมขน 0.3% โดยปริมาตรมีจํานวนตาเฉลี่ยเพิ่มขึ้น 3.34 ตาหรือคิดเปนอัตราการเกิดตาใหมเฉลี่ย อยูที่ประมาณ 0.0668 ตา /1 ตน / 1วัน และกลุมตนประดูที่ใชฮอรโมนไซโตไคนินเขมขน 0.9% โดยปริมาตร มีจํานวนตาเฉลี่ยเพิ่มขึ้น 6.67 ตาหรือคิดเปนอัตราการเกิดตาใหมเฉลี่ยอยูที่ ประมาณ 0.1334 ตา /1 ตน / 1 วัน ซึ่งใหความหมายไดวา ฮอรโมนไซโตไคนินสงผลตอการแตกตาขางของพืชอยางมีนัยสําคัญ โดยฮอรโมนที่มี ความเขมขนมากกวาจะเรงผลการแตกตาขางที่เพิ่มขึ้นมากตามดวย
  • 19. 14 ไซโตไคนินตอการแตกตาของพืช บรรณานุกรม J.J. Kieber (2002): Tribute to Folke Skoog: Recent advances in our understanding of cytokinin biology. Journal of Plant Growth Regulation 21, 1-2. Campbell, Neil A., Jane B. Reece, Lisa Andrea. Urry, Michael L. Cain, Steven Alexander. Wasserman, Peter V. Minorsky, and Robert Bradley Jackson. Biology. 8th ed. San Francisco: Pearson, Benjamin Cummings, 2008. 827-30. Chen, C. et al. 1985. Localization of Cytokinin Biosynthetic Sites in Pea Plants and Carrot Roots. Plant Physiology 78:510–513. Kaori Miyawaki, Miho Matsumoto-Kitano, Tatsuo Kakimoto (2004) Expression of cytokinin biosynthetic isopentenyltransferase genes in Arabidopsis: tissue specificity and regulation by auxin, cytokinin, and nitrate The Plant Journal 37 (1), 128–138 Serdyuk, O.P., Smolygina, L.D., Muzafarov, E.N., Adanin, V.M., and Arinbasarov, M.V. 1995. 4-Hydroxyphenethyl alcohol – a new cytokinin – like substance from the phototrophic purple bacteria Rhodospirillum robrom 1R. FEBS Letter. 365, 10 – 12 Timmusk, S., Nicander, B., Granhall, U., and Tillberg, E. 1999. Cytokonin production by Paenibacillus polymyxa. Soil Biology and Biochemistry. 31, 1847 - 1852 สถาพร ดียิ่ง. 2542. ฮอรโมนพืช. ฉะเชิงเทรา: มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร มานี เตื้อสกุล. 2542. สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช: ไซโตไคนิน. สงขลา: มหาวิทยาลัยราชภัฏ สงขลา วันทนี สวางอารมณ. 2542. การเจริญและการเติบโตของพืช. พิมพครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัย ราชภัฏบานสมเด็จเจาพระยา
  • 21. 16 ไซโตไคนินตอการแตกตาของพืช รูปภาพบางสวนจากการนําเสนอฮอรโมนพืชกลุม 9 หอง 143 ภาพที่ 26 การนําเสนอ โครงงาน ฮอร์โมนพืช กลุ่ม 9ห้อง ภาพที่ 27 การนําเสนอ โครงงาน ฮอร์โมนพืช กลุ่ม 9ห้อง ภาพที่ 28 การนําเสนอ โครงงาน ฮอร์โมนพืช กลุ่ม 9ห้อง