SlideShare a Scribd company logo
1 of 7
ใบความรู้ เรื่อง ระบบจานวนเต็ม
1. จำนวนเต็มบวก หมำยถึง จำนวนนับ ตั้งแต่1 และเพิ่มทีละหนึ่ง เป็นต้นไปไม่สิ้นสุด ได้แก่1 , 2 , 3 , 4,...
2. จำนวนเต็มศูนย์ คือ
จำนวนที่อยู่ห่ำงจำก 1เป็นระยะทำง 1 หน่วยและมีค่ำน้อยกว่ำ 1 ถ้ำพิจำรณำเส้นจำนวนจะอยู่ตรงกลำงระหว่
ำง 0 กับ -1
การบวกจานวนเต็ม
การบวกจานวนเต็มชนิดเดียวกัน
หลักกำร คือ ให้นำค่ำสัมบูรณ์ของจำนวนเต็มนั้นมำบวกกัน
ผลลัพธ์ที่ได้จะเป็นจำนวนเต็มบวกหรือจำนวนเต็มลบตำมชนิดของจำนวนที่นำมำบวกกัน
1. การบวกจานวนเต็มบวกกับจานวนเต็มบวก
หลักกำร กำรบวกจำนวนเต็มบวกกับจำนวนเต็มบวก คือ กำรนำค่ำสัมบูรณ์มำบวกกัน
ผลลัพธ์ที่ได้เป็นจำนวนเต็มบวก
ตัวอย่ำงที่ 10+ 12=
ค่ำสัมบูรณ์ของ 10 หรือ |10| = 10
ค่ำสัมบูรณ์ของ 12 หรือ |12| = 12
ดังนั้น |10| + |12| = 10+ 12 =22
นั่นคือ 10 + 12 =22
2. การบวกจานวนเต็มลบกับจานวนเต็มลบ
หลักกำร กำรบวกจำนวนเต็มลบกับจำนวนเต็มลบ คือ กำรนำค่ำสัมบูรณ์มำบวกกัน
ผลลัพธ์ที่ได้เป็นจำนวนเต็มลบ
ตัวอย่ำงที่ (-15)+ (-20) =
ค่ำสัมบูรณ์ของ -15 หรือ |-15| =15
ค่ำสัมบูรณ์ของ -20 หรือ |-20| =20
ดังนั้น |15| + |20| = 15+ 20 =35
แต่ผลลัพธ์ที่ได้ต้องเป็นจำนวนเต็มลบ ดังนั้น (-15) +(-20) = -35
กำรบวกจำนวนเต็มต่ำงชนิดกัน
หลักกำร คือ ให้นำค่ำสัมบูรณ์ของจำนวนเต็มทั้งสองนั้นมำลบกันและผล ลัพธ์จะเป็น
จำนวนเต็มบวกหรือจำนวนเต็มลบตำมจำนวนที่มีค่ำสัมบูรณ์มำก
ตัวอย่ำงที่ -9+5 =
ค่ำสัมบูรณ์ของ -9 หรือ |-9| =9
ค่ำสัมบูรณ์ของ 5 หรือ |5| = 5
นำค่ำสัมบูรณ์ที่มำกกว่ำเป็นตัวตั้งแล้วลบด้วยค่ำสัมบูรณ์ที่น้อยกว่ำ
จะได้ |-9| - |5| =9 – 5= 4
ผลลัพธ์ที่ได้เป็นจำนวนเต็มลบตำมจำนวนที่มีค่ำสัมบูรณ์มำกกว่ำ ดังนั้น (-9) + 5= -4
การลบจานวนเต็ม
ตัวตั้ง – ตัวลบ=ตัวตั้ง +จานวนตรงข้ามของตัวลบ
a –b = a + จานวนตรงข้ามของ b
หรือ a- b =a +(-b)เมื่อa และb แทนจานวนเต็มใด ๆ
จงหำผลลัพธ์ของ 5– 3
5 –3และ 5+ ( -3)
เรำจะพบว่ำ 5- 3= 2และ 5+ ( -3) =2
นั้นคือ 5 - 3= 5+ (-3)
การคูณจานวนเต็ม
1. กำรคูณจำนวนเต็มบวกกับจำนวนเต็มบวก
3 x3 =
โดยที่ 3 x3 หมำยถึง 3 +3 +3 ซึ่งมีค่ำเท่ำกับ 9
สรุป กำรคูณจำนวนเต็มบวกกับจำนวนเต็มบวก
มีผลคูณเป็นจำนวนเต็มบวกที่มีค่ำสัมบูรณ์เท่ำกับผลคูณของค่ำสัมบูรณ์ของสองจำนวนนั้น
2. กำรคูณจำนวนเต็มลบกับจำนวนเต็มลบ
กำรคูณจำนวนเต็มลบกับจำนวนเต็มลบ
ผลคูณเป็นจำนวนเต็มบวกที่มีค่ำสัมบูรณ์เท่ำกับผลคูณของค่ำสัมบูรณ์ของจำนวนทั้งสองนั้น
3. กำรคูณจำนวนเต็มลบกับจำนวนเต็มบวก
กำรหำผลคูณของจำนวนเต็มลบกับจำนวนเต็มบวก
ให้ใช้สมบัติกำรสลับที่แล้วใช้วิธีกำรเดียวกับกำรคูณจำนวนเต็มบวกกับจำนวนเต็มลบ
ดังนั้น กำรคูณของจำนวนเต็มลบกับจำนวนเต็มบวก
ผลคูณจะเป็นจำนวนเต็มลบที่มีค่ำสัมบูรณ์เท่ำกับผลคูณของค่ำสัมบูรณ์ของจำนวนทั้งสองนั้น
4. กำรคูณจำนวนเต็มบวกกับจำนวนเต็มลบ
กำรหำผลคูณของจำนวนเต็มบวกกับจำนวนเต็มลบ
ให้ใช้สมบัติกำรสลับที่แล้วใช้วิธีกำรเดียวกับกำรคูณจำนวนเต็มลบกับจำนวนเต็มบวก
ดังนั้น กำรคูณของจำนวนเต็มบวกกับจำนวนเต็มลบ
ผลคูณจะเป็นจำนวนเต็มลบที่มีค่ำสัมบูรณ์เท่ำกับผลคูณของค่ำสัมบูรณ์ของจำนวนทั้งสองนั้น
กำรหำรจำนวนเต็ม
เมื่อ a , b และ cแทนจำนวนเต็มใดๆที่ b ไม่เท่ำกับ 0
ถ้ำ a ÷ b = c แล้ว a = bx c และ ถ้ำ a = bx cแล้ว a ÷ b =c
ซึ่งในทำงคณิตศำสตร์อำจเขียน a ÷ b แทนด้วย
1. กำรหำรจำนวนเต็มบวกด้วยจำนวนเต็มบวก
หลักกำร กำรหำรจำนวนเต็มบวกด้วยจำนวนเต็มบวก ผลลัพธ์เป็นจำนวนเต็มบวก
2. กำรหำรจำนวนเต็มบวกด้วยจำนวนเต็มลบหรือกำรหำรจำนวนเต็มลบด้วยจำนวนเต็มบวก
หลักกำร กำรหำรจำนวนเต็มบวกด้วยจำนวนเต็มลบหรือกำรหำรจำนวนเต็มลบด้วยจำนวนเต็มบวก
ผลลัพธ์ที่ได้เป็นจำนวนเต็มลบ
3. กำรหำรจำนวนเต็มลบด้วยจำนวนเต็มลบ
หลักกำร กำรหำรจำนวนเต็มลบด้วยจำนวนเต็มลบ ผลลัพธ์ที่ได้เป็นจำนวนเต็มบวก
สมบัติของจำนวนเต็ม
สมบัติของจำนวนเต็มเกี่ยวกับกำรบวกและกำรคูณ
1.สมบัติปิด(Closure Property)
1.1 สมบัติปิดของกำรบวก ให้ a และ bเป็นจำนวนเป็นจำนวนเต็มใดๆแล้ว a+b เป็นจำนวนเต็ม
เช่น 5จำนวนเต็ม
-10เป็นจำนวนเต็ม
5+(-10)=-5เป็นจำนวนเต็ม
1.2 สมบัติปิดกำรคูณ
ให้a และ b เป็นจำนวนเป็นจำนวนเต็มใดๆแล้ว a×bเป็นจำนวนเต็ม
เช่น 5จำนวนเต็ม
-10เป็นจำนวนเต็ม
5× (-10)=-50เป็นจำนวนเต็ม
2.สมบัติกำรสลับที่(Commutative Property)
2.1 สมบัติกำรสลับที่กำรบวก ให้ a และ bเป็นจำนวนเป็นจำนวนเต็มใดๆแล้วa+b=b+a
เช่น 12+(-5)=7(-5)+12=7
ดังนั้น 12+(-5)=(-5)+12
2.2 สมบัติกำรสลับที่กำรคูณ
ให้a และ b เป็นจำนวนเป็นจำนวนเต็มใดๆแล้ว a×b=b×a
เช่น 8× (-3)=-24(-3) × 8=-24
ดังนั้น 8 × (-3)=(-3) ×8
3.สมบัติกำรเปลี่ยนหมู่(Associative Property)
3.1 สมบัติกำรเปลี่ยนหมู่กำรบวก
ให้a,b และ c เป็นจำนวนเป็นจำนวนเต็มใดๆแล้ว (a+b)+c=a+(b+c)
นั่นคือ กำรบวกอำจหำผลลัพธ์จำกกลุ่มใดก่อนก็ได้
เช่น [5+(-9)]+8= (-4)+8=4
5+[(-9)+8]=5+(-1) = 4
ดังนั้น [5+(-9)]+8= 5+[(-9)+8]
3.1 สมบัติกำรเปลี่ยนหมู่กำรคูณ
ให้a,b และ c เป็นจำนวนเป็นจำนวนเต็มใดๆแล้ว (a×b) ×c=a× (b×c)
นั่นคือ กำรคูณอำจหำผลลัพธ์จำกกลุ่มใดก่อนก็ได้
เช่น [5×(-3)]×(-4)=(-15)×(-4)=60
5×[(-3)×(-4)]= 5×12=60
ดังนั้น [5×(-3)]×(-4)=5×[(-3)×(-4)]
4.สมบัติกำรแจกแจง(Distributive Property)

More Related Content

What's hot

โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้นโครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้นInmylove Nupad
 
อสมการ ม3
อสมการ ม3 อสมการ ม3
อสมการ ม3 Prang Donal
 
การประยุกต์2
การประยุกต์2การประยุกต์2
การประยุกต์2พัน พัน
 
การแปลงทางเรขาคณิต
การแปลงทางเรขาคณิตการแปลงทางเรขาคณิต
การแปลงทางเรขาคณิตkruyafkk
 
สรุปสูตร ม.3
สรุปสูตร ม.3สรุปสูตร ม.3
สรุปสูตร ม.3krutew Sudarat
 
เพาเวอร์เซต
เพาเวอร์เซตเพาเวอร์เซต
เพาเวอร์เซตAon Narinchoti
 
มัธยฐาน F
มัธยฐาน  Fมัธยฐาน  F
มัธยฐาน FBangon Suyana
 
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิดแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิดคุณครูพี่อั๋น
 
เลขยกกำลังม.4
เลขยกกำลังม.4เลขยกกำลังม.4
เลขยกกำลังม.4KruGift Girlz
 
ฮิสโทแกรม
ฮิสโทแกรมฮิสโทแกรม
ฮิสโทแกรมkrookay2012
 
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรการแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรพัน พัน
 
แบบฝึกหัดรูปสี่เหลี่ยมป.5 6
แบบฝึกหัดรูปสี่เหลี่ยมป.5 6แบบฝึกหัดรูปสี่เหลี่ยมป.5 6
แบบฝึกหัดรูปสี่เหลี่ยมป.5 6Jaar Alissala
 
เอกสารสอนปรับพื้นฐานคณิตศาสตร์พื้นฐาน-ม.1.pdf
เอกสารสอนปรับพื้นฐานคณิตศาสตร์พื้นฐาน-ม.1.pdfเอกสารสอนปรับพื้นฐานคณิตศาสตร์พื้นฐาน-ม.1.pdf
เอกสารสอนปรับพื้นฐานคณิตศาสตร์พื้นฐาน-ม.1.pdfssusera0c3361
 
พื้นที่และปริมาตร 1 (Area and volume 1)
พื้นที่และปริมาตร 1 (Area and volume 1)พื้นที่และปริมาตร 1 (Area and volume 1)
พื้นที่และปริมาตร 1 (Area and volume 1)mickytanawin
 

What's hot (20)

โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้นโครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
 
อสมการ ม3
อสมการ ม3 อสมการ ม3
อสมการ ม3
 
การประยุกต์2
การประยุกต์2การประยุกต์2
การประยุกต์2
 
การแปลงทางเรขาคณิต
การแปลงทางเรขาคณิตการแปลงทางเรขาคณิต
การแปลงทางเรขาคณิต
 
สรุปสูตร ม.3
สรุปสูตร ม.3สรุปสูตร ม.3
สรุปสูตร ม.3
 
เพาเวอร์เซต
เพาเวอร์เซตเพาเวอร์เซต
เพาเวอร์เซต
 
มัธยฐาน F
มัธยฐาน  Fมัธยฐาน  F
มัธยฐาน F
 
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิดแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
 
เลขยกกำลังม.4
เลขยกกำลังม.4เลขยกกำลังม.4
เลขยกกำลังม.4
 
สูตรพื้นที่ผิวปริซึม
สูตรพื้นที่ผิวปริซึมสูตรพื้นที่ผิวปริซึม
สูตรพื้นที่ผิวปริซึม
 
ฮิสโทแกรม
ฮิสโทแกรมฮิสโทแกรม
ฮิสโทแกรม
 
หน่วยที่ 4 พื้นฐานทางเรขาคณิต ม.1
หน่วยที่ 4 พื้นฐานทางเรขาคณิต ม.1หน่วยที่ 4 พื้นฐานทางเรขาคณิต ม.1
หน่วยที่ 4 พื้นฐานทางเรขาคณิต ม.1
 
แบบทดสอบ เรื่องพหุนาม
แบบทดสอบ เรื่องพหุนามแบบทดสอบ เรื่องพหุนาม
แบบทดสอบ เรื่องพหุนาม
 
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรการแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
 
แบบฝึกหัดรูปสี่เหลี่ยมป.5 6
แบบฝึกหัดรูปสี่เหลี่ยมป.5 6แบบฝึกหัดรูปสี่เหลี่ยมป.5 6
แบบฝึกหัดรูปสี่เหลี่ยมป.5 6
 
28 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น ตอนที่2_ตัวหารร่วมมากและตัวคูณร่วมน้อย
28 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น ตอนที่2_ตัวหารร่วมมากและตัวคูณร่วมน้อย28 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น ตอนที่2_ตัวหารร่วมมากและตัวคูณร่วมน้อย
28 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น ตอนที่2_ตัวหารร่วมมากและตัวคูณร่วมน้อย
 
16 จำนวนจริง ตอนที่3_ทฤษฎีบทตัวประกอบ
16 จำนวนจริง ตอนที่3_ทฤษฎีบทตัวประกอบ16 จำนวนจริง ตอนที่3_ทฤษฎีบทตัวประกอบ
16 จำนวนจริง ตอนที่3_ทฤษฎีบทตัวประกอบ
 
เอกสารสอนปรับพื้นฐานคณิตศาสตร์พื้นฐาน-ม.1.pdf
เอกสารสอนปรับพื้นฐานคณิตศาสตร์พื้นฐาน-ม.1.pdfเอกสารสอนปรับพื้นฐานคณิตศาสตร์พื้นฐาน-ม.1.pdf
เอกสารสอนปรับพื้นฐานคณิตศาสตร์พื้นฐาน-ม.1.pdf
 
พื้นที่และปริมาตร 1 (Area and volume 1)
พื้นที่และปริมาตร 1 (Area and volume 1)พื้นที่และปริมาตร 1 (Area and volume 1)
พื้นที่และปริมาตร 1 (Area and volume 1)
 
สูตรต่างๆ ในคำนวณในข้อสอบครูผู้ช่วย
สูตรต่างๆ ในคำนวณในข้อสอบครูผู้ช่วยสูตรต่างๆ ในคำนวณในข้อสอบครูผู้ช่วย
สูตรต่างๆ ในคำนวณในข้อสอบครูผู้ช่วย
 

Viewers also liked

ระบบจำนวนเต็ม
ระบบจำนวนเต็มระบบจำนวนเต็ม
ระบบจำนวนเต็ม17112528
 
Load แนวข้อสอบ นายช่างเทคนิคปฏิบัติงาน ไฟฟ้า กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พ...
Load แนวข้อสอบ นายช่างเทคนิคปฏิบัติงาน ไฟฟ้า กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พ...Load แนวข้อสอบ นายช่างเทคนิคปฏิบัติงาน ไฟฟ้า กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พ...
Load แนวข้อสอบ นายช่างเทคนิคปฏิบัติงาน ไฟฟ้า กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พ...trucks2
 
ใบความรู้ เรื่อง ส่วนประกอบของโปรแกรม Microsoft excel 2007
ใบความรู้ เรื่อง ส่วนประกอบของโปรแกรม Microsoft excel 2007ใบความรู้ เรื่อง ส่วนประกอบของโปรแกรม Microsoft excel 2007
ใบความรู้ เรื่อง ส่วนประกอบของโปรแกรม Microsoft excel 2007Nicharee Piwjan
 
ใบความรู้ขั้นตอนการทำงาน Algorithm
ใบความรู้ขั้นตอนการทำงาน Algorithmใบความรู้ขั้นตอนการทำงาน Algorithm
ใบความรู้ขั้นตอนการทำงาน AlgorithmMunmuang Tik
 
อุปกรณ์ติดตั้งงานไฟฟ้า
อุปกรณ์ติดตั้งงานไฟฟ้าอุปกรณ์ติดตั้งงานไฟฟ้า
อุปกรณ์ติดตั้งงานไฟฟ้า4lifesecret
 
บทที่ 1 ห.ร.ม และ ค.ร.น
บทที่ 1 ห.ร.ม และ ค.ร.นบทที่ 1 ห.ร.ม และ ค.ร.น
บทที่ 1 ห.ร.ม และ ค.ร.นsawed kodnara
 
แบบทดสอบหลังเรียน ห.ร.ม. และ ค.ร.น.
แบบทดสอบหลังเรียน ห.ร.ม. และ ค.ร.น.แบบทดสอบหลังเรียน ห.ร.ม. และ ค.ร.น.
แบบทดสอบหลังเรียน ห.ร.ม. และ ค.ร.น.kanjana2536
 
มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้าสำหรับประเทศไทย บทที่5
มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้าสำหรับประเทศไทย บทที่5มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้าสำหรับประเทศไทย บทที่5
มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้าสำหรับประเทศไทย บทที่5พอใจ พลายงาม
 
ใบความรู้ เรื่อง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และความต้านทานไฟฟ้า
ใบความรู้ เรื่อง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และความต้านทานไฟฟ้าใบความรู้ เรื่อง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และความต้านทานไฟฟ้า
ใบความรู้ เรื่อง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และความต้านทานไฟฟ้าพัน พัน
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับวงจรไฟฟ้า
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับวงจรไฟฟ้าความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับวงจรไฟฟ้า
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับวงจรไฟฟ้าPrasert Boon
 
ใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้า
ใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้าใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้า
ใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้าพัน พัน
 
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร คณิตศาสตร์พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึ...
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร คณิตศาสตร์พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึ...เอกสารประกอบการเรียน เรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร คณิตศาสตร์พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึ...
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร คณิตศาสตร์พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึ...yindee Wedchasarn
 
มาตรฐานการเขียนแบบ
มาตรฐานการเขียนแบบมาตรฐานการเขียนแบบ
มาตรฐานการเขียนแบบPeerapong Veluwanaruk
 
การอ่านแบบไฟฟ้า และระบบพิกัดในงานเขียนแบบ
การอ่านแบบไฟฟ้า  และระบบพิกัดในงานเขียนแบบการอ่านแบบไฟฟ้า  และระบบพิกัดในงานเขียนแบบ
การอ่านแบบไฟฟ้า และระบบพิกัดในงานเขียนแบบNeeNak Revo
 

Viewers also liked (20)

Botkwam
BotkwamBotkwam
Botkwam
 
ระบบจำนวนเต็ม
ระบบจำนวนเต็มระบบจำนวนเต็ม
ระบบจำนวนเต็ม
 
58210401209 งาน 2 SS
58210401209 งาน 2  SS58210401209 งาน 2  SS
58210401209 งาน 2 SS
 
Load แนวข้อสอบ นายช่างเทคนิคปฏิบัติงาน ไฟฟ้า กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พ...
Load แนวข้อสอบ นายช่างเทคนิคปฏิบัติงาน ไฟฟ้า กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พ...Load แนวข้อสอบ นายช่างเทคนิคปฏิบัติงาน ไฟฟ้า กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พ...
Load แนวข้อสอบ นายช่างเทคนิคปฏิบัติงาน ไฟฟ้า กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พ...
 
ใบความรู้ เรื่อง ส่วนประกอบของโปรแกรม Microsoft excel 2007
ใบความรู้ เรื่อง ส่วนประกอบของโปรแกรม Microsoft excel 2007ใบความรู้ เรื่อง ส่วนประกอบของโปรแกรม Microsoft excel 2007
ใบความรู้ เรื่อง ส่วนประกอบของโปรแกรม Microsoft excel 2007
 
ไฟฟ้าอิสระ
ไฟฟ้าอิสระไฟฟ้าอิสระ
ไฟฟ้าอิสระ
 
ใบความรู้ขั้นตอนการทำงาน Algorithm
ใบความรู้ขั้นตอนการทำงาน Algorithmใบความรู้ขั้นตอนการทำงาน Algorithm
ใบความรู้ขั้นตอนการทำงาน Algorithm
 
58210401209 งาน 1 SS
58210401209  งาน  1 SS 58210401209  งาน  1 SS
58210401209 งาน 1 SS
 
อุปกรณ์ติดตั้งงานไฟฟ้า
อุปกรณ์ติดตั้งงานไฟฟ้าอุปกรณ์ติดตั้งงานไฟฟ้า
อุปกรณ์ติดตั้งงานไฟฟ้า
 
บทที่ 1 ห.ร.ม และ ค.ร.น
บทที่ 1 ห.ร.ม และ ค.ร.นบทที่ 1 ห.ร.ม และ ค.ร.น
บทที่ 1 ห.ร.ม และ ค.ร.น
 
แบบทดสอบหลังเรียน ห.ร.ม. และ ค.ร.น.
แบบทดสอบหลังเรียน ห.ร.ม. และ ค.ร.น.แบบทดสอบหลังเรียน ห.ร.ม. และ ค.ร.น.
แบบทดสอบหลังเรียน ห.ร.ม. และ ค.ร.น.
 
มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้าสำหรับประเทศไทย บทที่5
มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้าสำหรับประเทศไทย บทที่5มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้าสำหรับประเทศไทย บทที่5
มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้าสำหรับประเทศไทย บทที่5
 
ใบความรู้ เรื่อง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และความต้านทานไฟฟ้า
ใบความรู้ เรื่อง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และความต้านทานไฟฟ้าใบความรู้ เรื่อง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และความต้านทานไฟฟ้า
ใบความรู้ เรื่อง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และความต้านทานไฟฟ้า
 
การติดตั้งไฟฟ้าภายนอกอาคาร
การติดตั้งไฟฟ้าภายนอกอาคารการติดตั้งไฟฟ้าภายนอกอาคาร
การติดตั้งไฟฟ้าภายนอกอาคาร
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับวงจรไฟฟ้า
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับวงจรไฟฟ้าความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับวงจรไฟฟ้า
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับวงจรไฟฟ้า
 
ใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้า
ใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้าใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้า
ใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้า
 
เลขยกกำลัง
เลขยกกำลังเลขยกกำลัง
เลขยกกำลัง
 
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร คณิตศาสตร์พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึ...
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร คณิตศาสตร์พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึ...เอกสารประกอบการเรียน เรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร คณิตศาสตร์พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึ...
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร คณิตศาสตร์พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึ...
 
มาตรฐานการเขียนแบบ
มาตรฐานการเขียนแบบมาตรฐานการเขียนแบบ
มาตรฐานการเขียนแบบ
 
การอ่านแบบไฟฟ้า และระบบพิกัดในงานเขียนแบบ
การอ่านแบบไฟฟ้า  และระบบพิกัดในงานเขียนแบบการอ่านแบบไฟฟ้า  และระบบพิกัดในงานเขียนแบบ
การอ่านแบบไฟฟ้า และระบบพิกัดในงานเขียนแบบ
 

Similar to 2ใบความรู้ เรื่อง ระบบจำนวนเต็ม

การคูณและหารจำนวนเต็ม
การคูณและหารจำนวนเต็มการคูณและหารจำนวนเต็ม
การคูณและหารจำนวนเต็มJiraprapa Suwannajak
 
ระบบจำนวนเต็ม
ระบบจำนวนเต็มระบบจำนวนเต็ม
ระบบจำนวนเต็มsoonthorn saithong
 
โครงงานเอ็นโอการ์ด (Number and Operation Card)
โครงงานเอ็นโอการ์ด (Number and Operation Card)โครงงานเอ็นโอการ์ด (Number and Operation Card)
โครงงานเอ็นโอการ์ด (Number and Operation Card)waranyuati
 
การบวกลบจำนวนเต็ม
การบวกลบจำนวนเต็มการบวกลบจำนวนเต็ม
การบวกลบจำนวนเต็มJiraprapa Suwannajak
 
จำนวนเต็ม เศษส่วน และทศนิยม
จำนวนเต็ม เศษส่วน และทศนิยมจำนวนเต็ม เศษส่วน และทศนิยม
จำนวนเต็ม เศษส่วน และทศนิยมjinda2512
 
ระบบจำนวน
ระบบจำนวนระบบจำนวน
ระบบจำนวนguest89040d
 
Real number2555
Real number2555Real number2555
Real number2555wongsrida
 
รากที่สอง
รากที่สองรากที่สอง
รากที่สองlekho
 
สรุปสูตร ม.1
สรุปสูตร ม.1สรุปสูตร ม.1
สรุปสูตร ม.1krutew Sudarat
 
เวทคณิตน่ารู้(The Vedic mathematics Ver.Thai)
เวทคณิตน่ารู้(The Vedic mathematics Ver.Thai)เวทคณิตน่ารู้(The Vedic mathematics Ver.Thai)
เวทคณิตน่ารู้(The Vedic mathematics Ver.Thai)Supachok Pongkathin
 

Similar to 2ใบความรู้ เรื่อง ระบบจำนวนเต็ม (20)

การคูณและหารจำนวนเต็ม
การคูณและหารจำนวนเต็มการคูณและหารจำนวนเต็ม
การคูณและหารจำนวนเต็ม
 
ระบบจำนวนเต็ม
ระบบจำนวนเต็มระบบจำนวนเต็ม
ระบบจำนวนเต็ม
 
โครงงานเอ็นโอการ์ด (Number and Operation Card)
โครงงานเอ็นโอการ์ด (Number and Operation Card)โครงงานเอ็นโอการ์ด (Number and Operation Card)
โครงงานเอ็นโอการ์ด (Number and Operation Card)
 
การบวกลบจำนวนเต็ม
การบวกลบจำนวนเต็มการบวกลบจำนวนเต็ม
การบวกลบจำนวนเต็ม
 
จำนวนเต็ม เศษส่วน และทศนิยม
จำนวนเต็ม เศษส่วน และทศนิยมจำนวนเต็ม เศษส่วน และทศนิยม
จำนวนเต็ม เศษส่วน และทศนิยม
 
ระบบจำนวน
ระบบจำนวนระบบจำนวน
ระบบจำนวน
 
สรุปสูตร คณิตศาสตร์ ม.1
สรุปสูตร คณิตศาสตร์ ม.1สรุปสูตร คณิตศาสตร์ ม.1
สรุปสูตร คณิตศาสตร์ ม.1
 
Real number2555
Real number2555Real number2555
Real number2555
 
Real (1)
Real (1)Real (1)
Real (1)
 
Real (1)
Real (1)Real (1)
Real (1)
 
Real (1)
Real (1)Real (1)
Real (1)
 
Real (1)
Real (1)Real (1)
Real (1)
 
Real (1)
Real (1)Real (1)
Real (1)
 
การบวกจำนวนเต็ม (2)
การบวกจำนวนเต็ม (2)การบวกจำนวนเต็ม (2)
การบวกจำนวนเต็ม (2)
 
แบบเรียนคณิตศาสตร์ ม.1
แบบเรียนคณิตศาสตร์ ม.1แบบเรียนคณิตศาสตร์ ม.1
แบบเรียนคณิตศาสตร์ ม.1
 
Real (1)
Real (1)Real (1)
Real (1)
 
รากที่สอง
รากที่สองรากที่สอง
รากที่สอง
 
สรุปสูตร ม.1
สรุปสูตร ม.1สรุปสูตร ม.1
สรุปสูตร ม.1
 
เวทคณิตน่ารู้(The Vedic mathematics Ver.Thai)
เวทคณิตน่ารู้(The Vedic mathematics Ver.Thai)เวทคณิตน่ารู้(The Vedic mathematics Ver.Thai)
เวทคณิตน่ารู้(The Vedic mathematics Ver.Thai)
 
สรุปสูตรคณิตศาสตร์ ม.3
สรุปสูตรคณิตศาสตร์ ม.3สรุปสูตรคณิตศาสตร์ ม.3
สรุปสูตรคณิตศาสตร์ ม.3
 

More from kanjana2536

ใบงานที่ 6 เรื่องความน่าจะเป็นและการนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน
ใบงานที่ 6 เรื่องความน่าจะเป็นและการนำไปใช้ในชีวิตประจำวันใบงานที่ 6 เรื่องความน่าจะเป็นและการนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน
ใบงานที่ 6 เรื่องความน่าจะเป็นและการนำไปใช้ในชีวิตประจำวันkanjana2536
 
ใบงานที่ 5 เรื่องความน่าจะเป็นและการนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน
ใบงานที่ 5 เรื่องความน่าจะเป็นและการนำไปใช้ในชีวิตประจำวันใบงานที่ 5 เรื่องความน่าจะเป็นและการนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน
ใบงานที่ 5 เรื่องความน่าจะเป็นและการนำไปใช้ในชีวิตประจำวันkanjana2536
 
ใบงานที่ 4 เรื่อง ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์
ใบงานที่ 4 เรื่อง ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ใบงานที่ 4 เรื่อง ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์
ใบงานที่ 4 เรื่อง ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์kanjana2536
 
ใบงานที่ 3 เรื่อง เหตุการณ์
ใบงานที่ 3 เรื่อง เหตุการณ์ใบงานที่ 3 เรื่อง เหตุการณ์
ใบงานที่ 3 เรื่อง เหตุการณ์kanjana2536
 
ใบงานที่ 2 เรื่องการทดลองสุ่ม
ใบงานที่ 2 เรื่องการทดลองสุ่มใบงานที่ 2 เรื่องการทดลองสุ่ม
ใบงานที่ 2 เรื่องการทดลองสุ่มkanjana2536
 
ใบงานที่ 1 เรื่อง โอกาสที่เหตุการณ์จะเกิดขึ้น
ใบงานที่ 1  เรื่อง โอกาสที่เหตุการณ์จะเกิดขึ้นใบงานที่ 1  เรื่อง โอกาสที่เหตุการณ์จะเกิดขึ้น
ใบงานที่ 1 เรื่อง โอกาสที่เหตุการณ์จะเกิดขึ้นkanjana2536
 
ใบงานที่ 13 เรื่อง การใช้ความรู้เรื่องมุมไปใช้ในการสร้างรูปต่างๆ
ใบงานที่ 13  เรื่อง การใช้ความรู้เรื่องมุมไปใช้ในการสร้างรูปต่างๆใบงานที่ 13  เรื่อง การใช้ความรู้เรื่องมุมไปใช้ในการสร้างรูปต่างๆ
ใบงานที่ 13 เรื่อง การใช้ความรู้เรื่องมุมไปใช้ในการสร้างรูปต่างๆkanjana2536
 
ใบงานที่ 12
ใบงานที่ 12ใบงานที่ 12
ใบงานที่ 12kanjana2536
 
ใบงานที่ 11 การสร้างมุมที่มีขนาดเท่ากับ 90
ใบงานที่ 11  การสร้างมุมที่มีขนาดเท่ากับ 90ใบงานที่ 11  การสร้างมุมที่มีขนาดเท่ากับ 90
ใบงานที่ 11 การสร้างมุมที่มีขนาดเท่ากับ 90kanjana2536
 
ใบงานที่10 เรื่อง การสร้างเส้นขนาน
ใบงานที่10 เรื่อง การสร้างเส้นขนานใบงานที่10 เรื่อง การสร้างเส้นขนาน
ใบงานที่10 เรื่อง การสร้างเส้นขนานkanjana2536
 
ใบงานที่ 9
ใบงานที่ 9ใบงานที่ 9
ใบงานที่ 9kanjana2536
 
ใบงานที่ 8
ใบงานที่ 8ใบงานที่ 8
ใบงานที่ 8kanjana2536
 
7การสร้างเกี่ยวกับส่วนของเส้นตรงและมุม
7การสร้างเกี่ยวกับส่วนของเส้นตรงและมุม7การสร้างเกี่ยวกับส่วนของเส้นตรงและมุม
7การสร้างเกี่ยวกับส่วนของเส้นตรงและมุมkanjana2536
 
ใบงานที่ 6 เรื่อง การแบ่งครึ่งมุม
ใบงานที่ 6  เรื่อง  การแบ่งครึ่งมุมใบงานที่ 6  เรื่อง  การแบ่งครึ่งมุม
ใบงานที่ 6 เรื่อง การแบ่งครึ่งมุมkanjana2536
 
ใบงาน5เรื่อง การสร้างมุมให้มีขนาดเท่ากับมุมที่กำหนดให้
ใบงาน5เรื่อง  การสร้างมุมให้มีขนาดเท่ากับมุมที่กำหนดให้ใบงาน5เรื่อง  การสร้างมุมให้มีขนาดเท่ากับมุมที่กำหนดให้
ใบงาน5เรื่อง การสร้างมุมให้มีขนาดเท่ากับมุมที่กำหนดให้kanjana2536
 
ใบงานที่ 2 มุมชนิดมุม
ใบงานที่ 2 มุมชนิดมุมใบงานที่ 2 มุมชนิดมุม
ใบงานที่ 2 มุมชนิดมุมkanjana2536
 
ใบงาน1จุด
ใบงาน1จุดใบงาน1จุด
ใบงาน1จุดkanjana2536
 
ใบงาน1จุด
ใบงาน1จุดใบงาน1จุด
ใบงาน1จุดkanjana2536
 
ใบงานที่ 1 เรื่อง เลขยกกำลัง
ใบงานที่ 1 เรื่อง  เลขยกกำลังใบงานที่ 1 เรื่อง  เลขยกกำลัง
ใบงานที่ 1 เรื่อง เลขยกกำลังkanjana2536
 

More from kanjana2536 (20)

ใบงานที่ 6 เรื่องความน่าจะเป็นและการนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน
ใบงานที่ 6 เรื่องความน่าจะเป็นและการนำไปใช้ในชีวิตประจำวันใบงานที่ 6 เรื่องความน่าจะเป็นและการนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน
ใบงานที่ 6 เรื่องความน่าจะเป็นและการนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน
 
ใบงานที่ 5 เรื่องความน่าจะเป็นและการนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน
ใบงานที่ 5 เรื่องความน่าจะเป็นและการนำไปใช้ในชีวิตประจำวันใบงานที่ 5 เรื่องความน่าจะเป็นและการนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน
ใบงานที่ 5 เรื่องความน่าจะเป็นและการนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน
 
ใบงานที่ 4 เรื่อง ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์
ใบงานที่ 4 เรื่อง ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ใบงานที่ 4 เรื่อง ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์
ใบงานที่ 4 เรื่อง ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์
 
ใบงานที่ 3 เรื่อง เหตุการณ์
ใบงานที่ 3 เรื่อง เหตุการณ์ใบงานที่ 3 เรื่อง เหตุการณ์
ใบงานที่ 3 เรื่อง เหตุการณ์
 
ใบงานที่ 2 เรื่องการทดลองสุ่ม
ใบงานที่ 2 เรื่องการทดลองสุ่มใบงานที่ 2 เรื่องการทดลองสุ่ม
ใบงานที่ 2 เรื่องการทดลองสุ่ม
 
ใบงานที่ 1 เรื่อง โอกาสที่เหตุการณ์จะเกิดขึ้น
ใบงานที่ 1  เรื่อง โอกาสที่เหตุการณ์จะเกิดขึ้นใบงานที่ 1  เรื่อง โอกาสที่เหตุการณ์จะเกิดขึ้น
ใบงานที่ 1 เรื่อง โอกาสที่เหตุการณ์จะเกิดขึ้น
 
ใบงานที่ 13 เรื่อง การใช้ความรู้เรื่องมุมไปใช้ในการสร้างรูปต่างๆ
ใบงานที่ 13  เรื่อง การใช้ความรู้เรื่องมุมไปใช้ในการสร้างรูปต่างๆใบงานที่ 13  เรื่อง การใช้ความรู้เรื่องมุมไปใช้ในการสร้างรูปต่างๆ
ใบงานที่ 13 เรื่อง การใช้ความรู้เรื่องมุมไปใช้ในการสร้างรูปต่างๆ
 
ใบงานที่ 12
ใบงานที่ 12ใบงานที่ 12
ใบงานที่ 12
 
ใบงานที่ 11 การสร้างมุมที่มีขนาดเท่ากับ 90
ใบงานที่ 11  การสร้างมุมที่มีขนาดเท่ากับ 90ใบงานที่ 11  การสร้างมุมที่มีขนาดเท่ากับ 90
ใบงานที่ 11 การสร้างมุมที่มีขนาดเท่ากับ 90
 
ใบงานที่10 เรื่อง การสร้างเส้นขนาน
ใบงานที่10 เรื่อง การสร้างเส้นขนานใบงานที่10 เรื่อง การสร้างเส้นขนาน
ใบงานที่10 เรื่อง การสร้างเส้นขนาน
 
ใบงานที่ 9
ใบงานที่ 9ใบงานที่ 9
ใบงานที่ 9
 
ใบงานที่ 8
ใบงานที่ 8ใบงานที่ 8
ใบงานที่ 8
 
7การสร้างเกี่ยวกับส่วนของเส้นตรงและมุม
7การสร้างเกี่ยวกับส่วนของเส้นตรงและมุม7การสร้างเกี่ยวกับส่วนของเส้นตรงและมุม
7การสร้างเกี่ยวกับส่วนของเส้นตรงและมุม
 
ใบงานที่ 6 เรื่อง การแบ่งครึ่งมุม
ใบงานที่ 6  เรื่อง  การแบ่งครึ่งมุมใบงานที่ 6  เรื่อง  การแบ่งครึ่งมุม
ใบงานที่ 6 เรื่อง การแบ่งครึ่งมุม
 
ใบงาน5เรื่อง การสร้างมุมให้มีขนาดเท่ากับมุมที่กำหนดให้
ใบงาน5เรื่อง  การสร้างมุมให้มีขนาดเท่ากับมุมที่กำหนดให้ใบงาน5เรื่อง  การสร้างมุมให้มีขนาดเท่ากับมุมที่กำหนดให้
ใบงาน5เรื่อง การสร้างมุมให้มีขนาดเท่ากับมุมที่กำหนดให้
 
ใบ'งาน4
ใบ'งาน4ใบ'งาน4
ใบ'งาน4
 
ใบงานที่ 2 มุมชนิดมุม
ใบงานที่ 2 มุมชนิดมุมใบงานที่ 2 มุมชนิดมุม
ใบงานที่ 2 มุมชนิดมุม
 
ใบงาน1จุด
ใบงาน1จุดใบงาน1จุด
ใบงาน1จุด
 
ใบงาน1จุด
ใบงาน1จุดใบงาน1จุด
ใบงาน1จุด
 
ใบงานที่ 1 เรื่อง เลขยกกำลัง
ใบงานที่ 1 เรื่อง  เลขยกกำลังใบงานที่ 1 เรื่อง  เลขยกกำลัง
ใบงานที่ 1 เรื่อง เลขยกกำลัง
 

2ใบความรู้ เรื่อง ระบบจำนวนเต็ม

  • 1. ใบความรู้ เรื่อง ระบบจานวนเต็ม 1. จำนวนเต็มบวก หมำยถึง จำนวนนับ ตั้งแต่1 และเพิ่มทีละหนึ่ง เป็นต้นไปไม่สิ้นสุด ได้แก่1 , 2 , 3 , 4,... 2. จำนวนเต็มศูนย์ คือ จำนวนที่อยู่ห่ำงจำก 1เป็นระยะทำง 1 หน่วยและมีค่ำน้อยกว่ำ 1 ถ้ำพิจำรณำเส้นจำนวนจะอยู่ตรงกลำงระหว่ ำง 0 กับ -1 การบวกจานวนเต็ม การบวกจานวนเต็มชนิดเดียวกัน หลักกำร คือ ให้นำค่ำสัมบูรณ์ของจำนวนเต็มนั้นมำบวกกัน ผลลัพธ์ที่ได้จะเป็นจำนวนเต็มบวกหรือจำนวนเต็มลบตำมชนิดของจำนวนที่นำมำบวกกัน 1. การบวกจานวนเต็มบวกกับจานวนเต็มบวก หลักกำร กำรบวกจำนวนเต็มบวกกับจำนวนเต็มบวก คือ กำรนำค่ำสัมบูรณ์มำบวกกัน ผลลัพธ์ที่ได้เป็นจำนวนเต็มบวก ตัวอย่ำงที่ 10+ 12= ค่ำสัมบูรณ์ของ 10 หรือ |10| = 10
  • 2. ค่ำสัมบูรณ์ของ 12 หรือ |12| = 12 ดังนั้น |10| + |12| = 10+ 12 =22 นั่นคือ 10 + 12 =22 2. การบวกจานวนเต็มลบกับจานวนเต็มลบ หลักกำร กำรบวกจำนวนเต็มลบกับจำนวนเต็มลบ คือ กำรนำค่ำสัมบูรณ์มำบวกกัน ผลลัพธ์ที่ได้เป็นจำนวนเต็มลบ ตัวอย่ำงที่ (-15)+ (-20) = ค่ำสัมบูรณ์ของ -15 หรือ |-15| =15 ค่ำสัมบูรณ์ของ -20 หรือ |-20| =20 ดังนั้น |15| + |20| = 15+ 20 =35 แต่ผลลัพธ์ที่ได้ต้องเป็นจำนวนเต็มลบ ดังนั้น (-15) +(-20) = -35 กำรบวกจำนวนเต็มต่ำงชนิดกัน หลักกำร คือ ให้นำค่ำสัมบูรณ์ของจำนวนเต็มทั้งสองนั้นมำลบกันและผล ลัพธ์จะเป็น จำนวนเต็มบวกหรือจำนวนเต็มลบตำมจำนวนที่มีค่ำสัมบูรณ์มำก ตัวอย่ำงที่ -9+5 = ค่ำสัมบูรณ์ของ -9 หรือ |-9| =9 ค่ำสัมบูรณ์ของ 5 หรือ |5| = 5 นำค่ำสัมบูรณ์ที่มำกกว่ำเป็นตัวตั้งแล้วลบด้วยค่ำสัมบูรณ์ที่น้อยกว่ำ จะได้ |-9| - |5| =9 – 5= 4 ผลลัพธ์ที่ได้เป็นจำนวนเต็มลบตำมจำนวนที่มีค่ำสัมบูรณ์มำกกว่ำ ดังนั้น (-9) + 5= -4
  • 3. การลบจานวนเต็ม ตัวตั้ง – ตัวลบ=ตัวตั้ง +จานวนตรงข้ามของตัวลบ a –b = a + จานวนตรงข้ามของ b หรือ a- b =a +(-b)เมื่อa และb แทนจานวนเต็มใด ๆ จงหำผลลัพธ์ของ 5– 3 5 –3และ 5+ ( -3) เรำจะพบว่ำ 5- 3= 2และ 5+ ( -3) =2 นั้นคือ 5 - 3= 5+ (-3) การคูณจานวนเต็ม 1. กำรคูณจำนวนเต็มบวกกับจำนวนเต็มบวก 3 x3 = โดยที่ 3 x3 หมำยถึง 3 +3 +3 ซึ่งมีค่ำเท่ำกับ 9 สรุป กำรคูณจำนวนเต็มบวกกับจำนวนเต็มบวก มีผลคูณเป็นจำนวนเต็มบวกที่มีค่ำสัมบูรณ์เท่ำกับผลคูณของค่ำสัมบูรณ์ของสองจำนวนนั้น
  • 4. 2. กำรคูณจำนวนเต็มลบกับจำนวนเต็มลบ กำรคูณจำนวนเต็มลบกับจำนวนเต็มลบ ผลคูณเป็นจำนวนเต็มบวกที่มีค่ำสัมบูรณ์เท่ำกับผลคูณของค่ำสัมบูรณ์ของจำนวนทั้งสองนั้น 3. กำรคูณจำนวนเต็มลบกับจำนวนเต็มบวก กำรหำผลคูณของจำนวนเต็มลบกับจำนวนเต็มบวก ให้ใช้สมบัติกำรสลับที่แล้วใช้วิธีกำรเดียวกับกำรคูณจำนวนเต็มบวกกับจำนวนเต็มลบ ดังนั้น กำรคูณของจำนวนเต็มลบกับจำนวนเต็มบวก ผลคูณจะเป็นจำนวนเต็มลบที่มีค่ำสัมบูรณ์เท่ำกับผลคูณของค่ำสัมบูรณ์ของจำนวนทั้งสองนั้น 4. กำรคูณจำนวนเต็มบวกกับจำนวนเต็มลบ กำรหำผลคูณของจำนวนเต็มบวกกับจำนวนเต็มลบ ให้ใช้สมบัติกำรสลับที่แล้วใช้วิธีกำรเดียวกับกำรคูณจำนวนเต็มลบกับจำนวนเต็มบวก ดังนั้น กำรคูณของจำนวนเต็มบวกกับจำนวนเต็มลบ ผลคูณจะเป็นจำนวนเต็มลบที่มีค่ำสัมบูรณ์เท่ำกับผลคูณของค่ำสัมบูรณ์ของจำนวนทั้งสองนั้น กำรหำรจำนวนเต็ม เมื่อ a , b และ cแทนจำนวนเต็มใดๆที่ b ไม่เท่ำกับ 0 ถ้ำ a ÷ b = c แล้ว a = bx c และ ถ้ำ a = bx cแล้ว a ÷ b =c ซึ่งในทำงคณิตศำสตร์อำจเขียน a ÷ b แทนด้วย 1. กำรหำรจำนวนเต็มบวกด้วยจำนวนเต็มบวก หลักกำร กำรหำรจำนวนเต็มบวกด้วยจำนวนเต็มบวก ผลลัพธ์เป็นจำนวนเต็มบวก
  • 5. 2. กำรหำรจำนวนเต็มบวกด้วยจำนวนเต็มลบหรือกำรหำรจำนวนเต็มลบด้วยจำนวนเต็มบวก หลักกำร กำรหำรจำนวนเต็มบวกด้วยจำนวนเต็มลบหรือกำรหำรจำนวนเต็มลบด้วยจำนวนเต็มบวก ผลลัพธ์ที่ได้เป็นจำนวนเต็มลบ 3. กำรหำรจำนวนเต็มลบด้วยจำนวนเต็มลบ หลักกำร กำรหำรจำนวนเต็มลบด้วยจำนวนเต็มลบ ผลลัพธ์ที่ได้เป็นจำนวนเต็มบวก สมบัติของจำนวนเต็ม สมบัติของจำนวนเต็มเกี่ยวกับกำรบวกและกำรคูณ 1.สมบัติปิด(Closure Property) 1.1 สมบัติปิดของกำรบวก ให้ a และ bเป็นจำนวนเป็นจำนวนเต็มใดๆแล้ว a+b เป็นจำนวนเต็ม เช่น 5จำนวนเต็ม -10เป็นจำนวนเต็ม 5+(-10)=-5เป็นจำนวนเต็ม 1.2 สมบัติปิดกำรคูณ ให้a และ b เป็นจำนวนเป็นจำนวนเต็มใดๆแล้ว a×bเป็นจำนวนเต็ม เช่น 5จำนวนเต็ม -10เป็นจำนวนเต็ม 5× (-10)=-50เป็นจำนวนเต็ม 2.สมบัติกำรสลับที่(Commutative Property)
  • 6. 2.1 สมบัติกำรสลับที่กำรบวก ให้ a และ bเป็นจำนวนเป็นจำนวนเต็มใดๆแล้วa+b=b+a เช่น 12+(-5)=7(-5)+12=7 ดังนั้น 12+(-5)=(-5)+12 2.2 สมบัติกำรสลับที่กำรคูณ ให้a และ b เป็นจำนวนเป็นจำนวนเต็มใดๆแล้ว a×b=b×a เช่น 8× (-3)=-24(-3) × 8=-24 ดังนั้น 8 × (-3)=(-3) ×8 3.สมบัติกำรเปลี่ยนหมู่(Associative Property) 3.1 สมบัติกำรเปลี่ยนหมู่กำรบวก ให้a,b และ c เป็นจำนวนเป็นจำนวนเต็มใดๆแล้ว (a+b)+c=a+(b+c) นั่นคือ กำรบวกอำจหำผลลัพธ์จำกกลุ่มใดก่อนก็ได้ เช่น [5+(-9)]+8= (-4)+8=4 5+[(-9)+8]=5+(-1) = 4 ดังนั้น [5+(-9)]+8= 5+[(-9)+8] 3.1 สมบัติกำรเปลี่ยนหมู่กำรคูณ ให้a,b และ c เป็นจำนวนเป็นจำนวนเต็มใดๆแล้ว (a×b) ×c=a× (b×c) นั่นคือ กำรคูณอำจหำผลลัพธ์จำกกลุ่มใดก่อนก็ได้ เช่น [5×(-3)]×(-4)=(-15)×(-4)=60 5×[(-3)×(-4)]= 5×12=60 ดังนั้น [5×(-3)]×(-4)=5×[(-3)×(-4)]