SlideShare a Scribd company logo
1 of 14
Download to read offline
เอกสารประกอบการสอน รายวิชาไฟฟ้า ว20204
ประจุไฟฟ้า (Electric Charge)
คือ ตัวการที่ทาให้เกิดอานาจทางไฟฟ้า แบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ
1. ประจุไฟฟ้าบวก (Positive Charge) คือ การที่วัตถุสูญเสียอิเล็กตรอนไป
2. ประจุไฟฟ้าลบ (Negative Charge) คือ การที่วัตถุได้รับอิเล็กตรอนเพิ่มเข้ามา
สมบัติของแรงระหว่างประจุ
1. ประจุชนิดเดียวกันจะผลักกัน และประจุต่างชนิดกันจะดูดกัน
2. ประจุไฟฟ้าบวกหรือประจุไฟฟ้าลบก็ตามจะดึงดูดวัตถุที่เป็นกลางทางไฟฟ้าเสมอ
3. แรงระหว่างประจุไฟฟ้ามี 2 แรง คือ แรงดูดและแรงผลัก และเป็นปริมาณเวกเตอร์
ชนิดของไฟฟ้า : ไฟฟ้าสามารถแบ่งตามการเคลื่อนที่ของประจุไฟฟ้าได้ 2 ชนิด คือ
1. ไฟฟ้าสถิต (Static Electricity) หมายถึง ประจุไฟฟ้าที่อยู่ในวัตถุนั้นอยู่นิ่ง ไม่มีการเคลื่อนที่
2. ไฟฟ้ากระแส (Current Electricity) หมายถึง ประจุไฟฟ้าที่อยู่ในวัตถุนั้นมีการเคลื่อนที่ หรือถ่ายเท
ประจุ
กระแสไฟฟ้า (Electric Current)
กระแสไฟฟ้า คือ ปริมาณของประจุไฟฟ้าที่มีการถ่ายเทหรือเคลื่อนที่ในหนึ่งหน่วยเวลา โดยการเกิด
ความต่างศักย์ไฟฟ้าขึ้นระหว่าง 2 บริเวณ กระแสไฟฟ้า สามารถแบ่งได้ 2 แบบ คือ
1. กระแสสมมติ เป็นกระแสไฟฟ้าที่เกิดจากการถ่ายเทหรือเคลื่อนที่ของประจุบวก โดยไหลจาก
ศักย์ไฟฟ้าสูงไปยังศักย์ไฟฟ้าต่า หรือไหลจากขั้วบวกไปยังขั้วลบของเซลล์ไฟฟ้า (กระแสไฟฟ้าจะหมายถึงกระแส
สมมติเสมอ)
2. กระแสอิเล็กตรอน เป็นกระแสไฟฟ้าที่เกิดจาการถ่ายเทหรือเคลื่อนที่ของประจุลบหรืออิเล็กตรอน
โดยไหลจากศักย์ไฟฟ้าต่าไปยังศักย์ไฟฟ้าสูง หรือไหลจากขั้วลบไปยังขั้วบวกของเซลล์ไฟฟ้า
ทิศทางการไหลของกระแสไฟฟ้า
กระแสไฟฟ้าจะไหลจากศักย์สูง ไปยังศักย์ต่า หรือไหลจากขั้วบวก (+) ไปยังขั้วลบ (-) หรือไหลจากขั้ว
แอโนด (Anode) ไปยังแคโทด (Cathode)
กระแสไฟฟ้า ความต่างศักย์ไฟฟ้า และความต้านทาน
2
3
เอกสารประกอบการสอน รายวิชาไฟฟ้า ว20204
สูตรการคานวณ
I = กระแสไฟฟ้า มีหน่วยเป็นคูลอมบ์ต่อวินาที หรือแอมแปร์ (A)
Q = ประจุไฟฟ้า มีหน่วยเป็นคูลอมบ์ (C)
t = เวลา มีหน่วยเป็นวินาที (s)
ชนิดของกระแสไฟฟ้า
1. ไฟฟ้ากระแสตรง (Direct Current, D.C.)
หมายถึง กระแสไฟฟ้าที่มีทิศทางการไหลเพียงทิศทางเดียว จากขั้วบวกผ่านวงจรไปยังขั้วลบอยู่
ตลอดเวลา เช่น กระแสไฟฟ้าจากถ่านไฟฉาย แบตเตอรี่ แบตเตอรี่รถยนต์ ไดนาโมกระแสตรง เป็นต้น
2. ไฟฟ้ากระแสสลับ (Alternating Current, A.C.)
หมายถึง กระแสไฟฟ้าที่มีทิศทางการไหลสวนทางสลับกันไปมาอยู่ตลอดเวลา เช่น กระแสไฟฟ้า
ที่ได้จากไดนาโมกระแสสลับที่นามาใช้อยู่ตามอาคารบ้านเรือนทั่วไป
แหล่งกาเนิดกระแสไฟฟ้า
กระแสไฟฟ้ามีแหล่งกาเนิดมาจากเซลล์ไฟฟ้าเคมี เครื่องกาเนิดไฟฟ้าหรือไดนาโม และเซลล์สุริยะ เป็น
ต้น
เซลล์ไฟฟ้าเคมี
เมื่อจุ่มแผ่นทองแดงและแผ่นสังกะสีลงในกรดซัลฟิวริกเจือจาง จะมีฟองแก๊สเกิดขึ้น และเมื่อต่อลวด
โลหะระหว่างแผ่นโลหะทั้งสองเข้าด้วยกัน จะมีกระแสไฟฟ้าไหลผ่านในเส้นลวด หลักการดังกล่าวนี้ เป็นหลักการ
ของเซลล์ไฟฟ้าเคมี ซึ่งค้นพบโดยวอลตา นักวิทยาศาสตร์ชาวอิตาเลียน เมื่อ ค.ศ. 1800
เซลล์ไฟฟ้าเคมี คือ อุปกรณ์ที่สามารถผลิตกระแสไฟฟ้าขึ้นมาโดยอาศัยการเกิดปฏิกิริยาเคมี หรือ
หมายถึง อุปกรณ์ที่ทาหน้าที่เปลี่ยนแปลงพลังงานเคมีให้เป็นพลังงานไฟฟ้า
ส่วนประกอบของเซลล์ไฟฟ้าเคมี ประกอบด้วย
1. ขั้วไฟฟ้าซึ่งทาจากโลหะ 2 ชนิด ซึ่งจะแตกตัวเป็นไอออนได้ไม่เท่ากัน โลหะที่ทาหน้าที่เป็น
ขั้วไฟฟ้าเรียกว่า อิเล็กโทรด (Electrode) โดยขั้วหนึ่งเป็นขั้วบวก (แอโนด) อีกขั้วหนึ่งเป็นขั้วลบ (แคโทด)
2. สารละลายไฟฟ้า คือ สารละลายที่ยอมให้กระแสไฟฟ้าไหลผ่านได้ ทาหน้าที่เป็นสารละลายอิ
เล็กโทรไลต์ และสามารถแตกตัวเป็นไอออนได้ เช่น สารละลายกรด สารละลายเบส หรือสารละลายน้าเกลือ
4
เอกสารประกอบการสอน รายวิชาไฟฟ้า ว20204
การไหลของกระแสไฟฟ้าในเซลล์ไฟฟ้า
จากรูปแสดงการไหลของกระแสไฟฟ้า เราเรียกสารละลายที่ยอมให้กระแสไฟฟ้าไหลผ่านว่า สารละลาย
อิเล็กโทรไลต์ เนื่องจากเมื่อจุ่มแผ่นโลหะทั้งสองลงในสารละลายนั้นจะสังเกตเห็นฟองแก๊สเกิดขึ้น แสดงว่ามี
ปฏิกิริยาเกิดขึ้น นั่นก็แสดงว่าปฏิกิริยาเคมีสามารถทาให้เกิดกระแสไฟฟ้าได้ เราจึงเรียกแหล่งจ่ายไฟที่เกิดจาก
ปฏิกิริยาเคมีว่า เซลล์ไฟฟ้าเคมี เรียกแผ่นสังกะสีและแผ่นทองแดงที่จุ่มในสารละลายนี้ว่า ขั้วไฟฟ้า และเรียก
ทางเดินของกระแสไฟฟ้าจากขั้วหนึ่งไปอีกขั้วหนึ่งว่า วงจรไฟฟ้า โดยกระแสไฟฟ้าจะไหลจากขั้วที่มีพลังงานไฟฟ้า
สูงไปยังขั้วที่มีพลังงานไฟฟ้าต่ากว่า ทั้งนี้เราเรียกขั้วที่มีพลังงานสูงว่า ขั้วที่มีศักย์ไฟฟ้าสูง หรือ ขั้วบวก และเรียก
ขั้วที่มีพลังงานไฟฟ้าต่ากว่าว่า ขั้วที่มีศักย์ไฟฟ้าต่า หรือ ขั้วลบ ความแตกต่างของศักย์ไฟฟ้าระหว่างจุดสองจุด
ใดๆ ในวงจรไฟฟ้าเรียกว่า ความต่างศักย์ ซึ่งจะมีหน่วยเป็นโวลต์ (Volt : V) การที่น้าไหลจากที่สูงไปยังที่ต่า จะ
ไหลแรงก็ต่อเมื่อมีความต่างศักย์ของระดับน้าอยู่มาก และจะหยุดไหลเมื่อตาแหน่งของน้าทั้งสองอยู่ในระดับ
เดียวกัน ดังนั้นความต่างศักย์ระหว่างขั้วทั้งสองจึงก่อให้เกิดพลังงานไฟฟ้า ผลักดันประจุไฟฟ้าให้เคลื่อนที่ครบ
วงจรได้ จึงเรียกความต่างศักย์ระหว่างขั้วของเซลล์ไฟฟ้าว่า แรงเคลื่อนไฟฟ้า ซึ่งจะมีหน่วยเป็นโวลต์
ข้อสังเกต
1. จะไม่มีกระแสไฟฟ้าเกิดขึ้นในเซลล์ไฟฟ้าเคมีในกรณีต่อไปนี้
1.1 ยกแผ่นโลหะใดแผ่นโลหะหนึ่งออกจากสารละลาย
1.2 จัดปลายของแผ่นทองแดงและแผ่นสังกะสีส่วนที่จุ่มในสารละลายให้แตะกัน
1.3 ใช้โลหะชนิดเดียวกันทั้งสองแผ่นจุ่มลงในสารละลาย
1.4 นาแผ่นทองแดงและแผ่นสังกะสีจุ่มลงในสารละลายที่บรรจุอยู่ในบีกเกอร์ 2 ใบ โดยให้แผ่น
ทองแดงและแผ่นสังกะสีอยู่ในบีกเกอร์คนละใบ
2. การทดลองเซลล์ไฟฟ้าเคมีสามารถทดลองได้กับผลไม้ชนิดต่างๆ เช่น มะนาว ส้ม สับปะรด แตงโม
มะเขือเทศ เป็นต้น โดนใช้แผ่นสังกะสีและแผ่นทองแดงเสียบเข้าไปในผลไม้ที่นามาทดลองแล้วต่อสายไฟเข้ากับ
เครื่องวัดกระแสไฟฟ้า จะเห็นเข็มเบนไป ซึ่งจะมากหรือน้อยก็ขึ้นอยู่กับชนิดของผลไม้ที่มีสารละลายตัวนาไฟฟ้า
ประกอบอยู่
ภาพ แสดงเซลล์ไฟฟ้าเคมีจากผลไม้
ประเภทของเซลล์ไฟฟ้าเคมีแบ่งออกได้เป็น 2 ประเภท คือ
5
เอกสารประกอบการสอน รายวิชาไฟฟ้า ว20204
1. เซลล์ปฐมภูมิ (Primary cell) หมายถึง เซลล์ฟ้าที่ให้พลังานแล้วไม่สามารถนากลับมาใช้ใหม่ได้ เช่น
ถ่านไฟฉาย หรือเรียกอีกอย่างว่า เซลล์แห้ง
ภาพ แสดงส่วนประกอบของถ่ายไฟฉาย
 ถ่านไฟฉาย 1 ก้อน หรือ 1 เซลล์ มีความต่างศักย์ไฟฟ้า เท่ากับ 1.5 โวลต์
 เมื่อใช้งานไปนานๆ พลังงานไฟฟ้าจากถ่านไฟฉายจะลดลงและหมดไปในที่สุด
 แท่งแกรไฟต์หรือแท่งถ่าน (C) ทาหน้าที่เป็นขั้วบวก
 กระบอกสังกะสี (Zn) ทาหน้าที่เป็นขั้วลบ
 แอมโมเนียมคลอไรด์เปียก (NH4Cl) ทาหน้าที่เป็นอิเล็กโทรไลต์ หรือสารละลายนาไฟฟ้า
 แมงกานีสออกไดออกไซต์ (MnO2) ช่วยให้ความต่างศักย์ไฟฟ้าของถ่านไฟฉายคงที่
 ผงถ่าน (C) ทาหน้าที่ช่วยนาไฟฟ้า
ถ่านไฟฉาย 1 ก้อน หรือ 1 เซลล์ มีศักย์ไฟฟ้าหรือความต่างศักย์ระหว่างขั้วบวกและขั้วลบประมาณ 1.5
โวลต์ ให้กระแสไฟฟ้าตรง กระแสไฟฟ้าที่ไหลไปในทิศทางเดียวกัน จากขั้วบวกซึ่งมีศักย์ไฟฟ้าสูงไปยังขั้วลบซึ่งมี
ศักย์ไฟฟ้าต่า
2. เซลล์ทุติยภูมิ (Secondary cell) หมายถึง เซลล์ไฟฟ้าที่ให้พลังงานแล้วสามารถนากลับมาใช้ใหม่ได้
โดยการอัดไฟกลับเข้าไป (Change) เช่น แบตเตอรี่รถยนต์
ภาพ แสดงส่วนประกอบของเซลล์สะสมไฟฟ้าแบบตะกั่ว
แบตเตอรี่
แบตเตอรี่ หมายถึง เซลล์ไฟฟ้าตั้งแต่ 2 เซลล์ขึ้นไปถูกนามาต่อเข้าด้วยกัน ได้แก่ ถ่านไฟฉายหลายก้อน
ซึ่งนามาต่อเข้าด้วยกัน ให้พลังงานไฟฟ้ามากกว่าถ่ายไฟฉายก้อนเดียว ทั้งนี้เรากาหนดสัญลักษณ์ ขึ้น
เพื่อใช้แทนเซลล์ไฟฟ้า 1 เซลล์ เมื่อขีดยาวแทนขั้วบวก และขีดสั้นแทนขั้วลบ ในกรณีแบตเตอรี่มี 6 เซลล์ จะ
สามารถเขียนสัญลักษณ์แทนได้ดังนี้
6
เอกสารประกอบการสอน รายวิชาไฟฟ้า ว20204
 แบตเตอรี่รถยนต์ 1 เซลล์มีแรงเคลื่อนไฟฟ้า 2 โวลต์
 โดยทั่วไปนิยมต่อเซลล์เข้าด้วยกันแบบอนุกรม เช่น แบตเตอรี่ขนาด 6 โวลต์ แสดงว่ามี 3 เซลล์ต่อกัน
แบบอนุกรม
 ใน 1 เซลล์ประกอบด้วยแผ่นโลหะตะกั่ว (Pb) สองแผ่นเป็นขั้วบวกและขั้วลบของเซลล์
 มีสารละลายกรดซัลฟิวริกเจือจาง (H2SO4) เป็นอิเล็กโทรไลต์
 แบตเตอรี่จะใช้งานได้ในครั้งแรกต้องมีการอัดไฟก่อน
เมื่อใช้ไปนานๆ แผ่นโลหะที่ขั้วลบและขั้วบวกจะเปลี่ยนไปเป็นตะกั่วซัลเฟต (PbSO4) ทั้งคู่ ทาให้จ่ายไฟ
ต่อไปไม่ได้ ต้องนาไปประจุไฟหรืออัดไฟใหม่เพื่อนามาใช้งานต่อไป สมการปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นในแบตเตอรี่
ไดนาโม
ไดนาโม หรือเครื่องกาเนิดไฟฟ้าเป็นอุปกรณ์ที่เปลี่ยนพลังงานกลเป็นพลังงานไฟฟ้า หรือเกิดกระแส
ไฟฟ้าเหนี่ยวนาขึ้น
กระแสเหนี่ยวนา เป็นกระแสไฟฟ้าที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงสนามแม่เหล็กที่ผ่านขดลวด ซึ่งฟาราเดย์
เป็นผู้ค้นพบ ได้อธิบายว่า การเคลื่อนที่ของแท่งแม่เหล็กเข้าสู่หรือออกจากขดลวด หรือการเคลื่อนของขดลวดเข้า
สู่หรือออกจากแท่งแม่เหล็กจะทาให้ขดลวดตัวนาตัดกับสนามแม่เหล็ก จะทาให้ขดลวดตัวนาตัดกับเส้นแรง
แม่เหล็ก เป็นผลให้เส้นแรงแม่เหล็กที่ตัดกับขดลวดนั้นเกิดการเปลี่ยนแปลง จึงก่อให้เกิดแรงเคลื่อนไฟฟ้า
เหนี่ยวนาขึ้น เป็นเหตุให้กระแสไฟฟ้าไหลได้ในขดลวด ถ้าขวดลวดหรือแท่งแม่เหล็กเคลื่อนที่เข้าออกเร็วๆ จะได้
กระแสมากขึ้น
หรือสรุปได้ว่า ถ้าให้ขดลวดหมุนตัดกับสนามแม่เหล็ก จะเกิดกระแสไฟฟ้าขึ้นในขดลวด กระแสไฟฟ้าที่
เกิดขึ้นเรียกว่า กระแสไฟฟ้าเหนี่ยวนา จากการหลักการที่กล่าวมานี้ได้นามาสร้างเครื่องจ่ายกระแสไฟฟ้าที่
เรียกว่า ไดนาโม หรือที่ชาวบ้านเรียกกันว่า เครื่องทาไฟ
ไดนาโมหรือเครื่องกาเนิดไฟฟ้าที่ใช้กันอยู่ในปัจจุบันแบ่งได้เป็น 2 ชนิด คือ
1. ไดนาโมกระแสสลับ ไดนาโมชนิดนี้ประกอบด้วยขดลวดตัวนาติดตั้งไว้ระหว่างขั้วเหนือและขั้วใต้ของ
แม่เหล็ก ขดลวดนี้เรียกว่า ขดลวดอาร์เมเจอร์ ติดตั้งไว้สาหรับหมุนให้กักับเส้นแรงแม่เหล็ก (สนามแม่เหล็ก) ที่
ปลายทั้งสองของขดลวดมีวงแหวนลื่น (slip rings) เชื่อมติดอยู่วงแหวนนี้จะหมุนครูดสมผัสอยู่กับแปรงซึ่งต่อไป
ยังวงจรภายนอก หลักการเบื้องต้นของการเกิดไฟฟ้า กระแสสลับจากการทางานของไดนาโม
7
เอกสารประกอบการสอน รายวิชาไฟฟ้า ว20204
การหมุนขดลวดในไดนาโมกระแสสลับ
2. ไดนาโมกระแสตรง ไดนาโมชนิดนี้มีส่วนประกอบคล้ายกับไดนาโมกระแสสลับ แต่ปลายของขดลวด
แต่ละข้างติดอยู่กับแหวนแยก หรือคอมมิวเตเตอร์ (commutator) ครึ่งวงแหวนแต่ละซีกแตะอยูกับแปรง แปรง
แต่ซีกติดต่อกับวงจรภายนอก ดังรูป
การหมุนของขดลวดในไดนาโมกระแสตรง
ไดนาโมที่ใช้ผลิตกระแสไฟฟ้าปริมาณมากๆ เช่น ไดนาโมของโรงไฟฟ้า จะมีขดลวดจานวนมาก ดังนั้น
สายที่ต่อออกจากไดนาโมจึงมีมากกว่า 2 สาย ขึ้นอยู่กับปริมาณของขดลวดและการจัดระบบการพันขดลวด ใน
ปัจจุบันเครื่องกาเนิดไฟฟ้าประกอบด้วย 2 ส่วน คือ ส่วนที่หมุนได้ และส่วนที่อยู่กับที่ ซึ่งทั้งสองส่วนต่างมีขด
ลวดทองแดงฝังอยู่ โดยส่วนที่หมุนได้จะกาหนดให้ทาหน้าที่ผลิตสนามแม่เหล็กไปตัดกับขดลวดทองแดงที่ฝังอยู่ใน
ส่วนที่อยู่กับที่ ทาให้เกิดแรงดันไฟฟ้าและกระแสไฟฟ้าขึ้นมาใช้งาน
เซลล์สุริยะ (Solar cell)
เซลล์สุริยะ เป็นแหล่งจ่ายกระแสไฟฟ้าที่ได้จากการเปลี่ยนพลังงานแสงอาทิตย์มาเป็นพลังงานไฟฟ้า
เซลล์สุริยะ ทามาจากโลหะกึ่งตัวนา โดยมีแผ่นรับแสงที่ทาจากโลหะกึ่งตัวนาระหว่างซิลิคอนและ
ฟอสฟอรัส (Si + P) และแผ่นรองรับซึ่งทาจากโลหะกึ่งตัวนาระหว่างซิลิคอนกับโบรอน (Si + B) เชื่อมกันเป็น
รอยต่อพีเอ็น
8
เอกสารประกอบการสอน รายวิชาไฟฟ้า ว20204
ความต่างศักย์ไฟฟ้า (Potential Diffrence)
ความต่างศักย์ไฟฟ้า เกิดจากจุดสองจุดในวงจรไฟฟ้ามีศักย์ไฟฟ้าไม่เท่ากัน ทาให้เกิดความต่างศักย์ขึ้น
หรือเกิดจากงานที่ใช้นาไปประจุไฟฟ้าจากจุดที่มีศักย์ไฟฟ้าสูงกว่าไปยังจุดที่มีศักย์ไฟฟ้าต่ากว่า โดยความต่างศักย์
ที่เกิดขึ้นนี้สามารถวัดได้โดยใช้โวลมิเตอร์ (Volt meter) ซึ่งต่อขนานกับวงจรไฟฟ้า
ชนิดของความต่างศักย์ไฟฟ้า
1. ความต่างศักย์ไฟฟ้าภายนอกเซลล์หรือความต่างศักย์ไฟฟ้าระหว่างภายนอกขั้วเซลล์ คือ พลังงาน
หรืองานที่ใช้ในการเคลื่อนที่หรือถ่ายเทประจุ 1 หน่วย จากขั้วบวกผ่านความต้านทานภายนอกเซลล์ไปยังขั้วลบ
2. ความต่างศักย์ไฟฟ้าภายในเซลล์หรือความต่างศักย์ระหว่างภายในขั้วเซลล์ คือ พลังงานหรืองานที่ใช้
ในการเคลื่อนที่หรือถ่ายเทประจุ 1 หน่วย จากขั้วลบไปยังขั้วบวก
สูตรการคานวณ
โดยที่ V = ความต่างศักย์ไฟฟ้า มีหน่วยเป็นโวล์ (V)
W = งานที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของประจุ มีหน่วยเป็นจูล (J)
Q = ประจุไฟฟ้า มีหน่วยเป็นคูลอมบ์ (C)
สัญลักษณ์โวลต์มิเตอร์
ลักษณะของโวลต์มิเตอร์ที่ใช้ในการวัดค่าความต่างศักย์ไฟฟ้า
9
เอกสารประกอบการสอน รายวิชาไฟฟ้า ว20204
ข้อสังเกต : โวลต์มิเตอร์จะต้องต่อขนานกับตัวต้านทานเสมอ
แรงเคลื่อนไฟฟ้า (Electromotive Force หรือ EME)
แรงเคลื่อนไฟฟ้า คือ พลังงานหรืองานที่ใช้ในการเคลื่อนที่หรือถ่ายเทประจุ 1 หน่วย ตลอดวงจรทั้ง
ภายนอกและภายในเซลล์ มีค่าเท่ากับผลรวมของความต่างศักย์ไฟฟ้าภายนอกเซลล์กับความต่างศักย์ภายในเซลล์
แรงเคลื่อนไฟฟ้า = ความต่างศักย์ไฟฟ้าภายนอกเซลล์ทั้งหมด + ความต่างศักย์ไฟฟ้าภายในเซลล์
ทั้งหมด
E = ∑Vนอก + ∑Vใน
โดยที่ E = แรงเคลื่อนไฟฟ้า มีหน่วยเป็นโวลต์ (V)
Vภายนอก = ความต่างศักย์ภายนอกเซลล์
Vภายใน = ความต่างศักย์ภายในเซลล์
Vab = ความต่างศักย์ไฟฟ้าช่วง a ไป b
E = ความต่างศักย์ไฟฟ้าทั้งวงจร หรือ แรงเคลื่อนไฟฟ้า
หมายเหตุ
1. ∑ เป็นอักษรกรีก อ่านว่า ซิกมา หมายถึง ผลรวม
2. แรงเคลื่อนไฟฟ้าและความต่างศักย์ไฟฟ้า มีความหมายแตกต่างกัน แต่ถ้ากรณีความต่างศักย์ไฟฟ้า
ภายในเซลล์มีค่าน้อยมากหรือเป็นศูนย์ จะได้ว่า แรงเคลื่อนไฟฟ้า = ความต่างศักย์ไฟฟ้า
ความต้านทานไฟฟ้าและความนาไฟฟ้า
ความต้านทานไฟฟ้า (Resistance) และความนาไฟฟ้า (Conductance) มีความหมายแตกต่างกัน แต่
มีความสัมพันธ์กัน
ความต้านทานไฟฟ้าและความนาไฟฟ้า
10
เอกสารประกอบการสอน รายวิชาไฟฟ้า ว20204
เป็นสมบัติของสารแต่ละชนิดที่จะยอมให้กระแสไฟฟ้าไหลผ่านได้มากหรือน้อย
- ถ้าสารใดยอมให้กระแสไฟฟ้าไหลผ่านได้ มาก แสดงว่าสารนั้นมีความต้านทานไฟฟ้า น้อย
และมีความนาไฟฟ้า มาก
- ถ้าสารใดยอมให้กระแสไฟฟ้าไหลผ่านได้ น้อย แสดงว่าสารนั้นมีความต้านทานไฟฟ้า มาก
และมีความนาไฟฟ้า น้อย
ความสัมพันธ์ระหว่างความต้านทานไฟฟ้าและความนาไฟฟ้า เป็นดังนี้
โดยที่ R = ความต้านทานไฟฟ้า มีหน่วยเป็นโอห์ม (Ω)
G = ความนาไฟฟ้า มีหน่วยเป็นซีเมนต์ (S)
ปัจจัยที่ส่งผลต่อความต้านทานไฟฟ้า
1. ชนิดของสารที่เป็นตัวนา
โลหะจะนาไฟฟ้าได้ดี มีความต้านทานน้อย เช่น เหล็ก ทองแดง เงิน ซึ่งโลหะแต่ละ
ชนิดมีความสามารถในการนาไฟฟ้าแตกต่างกัน ดังนั้นโลหะแต่ละชนิดจึงมีสภาพต้านทานของตัวนาต่างกัน เช่น
เงินมีสภาพต้านทานไฟฟ้าน้อยกว่าทองแดง ส่วนอโลหะจะเป็นฉนวนไฟฟ้า เช่น พลาสติก ไม้ ยาง (ยกเว้น
แกรไฟต์สามารถนาไฟฟ้าได้ดี)
2. ความยาวของลวดตัวนา
ความต้านทานไฟฟ้าจะเป็นสัดส่วนโดยตรงกับความยาว ยิ่งยาวมากความต้านทาน
ไฟฟ้าจะยิ่งมาก เช่น ถ้าความยาวของเส้นลวดยาวเป็นสองเท่าของอีกเส้นหนึ่ง จะมีความต้านทานไฟฟ้าเป็นสอง
เท่าด้วย
3. พื้นที่หน้าตัดของตัวนา
ความต้านทานไฟฟ้าจะเป็นสัดส่วนผกผันหรือสัดส่วนกลับกันกับพื้นที่หน้าตัด คือ ยิ่ง
พื้นที่หน้าตัดมาก ความต้านทานไฟฟ้ายิ่งน้อย เช่น ถ้าพื้นที่หน้าตัดของเส้นลวดมีขนาดเป็นสองเท่าของอีกเส้น
หนึ่ง จะมีความต้านไฟฟ้าลดลงครึ่งหนึ่งด้วย
11
เอกสารประกอบการสอน รายวิชาไฟฟ้า ว20204
4. อุณหภูมิของลวดตัวนา
อุณหภูมิของโลหะตัวนา จะมีผลทาให้ความต้านทานไฟฟ้าเปลี่ยนแปลงไปด้วย คือ
เมื่ออุณภูมิเพิ่มขึ้น ความต้านทานไฟฟ้าจะมากขึ้น และเมื่ออุณภูมิลดลง ความต้านทานไฟฟ้าจะน้อยลง
ชนิดของความต้านทานไฟฟ้า
ความต้านทานไฟฟ้าแบ่งออกเป็น 2 ชนิดคือ
1. ความต้านทานไฟฟ้าภายนอก หมายถึง ความต้านทานไฟฟ้าภายนอกเซลล์ ใช้ตัวย่อ R
2. ความต้านทานไฟฟ้าภายในเซลล์ หมายถึง ความต้านทานไฟฟ้าภายในเซลล์ ใช้ตัวย่อ r
กฎของโอห์ม
เกอร์เก ซิโมน โอห์ม นักฟิสิกส์ชาวเยอรมัน ได้ศึกษาทดลองและตั้งเป็น กฎของโอห์ม (Ohm,s law)
ขึ้น โดยกล่าวไว้ว่า “อัตราส่วนของความต่างศักย์ไฟฟ้ากับกระแสไฟฟ้าที่ปลายลวดโลหะตัวนา มีค่าคงที่
เสมอ” นั่นคือ ความต่างศักย์ไฟฟ้าระหว่างปลายของตัวนาใดๆ จะเป็นสัดส่วนโดยตรงกับกระแสไฟฟ้าที่กาลัง
ไหลในช่วงหนึ่งในตัวนานั้นและค่าคงที่นี้ก็คือ ความต้านทานไฟฟ้า นั่นเอง ทั้งนี้อุณหภูมิจะต้องคงที่ไม่เปลี่ยน
แปลง ซึ่งเขียนเป็นสมการได้ว่า
เมื่อ V = ความต่างศักย์ไฟฟ้าที่ปลายทั้งสองของลวดตัวนา มีหน่วยเป็นโวลต์ (V)
I = กระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่านลวดตัวนา มีหน่วยเป็นแอมแปร์ (A)
R = ความต้านทานของลวดตัวนา มีหน่วยเป็นโอห์ม (Ω)
12
เอกสารประกอบการสอน รายวิชาไฟฟ้า ว20204
เพื่อให้จาได้ง่าย จะเขียนอยู่ในรูปของสามเหลี่ยม
เมื่อวงจรไฟฟ้ามีแรงเคลื่อนไฟฟ้าและความต้านทานภายใน
ดังนั้น กระแสไฟฟ้ารวมของวงจรจะหาได้จากอัตราส่วนของความต่างศักย์รวมกับความต้านทานรวม
นั่นเอง
การต่อความต้านทานภายในวงจรไฟฟ้ามี 3 แบบ คือ
1. การต่อตัวต้านทานแบบอนุกรม
เป็นการนาตัวต้านทานหลายๆ ตัวมาต่อกัน โดยปลายของตัวต้านทานหนึ่งต่อกับปลายของตัว
ต้านทานตัวถัดไป ดังรูป
รูปแสดง การต่อตัวต้านทานแบบอนุกรม
เมื่อนาตัวต้านทานมาต่อแบบอนุกรมจะได้
- ความต้านทานรวมมีค่ามากขึ้น ดังสมการ
Rรวม = R1 + R2 + R3 ……..
- กระแสไฟฟ้าที่ผ่านตัวต้านทานทุกตัวจะเท่ากันหมด
- ถ้าตัวต้านทานตัวใดขาดจะไม่มีกระแสไฟฟ้าไหลในวงจร
- ความต่างศักย์รวมจะมีค่าเท่ากับผลบวกของความศักย์ของตัวต้านทานแต่ละตัว
- ความต่างศักย์ของตัวต้านทานแต่ละตัวไม่เท่ากันขึ้นอยู่กับค่าความต้านทานของตัว
ต้านทานแต่ละตัว
ตัวอย่าง
จากรูป จงหาความต้านทานรวมของวงจร (Rรวม) กระแสไฟฟ้า (I) ที่ไหลผ่าน และค่าความต่างศักย์ (V)
ถ้ากาหนดให้ R1 = 1  R2 = 3  R3 = 4 
13
14
เอกสารประกอบการสอน รายวิชาไฟฟ้า ว20204
วิธีทา หาความต้านทานรวมของวงจร
จากสูตร Rรวม = R1 + R2 + R3
= 1 + 3 + 4
= 8 
หากระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่าน
จากสูตร Iรวม = I1 = I2 = I3
เมื่อ I1 คือ กระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่าน R1
I2 คือ กระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่าน R2
I3 คือ กระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่าน R3
Iรวม = I1 = I2 = I3
Iรวม = 4 A
หาค่าความต่างศักย์ไฟฟ้า
จากสูตร V = IR
V = 4  8
= 32 V
 ความต้านทานรวมของวงจรนี้เท่ากับ 8 โอห์ม มีกระแสไฟฟ้า 4 แอมแปร์ไหลผ่าน และมีความต่าง
ศักย์ 32 โวลต์
2. การต่อตัวต้านทานแบบขนาน
เป็นการต่อตัวต้านทานตั้งแต่ 2 ตัวขึ้นไปมาต่อแบบคร่อมขั้วกัน ดังรูป
รูปแสดง การต่อตัวต้านทานแบบขนาน
เมื่อนาตัวต้านทานมาต่อแบบขนานจะได้
เมื่อ R คือ ความต้านทานรวม
- กระแสไฟฟ้าที่ไหลในวงจรทั้งหมดจะเท่ากับผลบวกของกระแสที่ไหลผ่านตัวต้านทาน
แต่ละตัว
- ค่าความต่างศักย์ระหว่างปลายตัวต้านทานแต่ละตัวจะมีค่าเท่ากัน
15
เอกสารประกอบการสอน รายวิชาไฟฟ้า ว20204
- ถ้าตัวต้านทานตัวใดตัวหนึ่งขาด ก็ยังมีกระแสไฟฟ้าไหลในวงจร
ตัวอย่าง
ลวดความต้านทาน 3 ตัวต่อกันแบบขนาน ระหว่างจุด A และ B ความต้านทานรวมมีค่าเท่าไร
วิธีทา
 ความต้านทานระหว่างจุด A และ B เท่ากับ 0.54 โอห์ม
3. การต่อตัวต้านทานแบบผสม
เป็นการต่อตัวต้านทานแบบอนุกรมและขนานรวมกัน ดังรูป
รูปแสดง การต่อตัวต้านทานแบบผสม
ตัวอย่าง
จากรูป จงหาความต้านทานรวมระห่วางจุด A ถึงจุด C
วิธีทา 1. หาความต้านทานระหว่างจุด A และ B ต่อกันแบบขนาน จึงใช้สูตร
16
เอกสารประกอบการสอน รายวิชาไฟฟ้า ว20204
2. หาความต้านทานรวมที่ได้ต่ออนุกรมกับ 4 
จากสูตร Rรวม = R1 + R2
= 1.5 + 4
Rรวม = 5.5 
 ความต้านทานระหว่างจุด A ถึงจุด C เท่ากับ 5.5 โอห์ม

More Related Content

What's hot

บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3  พลังงานไฟฟ้าบทที่ 3  พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้าPinutchaya Nakchumroon
 
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศSupaluk Juntap
 
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสารความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสารdalarat
 
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าThaweekoon Intharachai
 
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1Wuttipong Tubkrathok
 
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102พัน พัน
 
05แบบฝึกกำลัง
05แบบฝึกกำลัง05แบบฝึกกำลัง
05แบบฝึกกำลังPhanuwat Somvongs
 
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบwebsite22556
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอกการสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอกThanyamon Chat.
 
แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่Supaluk Juntap
 
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อนเอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อนKobwit Piriyawat
 
บทที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
บทที่ 1 ธาตุและสารประกอบบทที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
บทที่ 1 ธาตุและสารประกอบJariya Jaiyot
 
พลังงานภายในระบบ
พลังงานภายในระบบพลังงานภายในระบบ
พลังงานภายในระบบChanthawan Suwanhitathorn
 
การถ่ายโอนความร้อน
การถ่ายโอนความร้อนการถ่ายโอนความร้อน
การถ่ายโอนความร้อนWuttipong Tubkrathok
 
02แบบฝึกพลังงาน
02แบบฝึกพลังงาน02แบบฝึกพลังงาน
02แบบฝึกพลังงานPhanuwat Somvongs
 
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าChakkrawut Mueangkhon
 

What's hot (20)

บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3  พลังงานไฟฟ้าบทที่ 3  พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
 
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
 
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสารความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
 
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
 
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
 
คลื่น
คลื่นคลื่น
คลื่น
 
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
 
05แบบฝึกกำลัง
05แบบฝึกกำลัง05แบบฝึกกำลัง
05แบบฝึกกำลัง
 
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
 
งานและพลังงาน (work and_energy)
งานและพลังงาน (work and_energy)งานและพลังงาน (work and_energy)
งานและพลังงาน (work and_energy)
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอกการสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
 
แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่
 
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อนเอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
 
บทที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
บทที่ 1 ธาตุและสารประกอบบทที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
บทที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
 
พลังงานภายในระบบ
พลังงานภายในระบบพลังงานภายในระบบ
พลังงานภายในระบบ
 
การถ่ายโอนความร้อน
การถ่ายโอนความร้อนการถ่ายโอนความร้อน
การถ่ายโอนความร้อน
 
02แบบฝึกพลังงาน
02แบบฝึกพลังงาน02แบบฝึกพลังงาน
02แบบฝึกพลังงาน
 
แหล่งกำเนิดไฟฟ้า (Electric source)
แหล่งกำเนิดไฟฟ้า (Electric source)แหล่งกำเนิดไฟฟ้า (Electric source)
แหล่งกำเนิดไฟฟ้า (Electric source)
 
การต่อตัวเก็บประจุไฟฟ้า
การต่อตัวเก็บประจุไฟฟ้าการต่อตัวเก็บประจุไฟฟ้า
การต่อตัวเก็บประจุไฟฟ้า
 
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
 

Viewers also liked

หน่วย1 กฏของโอห์ม
หน่วย1 กฏของโอห์มหน่วย1 กฏของโอห์ม
หน่วย1 กฏของโอห์มPornsak Tongma
 
หน่วย4 วงจรแบ่งแรงดันและวงจรแบ่งกระแส
หน่วย4 วงจรแบ่งแรงดันและวงจรแบ่งกระแสหน่วย4 วงจรแบ่งแรงดันและวงจรแบ่งกระแส
หน่วย4 วงจรแบ่งแรงดันและวงจรแบ่งกระแสPornsak Tongma
 
หน่วยที่3 การต่อวงจรความต้านทาน
หน่วยที่3 การต่อวงจรความต้านทานหน่วยที่3 การต่อวงจรความต้านทาน
หน่วยที่3 การต่อวงจรความต้านทานPornsak Tongma
 
ใบความรู้+การต่อหลอดไฟแบบอนุกรม+ป.6+297+dltvscip6+55t2sci p06 f07-1page
ใบความรู้+การต่อหลอดไฟแบบอนุกรม+ป.6+297+dltvscip6+55t2sci p06 f07-1pageใบความรู้+การต่อหลอดไฟแบบอนุกรม+ป.6+297+dltvscip6+55t2sci p06 f07-1page
ใบความรู้+การต่อหลอดไฟแบบอนุกรม+ป.6+297+dltvscip6+55t2sci p06 f07-1pagePrachoom Rangkasikorn
 
การต่อเซลล์ไฟฟ้า
การต่อเซลล์ไฟฟ้าการต่อเซลล์ไฟฟ้า
การต่อเซลล์ไฟฟ้าPrasert Boon
 
การต่อแอมมิเตอร์ โวลต์มิเตอร์1
การต่อแอมมิเตอร์     โวลต์มิเตอร์1การต่อแอมมิเตอร์     โวลต์มิเตอร์1
การต่อแอมมิเตอร์ โวลต์มิเตอร์1yasotornrit
 
ใบความรู้+วงจรไฟฟ้าอย่างง่าย+ป.6+297+dltvscip6+55t2sci p06 f22-1page
ใบความรู้+วงจรไฟฟ้าอย่างง่าย+ป.6+297+dltvscip6+55t2sci p06 f22-1pageใบความรู้+วงจรไฟฟ้าอย่างง่าย+ป.6+297+dltvscip6+55t2sci p06 f22-1page
ใบความรู้+วงจรไฟฟ้าอย่างง่าย+ป.6+297+dltvscip6+55t2sci p06 f22-1pagePrachoom Rangkasikorn
 
ใบความรู้+การต่อหลอดไฟแบบขนาน+ป.6+297+dltvscip6+55t2sci p06 f06-1page
ใบความรู้+การต่อหลอดไฟแบบขนาน+ป.6+297+dltvscip6+55t2sci p06 f06-1pageใบความรู้+การต่อหลอดไฟแบบขนาน+ป.6+297+dltvscip6+55t2sci p06 f06-1page
ใบความรู้+การต่อหลอดไฟแบบขนาน+ป.6+297+dltvscip6+55t2sci p06 f06-1pagePrachoom Rangkasikorn
 
การต่อวงจรไฟฟ้า.Pptx -1
การต่อวงจรไฟฟ้า.Pptx -1การต่อวงจรไฟฟ้า.Pptx -1
การต่อวงจรไฟฟ้า.Pptx -1njoyok
 
ใบความรู้+การต่อถ่านไฟฉายแบบขนาน+ป.6+297+dltvscip6+55t2sci p06 f04-1page
ใบความรู้+การต่อถ่านไฟฉายแบบขนาน+ป.6+297+dltvscip6+55t2sci p06 f04-1pageใบความรู้+การต่อถ่านไฟฉายแบบขนาน+ป.6+297+dltvscip6+55t2sci p06 f04-1page
ใบความรู้+การต่อถ่านไฟฉายแบบขนาน+ป.6+297+dltvscip6+55t2sci p06 f04-1pagePrachoom Rangkasikorn
 
ใบความรู้+การต่อหลอดไฟแบบขนาน+ป.6+297+dltvscip6+55t2sci p06 f06-4page
ใบความรู้+การต่อหลอดไฟแบบขนาน+ป.6+297+dltvscip6+55t2sci p06 f06-4pageใบความรู้+การต่อหลอดไฟแบบขนาน+ป.6+297+dltvscip6+55t2sci p06 f06-4page
ใบความรู้+การต่อหลอดไฟแบบขนาน+ป.6+297+dltvscip6+55t2sci p06 f06-4pagePrachoom Rangkasikorn
 
ใบความรู้+แม่เหล็กไฟฟ้า+ป.6+297+dltvscip6+55t2sci p06 f32-1page
ใบความรู้+แม่เหล็กไฟฟ้า+ป.6+297+dltvscip6+55t2sci p06 f32-1pageใบความรู้+แม่เหล็กไฟฟ้า+ป.6+297+dltvscip6+55t2sci p06 f32-1page
ใบความรู้+แม่เหล็กไฟฟ้า+ป.6+297+dltvscip6+55t2sci p06 f32-1pagePrachoom Rangkasikorn
 
แม่เหล็กไฟฟ้า
แม่เหล็กไฟฟ้าแม่เหล็กไฟฟ้า
แม่เหล็กไฟฟ้าTheerawat Duangsin
 
วิทยาศาสตร์ ป.6 ไฟฟ้าน่ารู้
วิทยาศาสตร์ ป.6 ไฟฟ้าน่ารู้วิทยาศาสตร์ ป.6 ไฟฟ้าน่ารู้
วิทยาศาสตร์ ป.6 ไฟฟ้าน่ารู้สุทน ดอนไพร
 
Wp3หน่วยย่อยที่ 1 วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น กิจกรรม1
Wp3หน่วยย่อยที่ 1 วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น กิจกรรม1Wp3หน่วยย่อยที่ 1 วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น กิจกรรม1
Wp3หน่วยย่อยที่ 1 วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น กิจกรรม1krupornpana55
 
วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า ม3
วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า  ม3วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า  ม3
วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า ม3Mew Meww
 
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...Prachoom Rangkasikorn
 
ทบทวนไฟฟ้าอย่างง่าย
ทบทวนไฟฟ้าอย่างง่ายทบทวนไฟฟ้าอย่างง่าย
ทบทวนไฟฟ้าอย่างง่ายkrupornpana55
 

Viewers also liked (19)

หน่วย1 กฏของโอห์ม
หน่วย1 กฏของโอห์มหน่วย1 กฏของโอห์ม
หน่วย1 กฏของโอห์ม
 
หน่วย4 วงจรแบ่งแรงดันและวงจรแบ่งกระแส
หน่วย4 วงจรแบ่งแรงดันและวงจรแบ่งกระแสหน่วย4 วงจรแบ่งแรงดันและวงจรแบ่งกระแส
หน่วย4 วงจรแบ่งแรงดันและวงจรแบ่งกระแส
 
หน่วยที่3 การต่อวงจรความต้านทาน
หน่วยที่3 การต่อวงจรความต้านทานหน่วยที่3 การต่อวงจรความต้านทาน
หน่วยที่3 การต่อวงจรความต้านทาน
 
ใบความรู้+การต่อหลอดไฟแบบอนุกรม+ป.6+297+dltvscip6+55t2sci p06 f07-1page
ใบความรู้+การต่อหลอดไฟแบบอนุกรม+ป.6+297+dltvscip6+55t2sci p06 f07-1pageใบความรู้+การต่อหลอดไฟแบบอนุกรม+ป.6+297+dltvscip6+55t2sci p06 f07-1page
ใบความรู้+การต่อหลอดไฟแบบอนุกรม+ป.6+297+dltvscip6+55t2sci p06 f07-1page
 
การต่อเซลล์ไฟฟ้า
การต่อเซลล์ไฟฟ้าการต่อเซลล์ไฟฟ้า
การต่อเซลล์ไฟฟ้า
 
การต่อแอมมิเตอร์ โวลต์มิเตอร์1
การต่อแอมมิเตอร์     โวลต์มิเตอร์1การต่อแอมมิเตอร์     โวลต์มิเตอร์1
การต่อแอมมิเตอร์ โวลต์มิเตอร์1
 
ใบความรู้+วงจรไฟฟ้าอย่างง่าย+ป.6+297+dltvscip6+55t2sci p06 f22-1page
ใบความรู้+วงจรไฟฟ้าอย่างง่าย+ป.6+297+dltvscip6+55t2sci p06 f22-1pageใบความรู้+วงจรไฟฟ้าอย่างง่าย+ป.6+297+dltvscip6+55t2sci p06 f22-1page
ใบความรู้+วงจรไฟฟ้าอย่างง่าย+ป.6+297+dltvscip6+55t2sci p06 f22-1page
 
ใบความรู้+การต่อหลอดไฟแบบขนาน+ป.6+297+dltvscip6+55t2sci p06 f06-1page
ใบความรู้+การต่อหลอดไฟแบบขนาน+ป.6+297+dltvscip6+55t2sci p06 f06-1pageใบความรู้+การต่อหลอดไฟแบบขนาน+ป.6+297+dltvscip6+55t2sci p06 f06-1page
ใบความรู้+การต่อหลอดไฟแบบขนาน+ป.6+297+dltvscip6+55t2sci p06 f06-1page
 
การต่อวงจรไฟฟ้า.Pptx -1
การต่อวงจรไฟฟ้า.Pptx -1การต่อวงจรไฟฟ้า.Pptx -1
การต่อวงจรไฟฟ้า.Pptx -1
 
ใบความรู้+การต่อถ่านไฟฉายแบบขนาน+ป.6+297+dltvscip6+55t2sci p06 f04-1page
ใบความรู้+การต่อถ่านไฟฉายแบบขนาน+ป.6+297+dltvscip6+55t2sci p06 f04-1pageใบความรู้+การต่อถ่านไฟฉายแบบขนาน+ป.6+297+dltvscip6+55t2sci p06 f04-1page
ใบความรู้+การต่อถ่านไฟฉายแบบขนาน+ป.6+297+dltvscip6+55t2sci p06 f04-1page
 
ใบความรู้+การต่อหลอดไฟแบบขนาน+ป.6+297+dltvscip6+55t2sci p06 f06-4page
ใบความรู้+การต่อหลอดไฟแบบขนาน+ป.6+297+dltvscip6+55t2sci p06 f06-4pageใบความรู้+การต่อหลอดไฟแบบขนาน+ป.6+297+dltvscip6+55t2sci p06 f06-4page
ใบความรู้+การต่อหลอดไฟแบบขนาน+ป.6+297+dltvscip6+55t2sci p06 f06-4page
 
ใบความรู้+แม่เหล็กไฟฟ้า+ป.6+297+dltvscip6+55t2sci p06 f32-1page
ใบความรู้+แม่เหล็กไฟฟ้า+ป.6+297+dltvscip6+55t2sci p06 f32-1pageใบความรู้+แม่เหล็กไฟฟ้า+ป.6+297+dltvscip6+55t2sci p06 f32-1page
ใบความรู้+แม่เหล็กไฟฟ้า+ป.6+297+dltvscip6+55t2sci p06 f32-1page
 
แม่เหล็กไฟฟ้า
แม่เหล็กไฟฟ้าแม่เหล็กไฟฟ้า
แม่เหล็กไฟฟ้า
 
ใบความรู้สนามแม่เหล็ก
ใบความรู้สนามแม่เหล็กใบความรู้สนามแม่เหล็ก
ใบความรู้สนามแม่เหล็ก
 
วิทยาศาสตร์ ป.6 ไฟฟ้าน่ารู้
วิทยาศาสตร์ ป.6 ไฟฟ้าน่ารู้วิทยาศาสตร์ ป.6 ไฟฟ้าน่ารู้
วิทยาศาสตร์ ป.6 ไฟฟ้าน่ารู้
 
Wp3หน่วยย่อยที่ 1 วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น กิจกรรม1
Wp3หน่วยย่อยที่ 1 วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น กิจกรรม1Wp3หน่วยย่อยที่ 1 วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น กิจกรรม1
Wp3หน่วยย่อยที่ 1 วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น กิจกรรม1
 
วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า ม3
วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า  ม3วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า  ม3
วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า ม3
 
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...
 
ทบทวนไฟฟ้าอย่างง่าย
ทบทวนไฟฟ้าอย่างง่ายทบทวนไฟฟ้าอย่างง่าย
ทบทวนไฟฟ้าอย่างง่าย
 

Similar to ใบความรู้ เรื่อง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และความต้านทานไฟฟ้า

Chapter 1 แหล่งกำเนิดไฟฟ้าและอุปกรณ์ไฟฟ้า
Chapter 1 แหล่งกำเนิดไฟฟ้าและอุปกรณ์ไฟฟ้าChapter 1 แหล่งกำเนิดไฟฟ้าและอุปกรณ์ไฟฟ้า
Chapter 1 แหล่งกำเนิดไฟฟ้าและอุปกรณ์ไฟฟ้าNapasorn Juiin
 
ไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิตไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิตArocha Chaichana
 
พลังงานไฟฟ้า (1)
พลังงานไฟฟ้า (1)พลังงานไฟฟ้า (1)
พลังงานไฟฟ้า (1)Nontawat Rupsung
 
พลังงานไฟฟ้า (1)
พลังงานไฟฟ้า (1)พลังงานไฟฟ้า (1)
พลังงานไฟฟ้า (1)Nontawat Rupsung
 
เอกสารประกอบการสอนอิเล็กทรอนิกส์ขั้นพื้นฐาน โดย อ.นาถวดี
เอกสารประกอบการสอนอิเล็กทรอนิกส์ขั้นพื้นฐาน โดย อ.นาถวดีเอกสารประกอบการสอนอิเล็กทรอนิกส์ขั้นพื้นฐาน โดย อ.นาถวดี
เอกสารประกอบการสอนอิเล็กทรอนิกส์ขั้นพื้นฐาน โดย อ.นาถวดีtearchersittikon
 
โครงงานไฟฟ้า
โครงงานไฟฟ้าโครงงานไฟฟ้า
โครงงานไฟฟ้าrattanapon
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าthanawan302
 
พลังงานไฟฟ้า
พลังงานไฟฟ้าพลังงานไฟฟ้า
พลังงานไฟฟ้าwongteamjan
 
เรื่อง ไฟฟ้า
เรื่อง ไฟฟ้าเรื่อง ไฟฟ้า
เรื่อง ไฟฟ้าSudarat303FKK
 
เรื่อง
 เรื่อง เรื่อง
เรื่องnazaoo8
 
เรื่อง ไฟฟ้า
เรื่อง ไฟฟ้าเรื่อง ไฟฟ้า
เรื่อง ไฟฟ้าSudarat303FKK
 
เรื่อง ไฟฟ้า
เรื่อง ไฟฟ้าเรื่อง ไฟฟ้า
เรื่อง ไฟฟ้าSudarat303FKK
 
เซลล์กัลวานิก
เซลล์กัลวานิกเซลล์กัลวานิก
เซลล์กัลวานิกsailom
 
งานวิทย์
งานวิทย์งานวิทย์
งานวิทย์thanawan302
 
งานวิทย์
งานวิทย์งานวิทย์
งานวิทย์thanawan302
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าthanawan302
 

Similar to ใบความรู้ เรื่อง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และความต้านทานไฟฟ้า (20)

ใบความรู้.05
ใบความรู้.05ใบความรู้.05
ใบความรู้.05
 
Chapter 1 แหล่งกำเนิดไฟฟ้าและอุปกรณ์ไฟฟ้า
Chapter 1 แหล่งกำเนิดไฟฟ้าและอุปกรณ์ไฟฟ้าChapter 1 แหล่งกำเนิดไฟฟ้าและอุปกรณ์ไฟฟ้า
Chapter 1 แหล่งกำเนิดไฟฟ้าและอุปกรณ์ไฟฟ้า
 
ไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิตไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิต
 
ไฟฟ้าเคมี
ไฟฟ้าเคมีไฟฟ้าเคมี
ไฟฟ้าเคมี
 
ไฟฟ้าเคมี
ไฟฟ้าเคมีไฟฟ้าเคมี
ไฟฟ้าเคมี
 
ไฟฟ้าเคมี1
ไฟฟ้าเคมี1ไฟฟ้าเคมี1
ไฟฟ้าเคมี1
 
พลังงานไฟฟ้า (1)
พลังงานไฟฟ้า (1)พลังงานไฟฟ้า (1)
พลังงานไฟฟ้า (1)
 
พลังงานไฟฟ้า (1)
พลังงานไฟฟ้า (1)พลังงานไฟฟ้า (1)
พลังงานไฟฟ้า (1)
 
เอกสารประกอบการสอนอิเล็กทรอนิกส์ขั้นพื้นฐาน โดย อ.นาถวดี
เอกสารประกอบการสอนอิเล็กทรอนิกส์ขั้นพื้นฐาน โดย อ.นาถวดีเอกสารประกอบการสอนอิเล็กทรอนิกส์ขั้นพื้นฐาน โดย อ.นาถวดี
เอกสารประกอบการสอนอิเล็กทรอนิกส์ขั้นพื้นฐาน โดย อ.นาถวดี
 
โครงงานไฟฟ้า
โครงงานไฟฟ้าโครงงานไฟฟ้า
โครงงานไฟฟ้า
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
 
พลังงานไฟฟ้า
พลังงานไฟฟ้าพลังงานไฟฟ้า
พลังงานไฟฟ้า
 
เรื่อง ไฟฟ้า
เรื่อง ไฟฟ้าเรื่อง ไฟฟ้า
เรื่อง ไฟฟ้า
 
เรื่อง
 เรื่อง เรื่อง
เรื่อง
 
เรื่อง ไฟฟ้า
เรื่อง ไฟฟ้าเรื่อง ไฟฟ้า
เรื่อง ไฟฟ้า
 
เรื่อง ไฟฟ้า
เรื่อง ไฟฟ้าเรื่อง ไฟฟ้า
เรื่อง ไฟฟ้า
 
เซลล์กัลวานิก
เซลล์กัลวานิกเซลล์กัลวานิก
เซลล์กัลวานิก
 
งานวิทย์
งานวิทย์งานวิทย์
งานวิทย์
 
งานวิทย์
งานวิทย์งานวิทย์
งานวิทย์
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
 

More from พัน พัน

เรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการเรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการพัน พัน
 
เรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีเรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีพัน พัน
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรการเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรพัน พัน
 
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยพัน พัน
 
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศพัน พัน
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นพัน พัน
 
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นพัน พัน
 
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้พัน พัน
 

More from พัน พัน (20)

เรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการเรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการ
 
เรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีเรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซี
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
 
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรการเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
 
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
 
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์
 
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
 
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
 
เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
การปริ้น
การปริ้นการปริ้น
การปริ้น
 
Office
OfficeOffice
Office
 
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
 
ยาเสพติด
ยาเสพติดยาเสพติด
ยาเสพติด
 

ใบความรู้ เรื่อง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และความต้านทานไฟฟ้า

  • 1. เอกสารประกอบการสอน รายวิชาไฟฟ้า ว20204 ประจุไฟฟ้า (Electric Charge) คือ ตัวการที่ทาให้เกิดอานาจทางไฟฟ้า แบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ 1. ประจุไฟฟ้าบวก (Positive Charge) คือ การที่วัตถุสูญเสียอิเล็กตรอนไป 2. ประจุไฟฟ้าลบ (Negative Charge) คือ การที่วัตถุได้รับอิเล็กตรอนเพิ่มเข้ามา สมบัติของแรงระหว่างประจุ 1. ประจุชนิดเดียวกันจะผลักกัน และประจุต่างชนิดกันจะดูดกัน 2. ประจุไฟฟ้าบวกหรือประจุไฟฟ้าลบก็ตามจะดึงดูดวัตถุที่เป็นกลางทางไฟฟ้าเสมอ 3. แรงระหว่างประจุไฟฟ้ามี 2 แรง คือ แรงดูดและแรงผลัก และเป็นปริมาณเวกเตอร์ ชนิดของไฟฟ้า : ไฟฟ้าสามารถแบ่งตามการเคลื่อนที่ของประจุไฟฟ้าได้ 2 ชนิด คือ 1. ไฟฟ้าสถิต (Static Electricity) หมายถึง ประจุไฟฟ้าที่อยู่ในวัตถุนั้นอยู่นิ่ง ไม่มีการเคลื่อนที่ 2. ไฟฟ้ากระแส (Current Electricity) หมายถึง ประจุไฟฟ้าที่อยู่ในวัตถุนั้นมีการเคลื่อนที่ หรือถ่ายเท ประจุ กระแสไฟฟ้า (Electric Current) กระแสไฟฟ้า คือ ปริมาณของประจุไฟฟ้าที่มีการถ่ายเทหรือเคลื่อนที่ในหนึ่งหน่วยเวลา โดยการเกิด ความต่างศักย์ไฟฟ้าขึ้นระหว่าง 2 บริเวณ กระแสไฟฟ้า สามารถแบ่งได้ 2 แบบ คือ 1. กระแสสมมติ เป็นกระแสไฟฟ้าที่เกิดจากการถ่ายเทหรือเคลื่อนที่ของประจุบวก โดยไหลจาก ศักย์ไฟฟ้าสูงไปยังศักย์ไฟฟ้าต่า หรือไหลจากขั้วบวกไปยังขั้วลบของเซลล์ไฟฟ้า (กระแสไฟฟ้าจะหมายถึงกระแส สมมติเสมอ) 2. กระแสอิเล็กตรอน เป็นกระแสไฟฟ้าที่เกิดจาการถ่ายเทหรือเคลื่อนที่ของประจุลบหรืออิเล็กตรอน โดยไหลจากศักย์ไฟฟ้าต่าไปยังศักย์ไฟฟ้าสูง หรือไหลจากขั้วลบไปยังขั้วบวกของเซลล์ไฟฟ้า ทิศทางการไหลของกระแสไฟฟ้า กระแสไฟฟ้าจะไหลจากศักย์สูง ไปยังศักย์ต่า หรือไหลจากขั้วบวก (+) ไปยังขั้วลบ (-) หรือไหลจากขั้ว แอโนด (Anode) ไปยังแคโทด (Cathode) กระแสไฟฟ้า ความต่างศักย์ไฟฟ้า และความต้านทาน 2 3
  • 2. เอกสารประกอบการสอน รายวิชาไฟฟ้า ว20204 สูตรการคานวณ I = กระแสไฟฟ้า มีหน่วยเป็นคูลอมบ์ต่อวินาที หรือแอมแปร์ (A) Q = ประจุไฟฟ้า มีหน่วยเป็นคูลอมบ์ (C) t = เวลา มีหน่วยเป็นวินาที (s) ชนิดของกระแสไฟฟ้า 1. ไฟฟ้ากระแสตรง (Direct Current, D.C.) หมายถึง กระแสไฟฟ้าที่มีทิศทางการไหลเพียงทิศทางเดียว จากขั้วบวกผ่านวงจรไปยังขั้วลบอยู่ ตลอดเวลา เช่น กระแสไฟฟ้าจากถ่านไฟฉาย แบตเตอรี่ แบตเตอรี่รถยนต์ ไดนาโมกระแสตรง เป็นต้น 2. ไฟฟ้ากระแสสลับ (Alternating Current, A.C.) หมายถึง กระแสไฟฟ้าที่มีทิศทางการไหลสวนทางสลับกันไปมาอยู่ตลอดเวลา เช่น กระแสไฟฟ้า ที่ได้จากไดนาโมกระแสสลับที่นามาใช้อยู่ตามอาคารบ้านเรือนทั่วไป แหล่งกาเนิดกระแสไฟฟ้า กระแสไฟฟ้ามีแหล่งกาเนิดมาจากเซลล์ไฟฟ้าเคมี เครื่องกาเนิดไฟฟ้าหรือไดนาโม และเซลล์สุริยะ เป็น ต้น เซลล์ไฟฟ้าเคมี เมื่อจุ่มแผ่นทองแดงและแผ่นสังกะสีลงในกรดซัลฟิวริกเจือจาง จะมีฟองแก๊สเกิดขึ้น และเมื่อต่อลวด โลหะระหว่างแผ่นโลหะทั้งสองเข้าด้วยกัน จะมีกระแสไฟฟ้าไหลผ่านในเส้นลวด หลักการดังกล่าวนี้ เป็นหลักการ ของเซลล์ไฟฟ้าเคมี ซึ่งค้นพบโดยวอลตา นักวิทยาศาสตร์ชาวอิตาเลียน เมื่อ ค.ศ. 1800 เซลล์ไฟฟ้าเคมี คือ อุปกรณ์ที่สามารถผลิตกระแสไฟฟ้าขึ้นมาโดยอาศัยการเกิดปฏิกิริยาเคมี หรือ หมายถึง อุปกรณ์ที่ทาหน้าที่เปลี่ยนแปลงพลังงานเคมีให้เป็นพลังงานไฟฟ้า ส่วนประกอบของเซลล์ไฟฟ้าเคมี ประกอบด้วย 1. ขั้วไฟฟ้าซึ่งทาจากโลหะ 2 ชนิด ซึ่งจะแตกตัวเป็นไอออนได้ไม่เท่ากัน โลหะที่ทาหน้าที่เป็น ขั้วไฟฟ้าเรียกว่า อิเล็กโทรด (Electrode) โดยขั้วหนึ่งเป็นขั้วบวก (แอโนด) อีกขั้วหนึ่งเป็นขั้วลบ (แคโทด) 2. สารละลายไฟฟ้า คือ สารละลายที่ยอมให้กระแสไฟฟ้าไหลผ่านได้ ทาหน้าที่เป็นสารละลายอิ เล็กโทรไลต์ และสามารถแตกตัวเป็นไอออนได้ เช่น สารละลายกรด สารละลายเบส หรือสารละลายน้าเกลือ 4
  • 3. เอกสารประกอบการสอน รายวิชาไฟฟ้า ว20204 การไหลของกระแสไฟฟ้าในเซลล์ไฟฟ้า จากรูปแสดงการไหลของกระแสไฟฟ้า เราเรียกสารละลายที่ยอมให้กระแสไฟฟ้าไหลผ่านว่า สารละลาย อิเล็กโทรไลต์ เนื่องจากเมื่อจุ่มแผ่นโลหะทั้งสองลงในสารละลายนั้นจะสังเกตเห็นฟองแก๊สเกิดขึ้น แสดงว่ามี ปฏิกิริยาเกิดขึ้น นั่นก็แสดงว่าปฏิกิริยาเคมีสามารถทาให้เกิดกระแสไฟฟ้าได้ เราจึงเรียกแหล่งจ่ายไฟที่เกิดจาก ปฏิกิริยาเคมีว่า เซลล์ไฟฟ้าเคมี เรียกแผ่นสังกะสีและแผ่นทองแดงที่จุ่มในสารละลายนี้ว่า ขั้วไฟฟ้า และเรียก ทางเดินของกระแสไฟฟ้าจากขั้วหนึ่งไปอีกขั้วหนึ่งว่า วงจรไฟฟ้า โดยกระแสไฟฟ้าจะไหลจากขั้วที่มีพลังงานไฟฟ้า สูงไปยังขั้วที่มีพลังงานไฟฟ้าต่ากว่า ทั้งนี้เราเรียกขั้วที่มีพลังงานสูงว่า ขั้วที่มีศักย์ไฟฟ้าสูง หรือ ขั้วบวก และเรียก ขั้วที่มีพลังงานไฟฟ้าต่ากว่าว่า ขั้วที่มีศักย์ไฟฟ้าต่า หรือ ขั้วลบ ความแตกต่างของศักย์ไฟฟ้าระหว่างจุดสองจุด ใดๆ ในวงจรไฟฟ้าเรียกว่า ความต่างศักย์ ซึ่งจะมีหน่วยเป็นโวลต์ (Volt : V) การที่น้าไหลจากที่สูงไปยังที่ต่า จะ ไหลแรงก็ต่อเมื่อมีความต่างศักย์ของระดับน้าอยู่มาก และจะหยุดไหลเมื่อตาแหน่งของน้าทั้งสองอยู่ในระดับ เดียวกัน ดังนั้นความต่างศักย์ระหว่างขั้วทั้งสองจึงก่อให้เกิดพลังงานไฟฟ้า ผลักดันประจุไฟฟ้าให้เคลื่อนที่ครบ วงจรได้ จึงเรียกความต่างศักย์ระหว่างขั้วของเซลล์ไฟฟ้าว่า แรงเคลื่อนไฟฟ้า ซึ่งจะมีหน่วยเป็นโวลต์ ข้อสังเกต 1. จะไม่มีกระแสไฟฟ้าเกิดขึ้นในเซลล์ไฟฟ้าเคมีในกรณีต่อไปนี้ 1.1 ยกแผ่นโลหะใดแผ่นโลหะหนึ่งออกจากสารละลาย 1.2 จัดปลายของแผ่นทองแดงและแผ่นสังกะสีส่วนที่จุ่มในสารละลายให้แตะกัน 1.3 ใช้โลหะชนิดเดียวกันทั้งสองแผ่นจุ่มลงในสารละลาย 1.4 นาแผ่นทองแดงและแผ่นสังกะสีจุ่มลงในสารละลายที่บรรจุอยู่ในบีกเกอร์ 2 ใบ โดยให้แผ่น ทองแดงและแผ่นสังกะสีอยู่ในบีกเกอร์คนละใบ 2. การทดลองเซลล์ไฟฟ้าเคมีสามารถทดลองได้กับผลไม้ชนิดต่างๆ เช่น มะนาว ส้ม สับปะรด แตงโม มะเขือเทศ เป็นต้น โดนใช้แผ่นสังกะสีและแผ่นทองแดงเสียบเข้าไปในผลไม้ที่นามาทดลองแล้วต่อสายไฟเข้ากับ เครื่องวัดกระแสไฟฟ้า จะเห็นเข็มเบนไป ซึ่งจะมากหรือน้อยก็ขึ้นอยู่กับชนิดของผลไม้ที่มีสารละลายตัวนาไฟฟ้า ประกอบอยู่ ภาพ แสดงเซลล์ไฟฟ้าเคมีจากผลไม้ ประเภทของเซลล์ไฟฟ้าเคมีแบ่งออกได้เป็น 2 ประเภท คือ 5
  • 4. เอกสารประกอบการสอน รายวิชาไฟฟ้า ว20204 1. เซลล์ปฐมภูมิ (Primary cell) หมายถึง เซลล์ฟ้าที่ให้พลังานแล้วไม่สามารถนากลับมาใช้ใหม่ได้ เช่น ถ่านไฟฉาย หรือเรียกอีกอย่างว่า เซลล์แห้ง ภาพ แสดงส่วนประกอบของถ่ายไฟฉาย  ถ่านไฟฉาย 1 ก้อน หรือ 1 เซลล์ มีความต่างศักย์ไฟฟ้า เท่ากับ 1.5 โวลต์  เมื่อใช้งานไปนานๆ พลังงานไฟฟ้าจากถ่านไฟฉายจะลดลงและหมดไปในที่สุด  แท่งแกรไฟต์หรือแท่งถ่าน (C) ทาหน้าที่เป็นขั้วบวก  กระบอกสังกะสี (Zn) ทาหน้าที่เป็นขั้วลบ  แอมโมเนียมคลอไรด์เปียก (NH4Cl) ทาหน้าที่เป็นอิเล็กโทรไลต์ หรือสารละลายนาไฟฟ้า  แมงกานีสออกไดออกไซต์ (MnO2) ช่วยให้ความต่างศักย์ไฟฟ้าของถ่านไฟฉายคงที่  ผงถ่าน (C) ทาหน้าที่ช่วยนาไฟฟ้า ถ่านไฟฉาย 1 ก้อน หรือ 1 เซลล์ มีศักย์ไฟฟ้าหรือความต่างศักย์ระหว่างขั้วบวกและขั้วลบประมาณ 1.5 โวลต์ ให้กระแสไฟฟ้าตรง กระแสไฟฟ้าที่ไหลไปในทิศทางเดียวกัน จากขั้วบวกซึ่งมีศักย์ไฟฟ้าสูงไปยังขั้วลบซึ่งมี ศักย์ไฟฟ้าต่า 2. เซลล์ทุติยภูมิ (Secondary cell) หมายถึง เซลล์ไฟฟ้าที่ให้พลังงานแล้วสามารถนากลับมาใช้ใหม่ได้ โดยการอัดไฟกลับเข้าไป (Change) เช่น แบตเตอรี่รถยนต์ ภาพ แสดงส่วนประกอบของเซลล์สะสมไฟฟ้าแบบตะกั่ว แบตเตอรี่ แบตเตอรี่ หมายถึง เซลล์ไฟฟ้าตั้งแต่ 2 เซลล์ขึ้นไปถูกนามาต่อเข้าด้วยกัน ได้แก่ ถ่านไฟฉายหลายก้อน ซึ่งนามาต่อเข้าด้วยกัน ให้พลังงานไฟฟ้ามากกว่าถ่ายไฟฉายก้อนเดียว ทั้งนี้เรากาหนดสัญลักษณ์ ขึ้น เพื่อใช้แทนเซลล์ไฟฟ้า 1 เซลล์ เมื่อขีดยาวแทนขั้วบวก และขีดสั้นแทนขั้วลบ ในกรณีแบตเตอรี่มี 6 เซลล์ จะ สามารถเขียนสัญลักษณ์แทนได้ดังนี้ 6
  • 5. เอกสารประกอบการสอน รายวิชาไฟฟ้า ว20204  แบตเตอรี่รถยนต์ 1 เซลล์มีแรงเคลื่อนไฟฟ้า 2 โวลต์  โดยทั่วไปนิยมต่อเซลล์เข้าด้วยกันแบบอนุกรม เช่น แบตเตอรี่ขนาด 6 โวลต์ แสดงว่ามี 3 เซลล์ต่อกัน แบบอนุกรม  ใน 1 เซลล์ประกอบด้วยแผ่นโลหะตะกั่ว (Pb) สองแผ่นเป็นขั้วบวกและขั้วลบของเซลล์  มีสารละลายกรดซัลฟิวริกเจือจาง (H2SO4) เป็นอิเล็กโทรไลต์  แบตเตอรี่จะใช้งานได้ในครั้งแรกต้องมีการอัดไฟก่อน เมื่อใช้ไปนานๆ แผ่นโลหะที่ขั้วลบและขั้วบวกจะเปลี่ยนไปเป็นตะกั่วซัลเฟต (PbSO4) ทั้งคู่ ทาให้จ่ายไฟ ต่อไปไม่ได้ ต้องนาไปประจุไฟหรืออัดไฟใหม่เพื่อนามาใช้งานต่อไป สมการปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นในแบตเตอรี่ ไดนาโม ไดนาโม หรือเครื่องกาเนิดไฟฟ้าเป็นอุปกรณ์ที่เปลี่ยนพลังงานกลเป็นพลังงานไฟฟ้า หรือเกิดกระแส ไฟฟ้าเหนี่ยวนาขึ้น กระแสเหนี่ยวนา เป็นกระแสไฟฟ้าที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงสนามแม่เหล็กที่ผ่านขดลวด ซึ่งฟาราเดย์ เป็นผู้ค้นพบ ได้อธิบายว่า การเคลื่อนที่ของแท่งแม่เหล็กเข้าสู่หรือออกจากขดลวด หรือการเคลื่อนของขดลวดเข้า สู่หรือออกจากแท่งแม่เหล็กจะทาให้ขดลวดตัวนาตัดกับสนามแม่เหล็ก จะทาให้ขดลวดตัวนาตัดกับเส้นแรง แม่เหล็ก เป็นผลให้เส้นแรงแม่เหล็กที่ตัดกับขดลวดนั้นเกิดการเปลี่ยนแปลง จึงก่อให้เกิดแรงเคลื่อนไฟฟ้า เหนี่ยวนาขึ้น เป็นเหตุให้กระแสไฟฟ้าไหลได้ในขดลวด ถ้าขวดลวดหรือแท่งแม่เหล็กเคลื่อนที่เข้าออกเร็วๆ จะได้ กระแสมากขึ้น หรือสรุปได้ว่า ถ้าให้ขดลวดหมุนตัดกับสนามแม่เหล็ก จะเกิดกระแสไฟฟ้าขึ้นในขดลวด กระแสไฟฟ้าที่ เกิดขึ้นเรียกว่า กระแสไฟฟ้าเหนี่ยวนา จากการหลักการที่กล่าวมานี้ได้นามาสร้างเครื่องจ่ายกระแสไฟฟ้าที่ เรียกว่า ไดนาโม หรือที่ชาวบ้านเรียกกันว่า เครื่องทาไฟ ไดนาโมหรือเครื่องกาเนิดไฟฟ้าที่ใช้กันอยู่ในปัจจุบันแบ่งได้เป็น 2 ชนิด คือ 1. ไดนาโมกระแสสลับ ไดนาโมชนิดนี้ประกอบด้วยขดลวดตัวนาติดตั้งไว้ระหว่างขั้วเหนือและขั้วใต้ของ แม่เหล็ก ขดลวดนี้เรียกว่า ขดลวดอาร์เมเจอร์ ติดตั้งไว้สาหรับหมุนให้กักับเส้นแรงแม่เหล็ก (สนามแม่เหล็ก) ที่ ปลายทั้งสองของขดลวดมีวงแหวนลื่น (slip rings) เชื่อมติดอยู่วงแหวนนี้จะหมุนครูดสมผัสอยู่กับแปรงซึ่งต่อไป ยังวงจรภายนอก หลักการเบื้องต้นของการเกิดไฟฟ้า กระแสสลับจากการทางานของไดนาโม 7
  • 6. เอกสารประกอบการสอน รายวิชาไฟฟ้า ว20204 การหมุนขดลวดในไดนาโมกระแสสลับ 2. ไดนาโมกระแสตรง ไดนาโมชนิดนี้มีส่วนประกอบคล้ายกับไดนาโมกระแสสลับ แต่ปลายของขดลวด แต่ละข้างติดอยู่กับแหวนแยก หรือคอมมิวเตเตอร์ (commutator) ครึ่งวงแหวนแต่ละซีกแตะอยูกับแปรง แปรง แต่ซีกติดต่อกับวงจรภายนอก ดังรูป การหมุนของขดลวดในไดนาโมกระแสตรง ไดนาโมที่ใช้ผลิตกระแสไฟฟ้าปริมาณมากๆ เช่น ไดนาโมของโรงไฟฟ้า จะมีขดลวดจานวนมาก ดังนั้น สายที่ต่อออกจากไดนาโมจึงมีมากกว่า 2 สาย ขึ้นอยู่กับปริมาณของขดลวดและการจัดระบบการพันขดลวด ใน ปัจจุบันเครื่องกาเนิดไฟฟ้าประกอบด้วย 2 ส่วน คือ ส่วนที่หมุนได้ และส่วนที่อยู่กับที่ ซึ่งทั้งสองส่วนต่างมีขด ลวดทองแดงฝังอยู่ โดยส่วนที่หมุนได้จะกาหนดให้ทาหน้าที่ผลิตสนามแม่เหล็กไปตัดกับขดลวดทองแดงที่ฝังอยู่ใน ส่วนที่อยู่กับที่ ทาให้เกิดแรงดันไฟฟ้าและกระแสไฟฟ้าขึ้นมาใช้งาน เซลล์สุริยะ (Solar cell) เซลล์สุริยะ เป็นแหล่งจ่ายกระแสไฟฟ้าที่ได้จากการเปลี่ยนพลังงานแสงอาทิตย์มาเป็นพลังงานไฟฟ้า เซลล์สุริยะ ทามาจากโลหะกึ่งตัวนา โดยมีแผ่นรับแสงที่ทาจากโลหะกึ่งตัวนาระหว่างซิลิคอนและ ฟอสฟอรัส (Si + P) และแผ่นรองรับซึ่งทาจากโลหะกึ่งตัวนาระหว่างซิลิคอนกับโบรอน (Si + B) เชื่อมกันเป็น รอยต่อพีเอ็น 8
  • 7. เอกสารประกอบการสอน รายวิชาไฟฟ้า ว20204 ความต่างศักย์ไฟฟ้า (Potential Diffrence) ความต่างศักย์ไฟฟ้า เกิดจากจุดสองจุดในวงจรไฟฟ้ามีศักย์ไฟฟ้าไม่เท่ากัน ทาให้เกิดความต่างศักย์ขึ้น หรือเกิดจากงานที่ใช้นาไปประจุไฟฟ้าจากจุดที่มีศักย์ไฟฟ้าสูงกว่าไปยังจุดที่มีศักย์ไฟฟ้าต่ากว่า โดยความต่างศักย์ ที่เกิดขึ้นนี้สามารถวัดได้โดยใช้โวลมิเตอร์ (Volt meter) ซึ่งต่อขนานกับวงจรไฟฟ้า ชนิดของความต่างศักย์ไฟฟ้า 1. ความต่างศักย์ไฟฟ้าภายนอกเซลล์หรือความต่างศักย์ไฟฟ้าระหว่างภายนอกขั้วเซลล์ คือ พลังงาน หรืองานที่ใช้ในการเคลื่อนที่หรือถ่ายเทประจุ 1 หน่วย จากขั้วบวกผ่านความต้านทานภายนอกเซลล์ไปยังขั้วลบ 2. ความต่างศักย์ไฟฟ้าภายในเซลล์หรือความต่างศักย์ระหว่างภายในขั้วเซลล์ คือ พลังงานหรืองานที่ใช้ ในการเคลื่อนที่หรือถ่ายเทประจุ 1 หน่วย จากขั้วลบไปยังขั้วบวก สูตรการคานวณ โดยที่ V = ความต่างศักย์ไฟฟ้า มีหน่วยเป็นโวล์ (V) W = งานที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของประจุ มีหน่วยเป็นจูล (J) Q = ประจุไฟฟ้า มีหน่วยเป็นคูลอมบ์ (C) สัญลักษณ์โวลต์มิเตอร์ ลักษณะของโวลต์มิเตอร์ที่ใช้ในการวัดค่าความต่างศักย์ไฟฟ้า 9
  • 8. เอกสารประกอบการสอน รายวิชาไฟฟ้า ว20204 ข้อสังเกต : โวลต์มิเตอร์จะต้องต่อขนานกับตัวต้านทานเสมอ แรงเคลื่อนไฟฟ้า (Electromotive Force หรือ EME) แรงเคลื่อนไฟฟ้า คือ พลังงานหรืองานที่ใช้ในการเคลื่อนที่หรือถ่ายเทประจุ 1 หน่วย ตลอดวงจรทั้ง ภายนอกและภายในเซลล์ มีค่าเท่ากับผลรวมของความต่างศักย์ไฟฟ้าภายนอกเซลล์กับความต่างศักย์ภายในเซลล์ แรงเคลื่อนไฟฟ้า = ความต่างศักย์ไฟฟ้าภายนอกเซลล์ทั้งหมด + ความต่างศักย์ไฟฟ้าภายในเซลล์ ทั้งหมด E = ∑Vนอก + ∑Vใน โดยที่ E = แรงเคลื่อนไฟฟ้า มีหน่วยเป็นโวลต์ (V) Vภายนอก = ความต่างศักย์ภายนอกเซลล์ Vภายใน = ความต่างศักย์ภายในเซลล์ Vab = ความต่างศักย์ไฟฟ้าช่วง a ไป b E = ความต่างศักย์ไฟฟ้าทั้งวงจร หรือ แรงเคลื่อนไฟฟ้า หมายเหตุ 1. ∑ เป็นอักษรกรีก อ่านว่า ซิกมา หมายถึง ผลรวม 2. แรงเคลื่อนไฟฟ้าและความต่างศักย์ไฟฟ้า มีความหมายแตกต่างกัน แต่ถ้ากรณีความต่างศักย์ไฟฟ้า ภายในเซลล์มีค่าน้อยมากหรือเป็นศูนย์ จะได้ว่า แรงเคลื่อนไฟฟ้า = ความต่างศักย์ไฟฟ้า ความต้านทานไฟฟ้าและความนาไฟฟ้า ความต้านทานไฟฟ้า (Resistance) และความนาไฟฟ้า (Conductance) มีความหมายแตกต่างกัน แต่ มีความสัมพันธ์กัน ความต้านทานไฟฟ้าและความนาไฟฟ้า 10
  • 9. เอกสารประกอบการสอน รายวิชาไฟฟ้า ว20204 เป็นสมบัติของสารแต่ละชนิดที่จะยอมให้กระแสไฟฟ้าไหลผ่านได้มากหรือน้อย - ถ้าสารใดยอมให้กระแสไฟฟ้าไหลผ่านได้ มาก แสดงว่าสารนั้นมีความต้านทานไฟฟ้า น้อย และมีความนาไฟฟ้า มาก - ถ้าสารใดยอมให้กระแสไฟฟ้าไหลผ่านได้ น้อย แสดงว่าสารนั้นมีความต้านทานไฟฟ้า มาก และมีความนาไฟฟ้า น้อย ความสัมพันธ์ระหว่างความต้านทานไฟฟ้าและความนาไฟฟ้า เป็นดังนี้ โดยที่ R = ความต้านทานไฟฟ้า มีหน่วยเป็นโอห์ม (Ω) G = ความนาไฟฟ้า มีหน่วยเป็นซีเมนต์ (S) ปัจจัยที่ส่งผลต่อความต้านทานไฟฟ้า 1. ชนิดของสารที่เป็นตัวนา โลหะจะนาไฟฟ้าได้ดี มีความต้านทานน้อย เช่น เหล็ก ทองแดง เงิน ซึ่งโลหะแต่ละ ชนิดมีความสามารถในการนาไฟฟ้าแตกต่างกัน ดังนั้นโลหะแต่ละชนิดจึงมีสภาพต้านทานของตัวนาต่างกัน เช่น เงินมีสภาพต้านทานไฟฟ้าน้อยกว่าทองแดง ส่วนอโลหะจะเป็นฉนวนไฟฟ้า เช่น พลาสติก ไม้ ยาง (ยกเว้น แกรไฟต์สามารถนาไฟฟ้าได้ดี) 2. ความยาวของลวดตัวนา ความต้านทานไฟฟ้าจะเป็นสัดส่วนโดยตรงกับความยาว ยิ่งยาวมากความต้านทาน ไฟฟ้าจะยิ่งมาก เช่น ถ้าความยาวของเส้นลวดยาวเป็นสองเท่าของอีกเส้นหนึ่ง จะมีความต้านทานไฟฟ้าเป็นสอง เท่าด้วย 3. พื้นที่หน้าตัดของตัวนา ความต้านทานไฟฟ้าจะเป็นสัดส่วนผกผันหรือสัดส่วนกลับกันกับพื้นที่หน้าตัด คือ ยิ่ง พื้นที่หน้าตัดมาก ความต้านทานไฟฟ้ายิ่งน้อย เช่น ถ้าพื้นที่หน้าตัดของเส้นลวดมีขนาดเป็นสองเท่าของอีกเส้น หนึ่ง จะมีความต้านไฟฟ้าลดลงครึ่งหนึ่งด้วย 11
  • 10. เอกสารประกอบการสอน รายวิชาไฟฟ้า ว20204 4. อุณหภูมิของลวดตัวนา อุณหภูมิของโลหะตัวนา จะมีผลทาให้ความต้านทานไฟฟ้าเปลี่ยนแปลงไปด้วย คือ เมื่ออุณภูมิเพิ่มขึ้น ความต้านทานไฟฟ้าจะมากขึ้น และเมื่ออุณภูมิลดลง ความต้านทานไฟฟ้าจะน้อยลง ชนิดของความต้านทานไฟฟ้า ความต้านทานไฟฟ้าแบ่งออกเป็น 2 ชนิดคือ 1. ความต้านทานไฟฟ้าภายนอก หมายถึง ความต้านทานไฟฟ้าภายนอกเซลล์ ใช้ตัวย่อ R 2. ความต้านทานไฟฟ้าภายในเซลล์ หมายถึง ความต้านทานไฟฟ้าภายในเซลล์ ใช้ตัวย่อ r กฎของโอห์ม เกอร์เก ซิโมน โอห์ม นักฟิสิกส์ชาวเยอรมัน ได้ศึกษาทดลองและตั้งเป็น กฎของโอห์ม (Ohm,s law) ขึ้น โดยกล่าวไว้ว่า “อัตราส่วนของความต่างศักย์ไฟฟ้ากับกระแสไฟฟ้าที่ปลายลวดโลหะตัวนา มีค่าคงที่ เสมอ” นั่นคือ ความต่างศักย์ไฟฟ้าระหว่างปลายของตัวนาใดๆ จะเป็นสัดส่วนโดยตรงกับกระแสไฟฟ้าที่กาลัง ไหลในช่วงหนึ่งในตัวนานั้นและค่าคงที่นี้ก็คือ ความต้านทานไฟฟ้า นั่นเอง ทั้งนี้อุณหภูมิจะต้องคงที่ไม่เปลี่ยน แปลง ซึ่งเขียนเป็นสมการได้ว่า เมื่อ V = ความต่างศักย์ไฟฟ้าที่ปลายทั้งสองของลวดตัวนา มีหน่วยเป็นโวลต์ (V) I = กระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่านลวดตัวนา มีหน่วยเป็นแอมแปร์ (A) R = ความต้านทานของลวดตัวนา มีหน่วยเป็นโอห์ม (Ω) 12
  • 11. เอกสารประกอบการสอน รายวิชาไฟฟ้า ว20204 เพื่อให้จาได้ง่าย จะเขียนอยู่ในรูปของสามเหลี่ยม เมื่อวงจรไฟฟ้ามีแรงเคลื่อนไฟฟ้าและความต้านทานภายใน ดังนั้น กระแสไฟฟ้ารวมของวงจรจะหาได้จากอัตราส่วนของความต่างศักย์รวมกับความต้านทานรวม นั่นเอง การต่อความต้านทานภายในวงจรไฟฟ้ามี 3 แบบ คือ 1. การต่อตัวต้านทานแบบอนุกรม เป็นการนาตัวต้านทานหลายๆ ตัวมาต่อกัน โดยปลายของตัวต้านทานหนึ่งต่อกับปลายของตัว ต้านทานตัวถัดไป ดังรูป รูปแสดง การต่อตัวต้านทานแบบอนุกรม เมื่อนาตัวต้านทานมาต่อแบบอนุกรมจะได้ - ความต้านทานรวมมีค่ามากขึ้น ดังสมการ Rรวม = R1 + R2 + R3 …….. - กระแสไฟฟ้าที่ผ่านตัวต้านทานทุกตัวจะเท่ากันหมด - ถ้าตัวต้านทานตัวใดขาดจะไม่มีกระแสไฟฟ้าไหลในวงจร - ความต่างศักย์รวมจะมีค่าเท่ากับผลบวกของความศักย์ของตัวต้านทานแต่ละตัว - ความต่างศักย์ของตัวต้านทานแต่ละตัวไม่เท่ากันขึ้นอยู่กับค่าความต้านทานของตัว ต้านทานแต่ละตัว ตัวอย่าง จากรูป จงหาความต้านทานรวมของวงจร (Rรวม) กระแสไฟฟ้า (I) ที่ไหลผ่าน และค่าความต่างศักย์ (V) ถ้ากาหนดให้ R1 = 1  R2 = 3  R3 = 4  13 14
  • 12. เอกสารประกอบการสอน รายวิชาไฟฟ้า ว20204 วิธีทา หาความต้านทานรวมของวงจร จากสูตร Rรวม = R1 + R2 + R3 = 1 + 3 + 4 = 8  หากระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่าน จากสูตร Iรวม = I1 = I2 = I3 เมื่อ I1 คือ กระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่าน R1 I2 คือ กระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่าน R2 I3 คือ กระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่าน R3 Iรวม = I1 = I2 = I3 Iรวม = 4 A หาค่าความต่างศักย์ไฟฟ้า จากสูตร V = IR V = 4  8 = 32 V  ความต้านทานรวมของวงจรนี้เท่ากับ 8 โอห์ม มีกระแสไฟฟ้า 4 แอมแปร์ไหลผ่าน และมีความต่าง ศักย์ 32 โวลต์ 2. การต่อตัวต้านทานแบบขนาน เป็นการต่อตัวต้านทานตั้งแต่ 2 ตัวขึ้นไปมาต่อแบบคร่อมขั้วกัน ดังรูป รูปแสดง การต่อตัวต้านทานแบบขนาน เมื่อนาตัวต้านทานมาต่อแบบขนานจะได้ เมื่อ R คือ ความต้านทานรวม - กระแสไฟฟ้าที่ไหลในวงจรทั้งหมดจะเท่ากับผลบวกของกระแสที่ไหลผ่านตัวต้านทาน แต่ละตัว - ค่าความต่างศักย์ระหว่างปลายตัวต้านทานแต่ละตัวจะมีค่าเท่ากัน 15
  • 13. เอกสารประกอบการสอน รายวิชาไฟฟ้า ว20204 - ถ้าตัวต้านทานตัวใดตัวหนึ่งขาด ก็ยังมีกระแสไฟฟ้าไหลในวงจร ตัวอย่าง ลวดความต้านทาน 3 ตัวต่อกันแบบขนาน ระหว่างจุด A และ B ความต้านทานรวมมีค่าเท่าไร วิธีทา  ความต้านทานระหว่างจุด A และ B เท่ากับ 0.54 โอห์ม 3. การต่อตัวต้านทานแบบผสม เป็นการต่อตัวต้านทานแบบอนุกรมและขนานรวมกัน ดังรูป รูปแสดง การต่อตัวต้านทานแบบผสม ตัวอย่าง จากรูป จงหาความต้านทานรวมระห่วางจุด A ถึงจุด C วิธีทา 1. หาความต้านทานระหว่างจุด A และ B ต่อกันแบบขนาน จึงใช้สูตร 16
  • 14. เอกสารประกอบการสอน รายวิชาไฟฟ้า ว20204 2. หาความต้านทานรวมที่ได้ต่ออนุกรมกับ 4  จากสูตร Rรวม = R1 + R2 = 1.5 + 4 Rรวม = 5.5   ความต้านทานระหว่างจุด A ถึงจุด C เท่ากับ 5.5 โอห์ม