SlideShare a Scribd company logo
1 of 4
ใบความรู้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
ปัญหาและตัวแปร
ตัวแปร เป็นตัวสัญลักษณ์ที่ใช้แทนสิ่งที่เราไม่ทราบค่าในทางคณิตศาสตร์
พิจารณาข้อความต่อไปนี้
1) สามเท่าของจานวนจานวนหนึ่ง เขียนแทน 3x
2) จานวนจานวนหนึ่งบวกด้วย เขียนแทน x +6
ประโยคภาษาและประโยคสัญลักษณ์
การเขียนประโยคสัญลักษณ์แทนประโยคภาษา สามารถนาตัวแปรมาเขียนแทนจานวน
ที่ไม่ทราบค่าและสมการเป็นประโยคสัญลักษณ์ที่กล่าวถึงความเท่ากันของจานวนสองจานวน
การเขียนประโยคสัญลักษณ์ที่เขียนแทนประโยคภาษา
สามารถนาตัวแปรเขียนแทนจานวนที่ไม่ทราบค่า สมการ
เป็นประโยคสัญลักษณ์ที่กล่าวถึงความสัมพันธ์ของจานวนสองจานวน
โดยมีสัญลักษณ์ “ =” บอกความสัมพันธ์ระหว่างจานวนทั้งสองจานวน ซึ่งอาจมีตัวแปรหรือไม่มี
ตัวแปรก็ได้
คาตอบของสมการ
ถ้าแทนค่าตัวแปรด้วยจานวนจานวนหนึ่ง แล้วทาให้ประโยคที่อยู่สองข้างของเครื่องหมาย-
เท่ากับเท่ากัน จะได้ว่าสมการนั้นเป็นจริงซึ่งจานวนที่แทนค่าตัวแปรแล้วทาให้ประโยคสมการเป็นจริงเรียกว่า
คาตอบของสมการ และถ้าแทนค่าตัวแปรด้วยจานวนหนึ่งแล้ว
ทาให้ประโยคที่อยู่สองข้างของเครื่องหมายเท่ากับไม่เท่ากัน จะได้ว่าสมการนั้นเป็นเท็จ
จานวนใดที่แทนxในสมการ 13+x =30แล้วทาให้สมการ13+x = 30 เป็นจริง(17)
จานวนใดที่แทนyในสมการ 2y–15 = 5แล้วทาให้สมการ2y–15 = 5 เป็นจริง(10)
สมบัติของการเท่ากัน
เมื่อมีจานวนสองจานวนที่เท่ากัน นาจานวนอีกจานวนหนึ่งมาบวกแต่ละจานวนที่เท่ากันนั้น
ผลบวกจะเท่ากัน เรียกสมบัตินี้ว่า สมบัติการเท่ากันของการบวก เขียนเป็นสัญลักษณ์ได้ ดังนี้
ให้a, b และ cแทนจานวนใด ๆ
ถ้า a = b ดังนั้น a + c = b+ c
เมื่อมีจานวนสองจานวนที่เท่ากัน นาจานวนอีกจานวนหนึ่งมาลบออกจากแต่ละจานวน
ที่เท่ากันนั้น ผลลบจะเท่ากัน เรียกสมบัตินี้ว่า สมบัติการเท่ากันของการลบ เขียนเป็นสัญลักษณ์ได้ ดังนี้
ให้a, b และ cแทนจานวนใด ๆ
ถ้า a = b ดังนั้น a – c = b –c
เมื่อมีจานวนสองจานวนที่เท่ากัน นาจานวนอีกจานวนหนึ่งมาคูณแต่ละจานวนที่เท่ากันนั้น
ผลคูณจะเท่ากัน เรียกสมบัตินี้ว่า สมบัติการเท่ากันของการคูณ เขียนเป็นสัญลักษณ์ได้ ดังนี้
ให้ a, b และ c แทนจานวนใด ๆ
ถ้า a = b ดังนั้น a ×c = b ×c
เมื่อมีจานวนสองจานวนที่เท่ากัน นาจานวนอีกจานวนหนึ่งที่ไม่เท่ากับศูนย์มาหารแต่ละจานวน
ที่เท่ากันนั้น ผลหารจะเท่ากันเรียกสมบัตินี้ว่า สมบัติการเท่ากันของการหาร เขียนเป็นสัญลักษณ์ได้ดังนี้
ให้ a, b และ c แทนจานวนใด ๆ ที่ c  0
ถ้า a = b ดังนั้น c
b
c
a

การแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว โดยใช้สมบัติของการเท่ากัน
การแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว สามารถนาสมบัติการเท่ากันของการบวก
และสมบัติการเท่ากันของการลบมาใช้ในการหาค่าตัวแปรในสมการ
ตัวอย่าง
1) จงแก้สมการ 12
a
= 8
12
a
= 8
นา 12 มาคูณทั้งสองข้างของสมการ
จะได้ 12
a
×12 = 8 ×12
a = 96
ตรวจสอบ แทน a ด้วย 96 ในสมการ 12
a
= 8
จะได้ 12
a
= 8 เป็นสมการที่เป็นจริง
ดังนั้น 96 เป็นคาตอบของสมการ 12
a
= 8
การแก้สมการโดยใช้สมบัติการเท่ากันของการบวก การลบ การคูณ และการหาร
การแก้สมการสามารถนาสมบัติการบวก การลบ การคูณและการหาร มาใช้ในการหาค่า
ตัวแปรที่เป็นคาตอบของสมการที่กาหนดได้
ตัวอย่าง
1) จงแก้สมการ x
9
8
+7 = 55
x
9
8
+7 = 55
นา 7 มาลบทั้งสองข้างของสมการ
จะได้ x
9
8
+7 – 7 = 55 –7
หรือ x
9
8
= 48
96
นา 8
9
มาคูณทั้งสองข้างของสมการ
จะได้ x
9
8
× 8
9
= 48 × 8
9
หรือ x = 54
ตรวจสอบ แทน x ด้วย 54 ในสมการ x
9
8
+7 = 55
จะได้ 9
8
× 54 + 7 = 55 เป็นสมการที่เป็นจริง
ดังนั้น 54 เป็นคาตอบของสมการ x
9
8
+ 7 = 55
การเขียนสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวแทนสถานการณ์หรือปัญหา
การเขียนสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวแทนสถานการณ์หรือปัญหา คือ
การเขียนประโยคของสถานการณ์หรือปัญหาในรูปของประโยคสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
เราสามารถนาความรู้เรื่อง
การเขียนสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวแทนสถานการณ์หรือปัญหาไปใช้เป็นพื้นฐานในการเรียนการแก้โจทย์
ปัญหาเกี่ยวกับสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
เขียนแทนด้วยประโยคสมการ พิจารณาประโยคต่อไปนี้
“จานวนจานวนหนึ่งบวกด้วยสิบเก้าเท่ากับสามสิบสอง”
“เจ็ดสิบห้าเท่ากับจานวนจานวนหนึ่งลบด้วยสิบหก”
การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวและตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคาตอบที่ได้
การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวเป็นกระบวนการวิเคราะห์
และดาเนินการหาสิ่งที่โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวต้องการให้หา
เราสามารถนาความรู้เรื่อง
การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวและตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคาตอบที่ได้ไปใ
ช้ในชีวิตประจาวันได้
ตัวอย่าง
เศษหนึ่งส่วนห้าของจานวนหนึ่งมีค่าเท่ากับ 20จงหาจานวนนั้น
วิธีทา สมมุติจานวนที่ต้องการเป็นตัวแปร x สิ่งที่โจทย์ถามหา
เศษหนึ่งส่วนห้าของจานวนหนึ่งเท่ากับ 20 สิ่งที่โจทย์บอก
1 ใน5 ของจานวนจานวนหนึ่งเท่ากับ 20
เขียนเป็นสมการและหาคาตอบได้ดังนี้
5
1
x = 20
นา 1
5
มาคูณทั้งสองข้างของสมการ
ทำควำมเข้ำใจปัญหำ
วำงแผน
ดำเนินกำรตำมแผน
จะได้ 5
1
x× 1
5
= 20 × 1
5
หรือ x = 100
ตรวจสอบ แทน x ด้วย 100ในสมการ 5
1
x = 20
จะได้ 5
1
× 100 = 20
หรือ 20 = 20 เป็นสมการที่เป็นจริง
ดังนั้น 100เป็นคาตอบของสมการ 5
1
x = 20
ตรวจสอบคำตอบ

More Related Content

What's hot

เพาเวอร์เซต
เพาเวอร์เซตเพาเวอร์เซต
เพาเวอร์เซตAon Narinchoti
 
2ใบความรู้ เรื่อง ระบบจำนวนเต็ม
2ใบความรู้ เรื่อง ระบบจำนวนเต็ม2ใบความรู้ เรื่อง ระบบจำนวนเต็ม
2ใบความรู้ เรื่อง ระบบจำนวนเต็มkanjana2536
 
เฉลยค่ากลางของข้อมูล
เฉลยค่ากลางของข้อมูลเฉลยค่ากลางของข้อมูล
เฉลยค่ากลางของข้อมูลkrurutsamee
 
วงกลมหนึ่งหน่วย
วงกลมหนึ่งหน่วยวงกลมหนึ่งหน่วย
วงกลมหนึ่งหน่วยJiraprapa Suwannajak
 
บทที่ 4 เส้นขนาน
บทที่ 4 เส้นขนานบทที่ 4 เส้นขนาน
บทที่ 4 เส้นขนานsawed kodnara
 
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1guychaipk
 
โครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ต้นโครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ต้นInmylove Nupad
 
อสมการ ม3
อสมการ ม3 อสมการ ม3
อสมการ ม3 Prang Donal
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงโรงเรียนเทพลีลา
 
แบบฝึกทักษะเรื่องสถิติ O net
แบบฝึกทักษะเรื่องสถิติ O netแบบฝึกทักษะเรื่องสถิติ O net
แบบฝึกทักษะเรื่องสถิติ O netพัน พัน
 
หน่วยที่1อัตราส่วนสัดส่วนและร้อยละ
หน่วยที่1อัตราส่วนสัดส่วนและร้อยละหน่วยที่1อัตราส่วนสัดส่วนและร้อยละ
หน่วยที่1อัตราส่วนสัดส่วนและร้อยละfern1707
 
ชุดที่ 5 อัตราส่วนของจำนวนหลาย ๆ จำนวน
ชุดที่ 5 อัตราส่วนของจำนวนหลาย ๆ จำนวนชุดที่ 5 อัตราส่วนของจำนวนหลาย ๆ จำนวน
ชุดที่ 5 อัตราส่วนของจำนวนหลาย ๆ จำนวนพิทักษ์ ทวี
 
แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ
แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ
แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ sawed kodnara
 
ฟังก์ชัน1
ฟังก์ชัน1ฟังก์ชัน1
ฟังก์ชัน1Inmylove Nupad
 
โจทย์ปัญหา
โจทย์ปัญหาโจทย์ปัญหา
โจทย์ปัญหาAon Narinchoti
 

What's hot (20)

เพาเวอร์เซต
เพาเวอร์เซตเพาเวอร์เซต
เพาเวอร์เซต
 
2ใบความรู้ เรื่อง ระบบจำนวนเต็ม
2ใบความรู้ เรื่อง ระบบจำนวนเต็ม2ใบความรู้ เรื่อง ระบบจำนวนเต็ม
2ใบความรู้ เรื่อง ระบบจำนวนเต็ม
 
เฉลยค่ากลางของข้อมูล
เฉลยค่ากลางของข้อมูลเฉลยค่ากลางของข้อมูล
เฉลยค่ากลางของข้อมูล
 
วงกลมหนึ่งหน่วย
วงกลมหนึ่งหน่วยวงกลมหนึ่งหน่วย
วงกลมหนึ่งหน่วย
 
บทที่ 4 เส้นขนาน
บทที่ 4 เส้นขนานบทที่ 4 เส้นขนาน
บทที่ 4 เส้นขนาน
 
เลขยกกำลัง
เลขยกกำลังเลขยกกำลัง
เลขยกกำลัง
 
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
 
แบบทดสอบ เรื่องพหุนาม
แบบทดสอบ เรื่องพหุนามแบบทดสอบ เรื่องพหุนาม
แบบทดสอบ เรื่องพหุนาม
 
โครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ต้นโครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ต้น
 
O-NET ม.6-สถิติ
O-NET ม.6-สถิติO-NET ม.6-สถิติ
O-NET ม.6-สถิติ
 
ข้อสอบตรรกศาตร์ม.4
ข้อสอบตรรกศาตร์ม.4ข้อสอบตรรกศาตร์ม.4
ข้อสอบตรรกศาตร์ม.4
 
ลำดับเลขคณิต (Arithmetic sequence)
ลำดับเลขคณิต (Arithmetic sequence)ลำดับเลขคณิต (Arithmetic sequence)
ลำดับเลขคณิต (Arithmetic sequence)
 
อสมการ ม3
อสมการ ม3 อสมการ ม3
อสมการ ม3
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
 
แบบฝึกทักษะเรื่องสถิติ O net
แบบฝึกทักษะเรื่องสถิติ O netแบบฝึกทักษะเรื่องสถิติ O net
แบบฝึกทักษะเรื่องสถิติ O net
 
หน่วยที่1อัตราส่วนสัดส่วนและร้อยละ
หน่วยที่1อัตราส่วนสัดส่วนและร้อยละหน่วยที่1อัตราส่วนสัดส่วนและร้อยละ
หน่วยที่1อัตราส่วนสัดส่วนและร้อยละ
 
ชุดที่ 5 อัตราส่วนของจำนวนหลาย ๆ จำนวน
ชุดที่ 5 อัตราส่วนของจำนวนหลาย ๆ จำนวนชุดที่ 5 อัตราส่วนของจำนวนหลาย ๆ จำนวน
ชุดที่ 5 อัตราส่วนของจำนวนหลาย ๆ จำนวน
 
แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ
แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ
แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ
 
ฟังก์ชัน1
ฟังก์ชัน1ฟังก์ชัน1
ฟังก์ชัน1
 
โจทย์ปัญหา
โจทย์ปัญหาโจทย์ปัญหา
โจทย์ปัญหา
 

More from kanjana2536

ใบงานที่ 6 เรื่องความน่าจะเป็นและการนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน
ใบงานที่ 6 เรื่องความน่าจะเป็นและการนำไปใช้ในชีวิตประจำวันใบงานที่ 6 เรื่องความน่าจะเป็นและการนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน
ใบงานที่ 6 เรื่องความน่าจะเป็นและการนำไปใช้ในชีวิตประจำวันkanjana2536
 
ใบงานที่ 5 เรื่องความน่าจะเป็นและการนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน
ใบงานที่ 5 เรื่องความน่าจะเป็นและการนำไปใช้ในชีวิตประจำวันใบงานที่ 5 เรื่องความน่าจะเป็นและการนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน
ใบงานที่ 5 เรื่องความน่าจะเป็นและการนำไปใช้ในชีวิตประจำวันkanjana2536
 
ใบงานที่ 4 เรื่อง ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์
ใบงานที่ 4 เรื่อง ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ใบงานที่ 4 เรื่อง ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์
ใบงานที่ 4 เรื่อง ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์kanjana2536
 
ใบงานที่ 3 เรื่อง เหตุการณ์
ใบงานที่ 3 เรื่อง เหตุการณ์ใบงานที่ 3 เรื่อง เหตุการณ์
ใบงานที่ 3 เรื่อง เหตุการณ์kanjana2536
 
ใบงานที่ 2 เรื่องการทดลองสุ่ม
ใบงานที่ 2 เรื่องการทดลองสุ่มใบงานที่ 2 เรื่องการทดลองสุ่ม
ใบงานที่ 2 เรื่องการทดลองสุ่มkanjana2536
 
ใบงานที่ 1 เรื่อง โอกาสที่เหตุการณ์จะเกิดขึ้น
ใบงานที่ 1  เรื่อง โอกาสที่เหตุการณ์จะเกิดขึ้นใบงานที่ 1  เรื่อง โอกาสที่เหตุการณ์จะเกิดขึ้น
ใบงานที่ 1 เรื่อง โอกาสที่เหตุการณ์จะเกิดขึ้นkanjana2536
 
ใบงานที่ 13 เรื่อง การใช้ความรู้เรื่องมุมไปใช้ในการสร้างรูปต่างๆ
ใบงานที่ 13  เรื่อง การใช้ความรู้เรื่องมุมไปใช้ในการสร้างรูปต่างๆใบงานที่ 13  เรื่อง การใช้ความรู้เรื่องมุมไปใช้ในการสร้างรูปต่างๆ
ใบงานที่ 13 เรื่อง การใช้ความรู้เรื่องมุมไปใช้ในการสร้างรูปต่างๆkanjana2536
 
ใบงานที่ 12
ใบงานที่ 12ใบงานที่ 12
ใบงานที่ 12kanjana2536
 
ใบงานที่ 11 การสร้างมุมที่มีขนาดเท่ากับ 90
ใบงานที่ 11  การสร้างมุมที่มีขนาดเท่ากับ 90ใบงานที่ 11  การสร้างมุมที่มีขนาดเท่ากับ 90
ใบงานที่ 11 การสร้างมุมที่มีขนาดเท่ากับ 90kanjana2536
 
ใบงานที่10 เรื่อง การสร้างเส้นขนาน
ใบงานที่10 เรื่อง การสร้างเส้นขนานใบงานที่10 เรื่อง การสร้างเส้นขนาน
ใบงานที่10 เรื่อง การสร้างเส้นขนานkanjana2536
 
ใบงานที่ 9
ใบงานที่ 9ใบงานที่ 9
ใบงานที่ 9kanjana2536
 
ใบงานที่ 8
ใบงานที่ 8ใบงานที่ 8
ใบงานที่ 8kanjana2536
 
7การสร้างเกี่ยวกับส่วนของเส้นตรงและมุม
7การสร้างเกี่ยวกับส่วนของเส้นตรงและมุม7การสร้างเกี่ยวกับส่วนของเส้นตรงและมุม
7การสร้างเกี่ยวกับส่วนของเส้นตรงและมุมkanjana2536
 
ใบงานที่ 6 เรื่อง การแบ่งครึ่งมุม
ใบงานที่ 6  เรื่อง  การแบ่งครึ่งมุมใบงานที่ 6  เรื่อง  การแบ่งครึ่งมุม
ใบงานที่ 6 เรื่อง การแบ่งครึ่งมุมkanjana2536
 
ใบงาน5เรื่อง การสร้างมุมให้มีขนาดเท่ากับมุมที่กำหนดให้
ใบงาน5เรื่อง  การสร้างมุมให้มีขนาดเท่ากับมุมที่กำหนดให้ใบงาน5เรื่อง  การสร้างมุมให้มีขนาดเท่ากับมุมที่กำหนดให้
ใบงาน5เรื่อง การสร้างมุมให้มีขนาดเท่ากับมุมที่กำหนดให้kanjana2536
 
ใบงานที่ 2 มุมชนิดมุม
ใบงานที่ 2 มุมชนิดมุมใบงานที่ 2 มุมชนิดมุม
ใบงานที่ 2 มุมชนิดมุมkanjana2536
 
ใบงาน1จุด
ใบงาน1จุดใบงาน1จุด
ใบงาน1จุดkanjana2536
 
ใบงาน1จุด
ใบงาน1จุดใบงาน1จุด
ใบงาน1จุดkanjana2536
 
ใบงานที่ 1 เรื่อง เลขยกกำลัง
ใบงานที่ 1 เรื่อง  เลขยกกำลังใบงานที่ 1 เรื่อง  เลขยกกำลัง
ใบงานที่ 1 เรื่อง เลขยกกำลังkanjana2536
 

More from kanjana2536 (20)

ใบงานที่ 6 เรื่องความน่าจะเป็นและการนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน
ใบงานที่ 6 เรื่องความน่าจะเป็นและการนำไปใช้ในชีวิตประจำวันใบงานที่ 6 เรื่องความน่าจะเป็นและการนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน
ใบงานที่ 6 เรื่องความน่าจะเป็นและการนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน
 
ใบงานที่ 5 เรื่องความน่าจะเป็นและการนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน
ใบงานที่ 5 เรื่องความน่าจะเป็นและการนำไปใช้ในชีวิตประจำวันใบงานที่ 5 เรื่องความน่าจะเป็นและการนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน
ใบงานที่ 5 เรื่องความน่าจะเป็นและการนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน
 
ใบงานที่ 4 เรื่อง ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์
ใบงานที่ 4 เรื่อง ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ใบงานที่ 4 เรื่อง ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์
ใบงานที่ 4 เรื่อง ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์
 
ใบงานที่ 3 เรื่อง เหตุการณ์
ใบงานที่ 3 เรื่อง เหตุการณ์ใบงานที่ 3 เรื่อง เหตุการณ์
ใบงานที่ 3 เรื่อง เหตุการณ์
 
ใบงานที่ 2 เรื่องการทดลองสุ่ม
ใบงานที่ 2 เรื่องการทดลองสุ่มใบงานที่ 2 เรื่องการทดลองสุ่ม
ใบงานที่ 2 เรื่องการทดลองสุ่ม
 
ใบงานที่ 1 เรื่อง โอกาสที่เหตุการณ์จะเกิดขึ้น
ใบงานที่ 1  เรื่อง โอกาสที่เหตุการณ์จะเกิดขึ้นใบงานที่ 1  เรื่อง โอกาสที่เหตุการณ์จะเกิดขึ้น
ใบงานที่ 1 เรื่อง โอกาสที่เหตุการณ์จะเกิดขึ้น
 
ใบงานที่ 13 เรื่อง การใช้ความรู้เรื่องมุมไปใช้ในการสร้างรูปต่างๆ
ใบงานที่ 13  เรื่อง การใช้ความรู้เรื่องมุมไปใช้ในการสร้างรูปต่างๆใบงานที่ 13  เรื่อง การใช้ความรู้เรื่องมุมไปใช้ในการสร้างรูปต่างๆ
ใบงานที่ 13 เรื่อง การใช้ความรู้เรื่องมุมไปใช้ในการสร้างรูปต่างๆ
 
ใบงานที่ 12
ใบงานที่ 12ใบงานที่ 12
ใบงานที่ 12
 
ใบงานที่ 11 การสร้างมุมที่มีขนาดเท่ากับ 90
ใบงานที่ 11  การสร้างมุมที่มีขนาดเท่ากับ 90ใบงานที่ 11  การสร้างมุมที่มีขนาดเท่ากับ 90
ใบงานที่ 11 การสร้างมุมที่มีขนาดเท่ากับ 90
 
ใบงานที่10 เรื่อง การสร้างเส้นขนาน
ใบงานที่10 เรื่อง การสร้างเส้นขนานใบงานที่10 เรื่อง การสร้างเส้นขนาน
ใบงานที่10 เรื่อง การสร้างเส้นขนาน
 
ใบงานที่ 9
ใบงานที่ 9ใบงานที่ 9
ใบงานที่ 9
 
ใบงานที่ 8
ใบงานที่ 8ใบงานที่ 8
ใบงานที่ 8
 
7การสร้างเกี่ยวกับส่วนของเส้นตรงและมุม
7การสร้างเกี่ยวกับส่วนของเส้นตรงและมุม7การสร้างเกี่ยวกับส่วนของเส้นตรงและมุม
7การสร้างเกี่ยวกับส่วนของเส้นตรงและมุม
 
ใบงานที่ 6 เรื่อง การแบ่งครึ่งมุม
ใบงานที่ 6  เรื่อง  การแบ่งครึ่งมุมใบงานที่ 6  เรื่อง  การแบ่งครึ่งมุม
ใบงานที่ 6 เรื่อง การแบ่งครึ่งมุม
 
ใบงาน5เรื่อง การสร้างมุมให้มีขนาดเท่ากับมุมที่กำหนดให้
ใบงาน5เรื่อง  การสร้างมุมให้มีขนาดเท่ากับมุมที่กำหนดให้ใบงาน5เรื่อง  การสร้างมุมให้มีขนาดเท่ากับมุมที่กำหนดให้
ใบงาน5เรื่อง การสร้างมุมให้มีขนาดเท่ากับมุมที่กำหนดให้
 
ใบ'งาน4
ใบ'งาน4ใบ'งาน4
ใบ'งาน4
 
ใบงานที่ 2 มุมชนิดมุม
ใบงานที่ 2 มุมชนิดมุมใบงานที่ 2 มุมชนิดมุม
ใบงานที่ 2 มุมชนิดมุม
 
ใบงาน1จุด
ใบงาน1จุดใบงาน1จุด
ใบงาน1จุด
 
ใบงาน1จุด
ใบงาน1จุดใบงาน1จุด
ใบงาน1จุด
 
ใบงานที่ 1 เรื่อง เลขยกกำลัง
ใบงานที่ 1 เรื่อง  เลขยกกำลังใบงานที่ 1 เรื่อง  เลขยกกำลัง
ใบงานที่ 1 เรื่อง เลขยกกำลัง
 

ใบความรู้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว

  • 1. ใบความรู้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ปัญหาและตัวแปร ตัวแปร เป็นตัวสัญลักษณ์ที่ใช้แทนสิ่งที่เราไม่ทราบค่าในทางคณิตศาสตร์ พิจารณาข้อความต่อไปนี้ 1) สามเท่าของจานวนจานวนหนึ่ง เขียนแทน 3x 2) จานวนจานวนหนึ่งบวกด้วย เขียนแทน x +6 ประโยคภาษาและประโยคสัญลักษณ์ การเขียนประโยคสัญลักษณ์แทนประโยคภาษา สามารถนาตัวแปรมาเขียนแทนจานวน ที่ไม่ทราบค่าและสมการเป็นประโยคสัญลักษณ์ที่กล่าวถึงความเท่ากันของจานวนสองจานวน การเขียนประโยคสัญลักษณ์ที่เขียนแทนประโยคภาษา สามารถนาตัวแปรเขียนแทนจานวนที่ไม่ทราบค่า สมการ เป็นประโยคสัญลักษณ์ที่กล่าวถึงความสัมพันธ์ของจานวนสองจานวน โดยมีสัญลักษณ์ “ =” บอกความสัมพันธ์ระหว่างจานวนทั้งสองจานวน ซึ่งอาจมีตัวแปรหรือไม่มี ตัวแปรก็ได้ คาตอบของสมการ ถ้าแทนค่าตัวแปรด้วยจานวนจานวนหนึ่ง แล้วทาให้ประโยคที่อยู่สองข้างของเครื่องหมาย- เท่ากับเท่ากัน จะได้ว่าสมการนั้นเป็นจริงซึ่งจานวนที่แทนค่าตัวแปรแล้วทาให้ประโยคสมการเป็นจริงเรียกว่า คาตอบของสมการ และถ้าแทนค่าตัวแปรด้วยจานวนหนึ่งแล้ว ทาให้ประโยคที่อยู่สองข้างของเครื่องหมายเท่ากับไม่เท่ากัน จะได้ว่าสมการนั้นเป็นเท็จ จานวนใดที่แทนxในสมการ 13+x =30แล้วทาให้สมการ13+x = 30 เป็นจริง(17) จานวนใดที่แทนyในสมการ 2y–15 = 5แล้วทาให้สมการ2y–15 = 5 เป็นจริง(10) สมบัติของการเท่ากัน เมื่อมีจานวนสองจานวนที่เท่ากัน นาจานวนอีกจานวนหนึ่งมาบวกแต่ละจานวนที่เท่ากันนั้น ผลบวกจะเท่ากัน เรียกสมบัตินี้ว่า สมบัติการเท่ากันของการบวก เขียนเป็นสัญลักษณ์ได้ ดังนี้ ให้a, b และ cแทนจานวนใด ๆ ถ้า a = b ดังนั้น a + c = b+ c เมื่อมีจานวนสองจานวนที่เท่ากัน นาจานวนอีกจานวนหนึ่งมาลบออกจากแต่ละจานวน ที่เท่ากันนั้น ผลลบจะเท่ากัน เรียกสมบัตินี้ว่า สมบัติการเท่ากันของการลบ เขียนเป็นสัญลักษณ์ได้ ดังนี้ ให้a, b และ cแทนจานวนใด ๆ ถ้า a = b ดังนั้น a – c = b –c
  • 2. เมื่อมีจานวนสองจานวนที่เท่ากัน นาจานวนอีกจานวนหนึ่งมาคูณแต่ละจานวนที่เท่ากันนั้น ผลคูณจะเท่ากัน เรียกสมบัตินี้ว่า สมบัติการเท่ากันของการคูณ เขียนเป็นสัญลักษณ์ได้ ดังนี้ ให้ a, b และ c แทนจานวนใด ๆ ถ้า a = b ดังนั้น a ×c = b ×c เมื่อมีจานวนสองจานวนที่เท่ากัน นาจานวนอีกจานวนหนึ่งที่ไม่เท่ากับศูนย์มาหารแต่ละจานวน ที่เท่ากันนั้น ผลหารจะเท่ากันเรียกสมบัตินี้ว่า สมบัติการเท่ากันของการหาร เขียนเป็นสัญลักษณ์ได้ดังนี้ ให้ a, b และ c แทนจานวนใด ๆ ที่ c  0 ถ้า a = b ดังนั้น c b c a  การแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว โดยใช้สมบัติของการเท่ากัน การแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว สามารถนาสมบัติการเท่ากันของการบวก และสมบัติการเท่ากันของการลบมาใช้ในการหาค่าตัวแปรในสมการ ตัวอย่าง 1) จงแก้สมการ 12 a = 8 12 a = 8 นา 12 มาคูณทั้งสองข้างของสมการ จะได้ 12 a ×12 = 8 ×12 a = 96 ตรวจสอบ แทน a ด้วย 96 ในสมการ 12 a = 8 จะได้ 12 a = 8 เป็นสมการที่เป็นจริง ดังนั้น 96 เป็นคาตอบของสมการ 12 a = 8 การแก้สมการโดยใช้สมบัติการเท่ากันของการบวก การลบ การคูณ และการหาร การแก้สมการสามารถนาสมบัติการบวก การลบ การคูณและการหาร มาใช้ในการหาค่า ตัวแปรที่เป็นคาตอบของสมการที่กาหนดได้ ตัวอย่าง 1) จงแก้สมการ x 9 8 +7 = 55 x 9 8 +7 = 55 นา 7 มาลบทั้งสองข้างของสมการ จะได้ x 9 8 +7 – 7 = 55 –7 หรือ x 9 8 = 48 96
  • 3. นา 8 9 มาคูณทั้งสองข้างของสมการ จะได้ x 9 8 × 8 9 = 48 × 8 9 หรือ x = 54 ตรวจสอบ แทน x ด้วย 54 ในสมการ x 9 8 +7 = 55 จะได้ 9 8 × 54 + 7 = 55 เป็นสมการที่เป็นจริง ดังนั้น 54 เป็นคาตอบของสมการ x 9 8 + 7 = 55 การเขียนสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวแทนสถานการณ์หรือปัญหา การเขียนสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวแทนสถานการณ์หรือปัญหา คือ การเขียนประโยคของสถานการณ์หรือปัญหาในรูปของประโยคสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว เราสามารถนาความรู้เรื่อง การเขียนสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวแทนสถานการณ์หรือปัญหาไปใช้เป็นพื้นฐานในการเรียนการแก้โจทย์ ปัญหาเกี่ยวกับสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว เขียนแทนด้วยประโยคสมการ พิจารณาประโยคต่อไปนี้ “จานวนจานวนหนึ่งบวกด้วยสิบเก้าเท่ากับสามสิบสอง” “เจ็ดสิบห้าเท่ากับจานวนจานวนหนึ่งลบด้วยสิบหก” การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวและตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคาตอบที่ได้ การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวเป็นกระบวนการวิเคราะห์ และดาเนินการหาสิ่งที่โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวต้องการให้หา เราสามารถนาความรู้เรื่อง การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวและตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคาตอบที่ได้ไปใ ช้ในชีวิตประจาวันได้ ตัวอย่าง เศษหนึ่งส่วนห้าของจานวนหนึ่งมีค่าเท่ากับ 20จงหาจานวนนั้น วิธีทา สมมุติจานวนที่ต้องการเป็นตัวแปร x สิ่งที่โจทย์ถามหา เศษหนึ่งส่วนห้าของจานวนหนึ่งเท่ากับ 20 สิ่งที่โจทย์บอก 1 ใน5 ของจานวนจานวนหนึ่งเท่ากับ 20 เขียนเป็นสมการและหาคาตอบได้ดังนี้ 5 1 x = 20 นา 1 5 มาคูณทั้งสองข้างของสมการ ทำควำมเข้ำใจปัญหำ วำงแผน ดำเนินกำรตำมแผน
  • 4. จะได้ 5 1 x× 1 5 = 20 × 1 5 หรือ x = 100 ตรวจสอบ แทน x ด้วย 100ในสมการ 5 1 x = 20 จะได้ 5 1 × 100 = 20 หรือ 20 = 20 เป็นสมการที่เป็นจริง ดังนั้น 100เป็นคาตอบของสมการ 5 1 x = 20 ตรวจสอบคำตอบ