SlideShare a Scribd company logo
1 of 40
วิชางานช่างไฟฟ้า
วัสดุ อุปกรณ์และเครื่องมือในงาน
ไฟฟ้า
เครื่องมือวัดไฟฟ้า
รื่องมือวัดไฟฟ้ามีหลายประเภท ที่มีใช้และเห็นกันบ่อย ๆ
น แอมป์มิเตอร์ โวลท์มิเตอร์และ มัลติมิเตอร์ ฯลฯ
ต่เครื่องมือวัดที่นิยมใช้กันมากที่สุดได้แก่ มัลติมิเตอร์
องจากใช้ง่าย ราคาถูก และ สามารถใช้ได้เอนกประสงค์
ามารถใช้วัดได้ทั้ง กระแสไฟฟ้า แรงดันไฟฟ้า และความต้า
ฟฟ้านับเป็นเครื่องมือวัดขั้นพื้นฐานที่ช่างไฟฟ้าจะต้องมีไว้ใ
ละจะต้องมีความรู้ ความเข้าใจในการใช้งาน
• 1.ส่วนประกอบของมัลติมิเตอร์
         มัลติมิเตอร์มีส่วนประกอบภายนอกสำาหรับใช้งานที่
คล้ายคลึงกัน
         
                             
                                   
 
หมายเลข 1 คือ หน้าปัดสเกล
                                    หมายเลข 2 คือ เข็มชี้
                                    หมายเลข 3 คือ สกรูปรับเข็มให้
ตรง 0
                                    หมายเลข 4 คือ ปุ่มปรับค่า 0
                                    หมายเลข 5 คือ ย่านและประเภท
ของค่าที่จะวัด
                                    หมายเลข 6 คือ สวิทช์เลือกย่าน
และประเภท
                                    หมายเลข 7 คือ รูสำาหรับเสียบสาย
•   หน้าปัดสเกล
เนื่องจากมัลติมิเตอร์สามารถวัดค่าทางไฟฟ้าได้หลาย
อย่าง ดังนั้นที่หน้าปัดจะมีสเกลของค่าต่างๆแยกจากกัน เมื่อวัด
อ่านค่า จำาเป็นต้องเลือกสเกลที่จะอ่านให้ถูกต้อง
                       
      
•  จากรูปจะเห็นว่า
       - เมื่อวัดความต้านทานต้องอ่านค่าจากสเกล
       - เมื่อวัดแรงดันหรือกระแสไฟตรงต้องอ่านค่าจากสเกล
DCV.A
       - เมื่อวัดแรงดันไฟสลับต้องอ่านค่าจากสเกล ACV หรือ
AC 3V Only
       - เมื่อวัดกระแสไฟสลับต้องอ่านค่าจากสเกล ACA
•   เข็มชี้   
เข็มชี้ เป็นตัวชี้ค่าที่วัด ซึ่งการอ่านค่าต้องอ่านในแนว
ตั้งฉากกับหน้าปัดและเข็ม ถ้าอ่านจากด้านข้างจะทำาให้การอ่าน
ค่าผิดพลาด
                     
      
 สกรูปรับเข็ม ในเวลาปกติก่อนทำาการวัดเข็มจะต้องชี้ค่า 0
ทางด้านซ้ายมือแต่ถ้าเข็มไม่ชี้ค่า0 สามารถทำาได้โดยการใช้
ไขควงปรับสกรูจนกระทั่งเข็มชี้ตรง 0
 ปุ่มปรับค่า   เมื่อทำาการวัดค่าความต้านทานและ
ต้องการอ่านค่าที่ถูกต้อง     ต้องทำาการปรับให้เข็มชี้ค่า ทาง
ด้านขวาซึ่งการปรับจะต้องนำาสายวัดมาแตะกัน และทำาการหมุน
ปุ่มจนกระทั่งเข็มค่า
• ย่านและประเภทของค่าที่จะวัด
  ก่อนทำาการวัด จะต้องทราบก่อนว่าจะทำาการวัดแรงดัน
หรือกระแสหรือ ความต้านทาน และถ้าเป็นการวัดแรงดันหรือ
กระแส ต้องทราบต่อไปว่า เป็นไฟตรงหรือไฟสลับและค่า
ประมาณที่จะวัด ในกรณีไม่สามารถประมาณหรือทราบค่าที่จะ
วัดให้ทำาการตั้งย่านวัดสูงสุดไว้ก่อน
                                          
                            
มัลติมิเตอร์ที่มีย่านและประเภทการวัด ซึ่งสามารถวัดค่าต่าง
ๆ ได้ดังนี้
 1.  แรงดันไฟตรง 120 mV   3V   12V   120 V   300
V  และ 1200 V
       2.  กระแสไฟตรง 30 A   3mA   30mA  และ 0.3A
• สวิทช์เลือกย่านและประเภท
เป็นสวิทช์เลือก (Selector switch)    ที่ทำาหน้าที่ต่อวงจร
ภายในมิเตอร์ทำาให้สามารถวัดค่าต่าง ๆ ที่กำาหนดไว้ตามย่านและ
ประเภท ดังนั้นเมื่อต้องการวัดค่าอะไร มีค่าสูงสุดเท่าไรให้ทำา กา
รบิดสวิทช์ไปตำาแหน่งนั้น ๆ
• รูสำาหรับเสียบสายต่อขั้วลบและขั้วบวก
เป็นรู สำาหรับเสียบสาย ที่ใช้ในการวัด จะมีสายสีดำาและ สีแดง
สายสีดำาจะเสียบเข้ากับรู Common(มักเขียนสั้น ๆ ว่า Com.)หรือ
รูลบ (-) ส่วนสายสีแดงจะเสียบเข้ากับรูบวก(+)  นอกจากนี้ในมัลติ
มิเตอร์บางแบบจะมีรู Out (+) ซึ่งใช้สำาหรับเสียบสายสีแดงเมื่อ
ทำาการวัดขนาดของสัญญาณ(dB) และยังอาจมีรูเสียบอื่นๆ ตาม
การใช้งานของมัลติมิเตอร์ดังนั้นเมื่อจะใช้งานต้องทำาการศึกษา
คู่มือการใช้อย่างระมัดระวังและละเอียดรอบคอบ
• การอ่านค่าจากหน้าปัด  ในการอ่านค่าจากหน้าปัด จะต้อง
พิจารณาความสัมพันธ์ระหว่างย่านและประเภทกับค่าที่อ่าน
จากสเกล กล่าวคือ
       1. ต้องทราบว่าขณะทำาการวัดได้ตั้งย่านวัดสูงสุด
เท่าไร เป็นค่าทางไฟฟ้าแบบไหน (แรงดันไฟตรง แรงดัน
ไฟสลับ) กระแสไฟตรง เป็นต้น
       2. ต้องเลือกสเกลที่จะอ่านได้ถูกต้อง จากนั้นต้อง
หาแฟคเตอร์ในการคูณเข้ากับค่าที่อ่านได้จากสเกล ซึ่งแฟค
เตอร์(f ) สามารถหาได้จาก
                      
 การอ่านค่าเมื่อทำาการวัดแรงดันไฟตรง
                         
ตั้งสวิทช์เลือกที่ สเกลที่อ่าน ผลลัพธ์
             
 120  mV
                 3  
 V
               12  
 V
               120
  V
               300
  V
        0-
120  (DCV.A)
       0-
30    (DCV.A)
       0-
120  (DCV.A)
       0-
120  (DCV.A)
       0-
30    (DCV.A)
        ค่าที่อ่าน
X1mV
  ค่าที่
อ่าน X0.1mV
  ค่าที่
อ่าน X0.1mV
  ค่าที่
อ่าน X1mV
   ค่าที่
อ่าน X10mV
ดข้างบน ถ้าตั้งสวิทช์เลือกที่ย่านวัด 12 V ผลจากการวัดจะมีค่าเท่ากับ 70 X 0
การอ่านค่าเมื่อทำาการวัด
แรงดันไฟสลับ
ดข้างบน ถ้าตั้งสวิทช์เลือกที่ย่านวัด 30 V ผลจากการวัดจะมีค่าเท่ากับ 22 X
ตั้งสวิทช์เลือกที่ สเกลที่อ่าน ผลลัพธ์
                 3   
V
         12  V
         30  V
        120 V
        300 V
      1200 V
           0-3   
  (AC3V only)
           0-120
 (ACV)
           0-
30    (ACV)
           0-
120  (ACV)
           0-
30    (ACV)
        ค่าที่อ่าน
X1V
 ค่าที่
อ่าน X0.1V
 ค่าที่อ่าน
X1V
 ค่าที่อ่าน
X1V
 ค่าที่อ่าน
X10V
การอ่านค่าเมื่อทำาการวัดกระแสไฟตรง 
       จากหน้าปัดข้างบน ถ้าตั้งสวิทช์เลือกที่ย่านวัด 30 mA ผลจากการ
วัดจะมีค่าเท่ากับ17.5 X1mA = 17.5mA
             
ตั้งสวิทช์เลือกที่ สเกลที่อ่าน ผลลัพธ์
30 A
           3  mA
         30  mA
        0.3  A
            0-
30  (DCV.A)
           0-
30  (DCV.A)
           0-
30  (DCV.A)
           0-
30  (DCV.A)
        ค่าที่อ่าน
X1A
 ค่าที่อ่าน
X0.1mA
  ค่าที่อ่าน
X1mA
  ค่าที่อ่าน
X0.01A
 การอ่านค่าเมื่อทำาการวัด
กระแสไฟสลับ
ปัดข้างบน ถ้าตั้งสวิทช์เลือกที่ย่านวัด 12A ผลจากการวัดจะมีค่าเท่ากับ 8 X1
ตั้งสวิทช์เลือกที่ สเกลที่อ่าน ผลลัพธ์
                 12
A
                  0-12
 (ACA)
          ค่าที่
อ่าน X1A
 การอ่านค่าเมื่อทำาการวัดความ
ต้านทาน
ตั้งสวิทช์เลือกที่ สเกลที่อ่าน  ผลลัพธ์
R X 1
          R X 10
          R X 1k
          R X 10k
           0 -
( )
           0 -
( )
           0 -
( )
           0 -
( )
         ค่าที่อ่าน
X 1    
          ค่าที่อ่าน
X 10  
          ค่าที่อ่าน
X 1k  
          ค่าที่อ่าน
X 10k 
      จากหน้าปัดข้างบน ถ้าตั้งสวิทช์เลือกที่ย่านวัด R x10
ผลจากการวัดจะมีค่าเท่ากับ 140 x10= 1400 หรือ 1.4 k
 
• หมายเหตุ ในปัจจุบันได้มีการนำาเอามัลติมิเตอร์
แบบแสดงผลการวัดออกมาเป็นตัวเลขหรือที่
เรียกกันว่า"ดิจิตอลมัลติมิเตอร์ " 
(digital multimeter) มาใช้แทนมิเตอร์แบบเข็ม
ชี้
ทั้งนี้เพราะการอ่านค่าสะดวกกว่า
       วัสดุ-อุปกรณ์ในงานไฟฟ้า • อุปกรณ์ต่างๆ ที่ใช้ประกอบในการเดินสายไฟ ที่สำาคัญและ
จำาเป็นมีอยู่มากมายหลายอย่างพอแยกได้คือ
1.สายไฟฟ้า สายไฟฟ้าเป็นสิ่งจำาเป็นอย่างยิ่ง เพราะสายไฟเป็น
ตัวนำาที่จะนำาให้กระแสไฟฟ้าไหลผ่านไปตามสายจากแห่งหนึ่ง
ไปอีกแห่งหนึ่งได้ตามต้องการ สายไฟฟ้าที่นิยมใช้งานทั่วๆไปมี
 หลายขนาดที่ควรทราบ มีดังนี้
         1.1 สายเปลือย เป็นสายที่ไม่หุ้มฉนวน ใช้สำาหรับกระแส
ไฟฟ้ามากๆ เช่น ใช้กับพวกสายไฟฟ้าแรงสูง ส่วนมากเป็นพวก
ทองแดง หรืออลูมิเนียมใช้เดินในระบบสูง เพราะอันตรายจาก
สายไฟแรงสูงมีมาก
         1.2 สายหุ้มฉนวน
               ก. สายหุ้มยาง ทำาด้วยลวดทองแดง จะเป็นเส้นเดี่ยว
หรือหลายเส้นขึ้นอยู่กับชนิดของงานที่นำามาใช้ภายนอกหุ้ม
ฉนวนด้วยดีบุก หรือยาง แบบนี้นิยมใช้กันมาก
               ข. สายหุ้มพลาสติก ส่วนมากมักทำาเป็นสายหลายๆ
เส้น ที่หุ้มด้วยพลาสติกเพื่อให้อ่อนตัวได้ง่าย ผู้ผลิตมักทำาเป็น
สายคู่ติดกัน
               ค. สายไหม ภายในทำาเป็นลวดทองแดงหลายเส้น
หุ้มด้วยยางแล้วหุ้มทับด้วยไหมอีกทีหนึ่งมักทำาเป็นเส้นคู่บิดแบบ
เกลียว เหมาะสำาหรับติดเต้าเพดานกับกระจุ๊บหลอด
               ง. สายเดี่ยวและสายคู่ P.V.C. (Poly Vinyl
•   สายไฟที่นิยมใช้ทั่ว ๆ ไปคือสายไฟที่ทำาจากลวดทองแดง
มีเนื้อที่ไม่น้อยกว่า 98 ส่วนใน 100   และหุ้มด้วยฉนวนไว้
สำาหรับรับแรงดันไม่ตำ่ากว่า 250 โวลท์ สายไฟที่ใช้มี
อุณหภูมิไม่เกิน 40 องศา C และต้องมีขนาดไม่เล็กกว่า
ขนาดตามตารางนี้ขนาด พ.ท. ต่อตารา
งมิล
กระแสสูงสุดในสาย
(A :แอมป์)
0.5
1.0
1.5
2.5
4
6
10
16
25
35
50
70
3
6
8
12
16
22
30
42
48
70
88
105
•  2. เข็มขัดรัดสาย
                          
                                                  
 เข็มขัดรัดสายขนาดต่างๆ
       ในปัจจุบันนี้การเดินสายไฟตามอาคารต่างๆจะเป็นตึกหรือ
ไม้ก็ดี นิยมใช้เข็มขัดรัดสาย เดินเป็นส่วนมากเพราะเรียบสนิท
เป็นระเบียบสวยงามดี   เข็มขัดรัดสายทำาด้วยอลูมิเนียม ตรง
กลางมีรู อาจจะมี 1 –2 รู แล้วแต่ขนาดเข็มขัดรัดสายมีขนาด
เป็นเบอร์ต่างๆ ตั้งแต่ เบอร์ 0( เล็กที่สุด) ถึงเบอร์ 6 เบอร์ 0 หรือ
ขนาดเล็กใช้กับสายไฟขนาดเล็กเส้นเดี่ยวส่วนขนาดใหญ่ใช้กับ
สายไฟขนาดใหญ่หรอสายไฟขนาดเล็กหลายเส้นรวมกัน ตรง
กลางมีรูใช้ตะปูตอกยึดกับผนังให้แน่น
       วิธีใช้เข็มขัดรัดสาย
       1. ใช้ดินสอทำาเครื่องหมายไว้ให้มีระยะห่างกันประมาณ
10 ซ.ม
       2. ใช้ตะปูเหล็กตอกยึดตรงกลางของเข็มขัดรัดสายกับผนัง
ไว้ การตอกให้ได้แนวเดี่ยวกันจนตลอด
       3. ดึงสายไฟให้ตรงเสียก่อนจึงวางบนเข็มขัดรัดสายแล้ว
รัดให้แน่น
       4. สายไฟคู่พยายามอย่าให้ทับกัน
       5. สายที่ไม่มีฉนวนหุ้มห้ามใช้เข็มขัดรัดสายโดยเด็ดขาด
•  3. ตลับแยกสาย
           ตลับแยกสายมีลักษณะกลมมีฝาเกลียวบิด มีรูเจาะออกร
อบๆ 4 รูสำาหรับเดินสายไฟออกตลับแยกสายมีไว้สำาหรับต่อสาย
ไฟ ภายในตลับเพื่อให้มองดูสวยงามเรียบร้อย ตามปกติสาย
ไฟฟ้าที่เดินภายในอาคารบ้านเรือนย่อมจะต้องต่อแยกไปใช้
หลายจุดเช่น ต่อปลั๊ก ,สวิทช์ ,ดวงไฟ ฯลฯ จึงต้องมีตลับแยก
สายไว้ต่อเพื่อต้องการความเรียบร้อยดังกล่าว ดังรูป แต่ใน
ปัจจุบันตลับแยกสายไม่เป็นที่นิยมใช้ในการต่อจุดแยกสายไฟ
อีก  เนื่องจากนิยมเชื่อมต่อวงจรภายใต้แผงปลั๊กหรือสวิทช์ที่อยู่
ตามผนังมากกว่า
ตลับแยกสาย 
        4. ตุ้ม (ลูกถ้วย)
            ตุ้มหรือลูกถ้วย ใช้กันมากในการเดินสายนอกอาคาร
หรือในโรงฝึกงาน ตุ้มใช้ในการยืดสายให้แน่นแข็งแรง ตาม
บ้านมีใช้ภายนอกคือยึดสายไฟจากบ้านไปยังเสาไฟฟ้าภายนอก
   ตุ้มมีหลายขนาดทั้งเล็กและใหญ่แล้วแต่ขนาดของสายไฟการ
ยึดตุ้มให้ติดกับไม้ ใช้ตะปูเกลียวไขยึดติดแน่น   ถ้าอาคารเป็น
ตึกหรือคอนกรีตใช้ตะปูเกลียวยึดติดกับผนังไม้ได้ต้องใช้ ้้
เหล็กสกัดปูนออกก่อนแล้วใช้ไม้สักหรือไม้เนื้อแข็งเหลาให้กลม
โตกว่าตะปูเกลียวฝังไว้ให้แน่นแล้วจึงใช้ตะปูเกลียวยึดกับไม้ที่
ฝังนี้ เราเรียกว่า “ ฝังพุก ”
รูปตุ้ม (ลูกถ้วย)
  5.พุกประกับ
              พุกประกับทำาด้วยกระเบื้องเคลือบ เป็นฉนวนไฟฟ้า
พุกประกับมีเป็นชุด ๆ หนึ่งมี 2 อัน อันล่างเป็นร่องสำาหรับเดิน
สายไฟฟ้า ทั้ง 2 ตัวมีรูอยู่ตรงกลางสำาหรับใช้ตะปูเกลียวยึดติด
กับผนัง    พุกประกับใช้ยึดสายเมนคู่ที่เดินภายในอาคาร ส่วน
มากเป็นสายเดี่ยวมีฉนวนหุ้ม ปัจจุบันนี้ไม่นิยมใช้พุกประกับกัน
แล้ว เพราะนิยมใช้สายไฟคู่ P.V.C.ซึ่งดูเรียบร้อยสวยงามและ
ปลอดภัยกว่าไม้รางมีเป็นชุด 2 อัน คือ อันล่างเป็นไม้มีร่อง 2
ร่อง สำาหรับสายไฟเดินตามรางอันบนเป็นไม้บางปิดทับไม้ไม่ให้
มองเห็นสายไฟ เพื่อให้ดูเรียบร้อยสวยงาม แล้วป้องกันอันตราย
จากไฟฟ้า ปัจจุบันนี้ไม่ค่อยมีใช้กันเพราะนิยมใช้สายไฟคู่
P.V.C. ซึ่งไม่ต้องใช้ไม้รางการติดไม้รางใช้ตะปูตอกยึดให้แน่น
เวลาจะเลี้ยวหรือหักมุม ก็ตัดไม้รางด้านละ45 องศา สองด้านก็
จะได้มุมฉาก 95 องศา พอดี
 พุกประกับ 
        6.ไม้แป้น
            ไม้แป้นทำาด้วยไม้รูปร่างลักษณะกลม หรือสี่เหลี่ยมตาม
รูปร่างอุปกรณ์นั้น ๆ ใช้เป็นที่รองอุปกรณ์บางอย่างเช่นสวิทช์
ปลั๊ก (ตัวเมีย) เต้าเพดาน ฯลฯ เวลาเดินสายต้องเจาะแป้นไม้
เพื่อเดินสายไฟข้างในเสียก่อน แล้วโผล่สายออกมาสำาหรับเดิน
สายไฟต่อไป
        7. สะพานไฟ (Cut Out ) หรือสวิทช์ตัดตอน
            สะพานไฟทำาด้วยกระเบื้องทนไฟเป็นฉนวนมีไว้ภายใน
บ้าน เชื่อมหรือเป็นสะพานไฟระหว่างไฟภายในบ้านกับหม้อ
มิเตอร์ไฟฟ้าข้างนอกบ้าน มีฟิวส์ต่อไว้เมื่อเราต้องการตัดกระแส
ไฟฟ้าไม่ให้เข้าบ้าน เพื่อจะเดินสายไฟหรือซ่อมแซมต่อเติม
อุปกรณ์ไฟฟ้า เราก็ยกสะพานไฟเสีย เพื่อไม่ให้ไฟฟ้าผ่านก็จะ
ทำางานโดยปลอดภัย ส่วนขนาดต่าง ฯ ของแอมแปร์นั้นบริษัทผู้
ผลิตจะเขียนบอกไว้ที่ตัวคัทเอาท์
สะพานไฟ 
         8.ฟิวส์ (Fuses)
         ฟิวส์เป็นอุปกรณ์ไฟฟ้าชนิดหนึ่งที่จำาเป็นมากเป็นเครื่อง
ป้องกันอันตราย อันเกิดจากการใช้กระแสไฟฟ้าเกิดวงจร
ลัด(shot circuit ) หรือเมื่อมีกระแสไฟฟ้าไหลผ่านวงจรมาก
เกินไป   เมื่อผิดปกติหรืออาจเกิดอันตรายฟิวส์ก็จะขาดเสียก่อน
คือตัดวงจรไม่ให้กระแสไฟฟ้าเดินได้อีกต่อไป ฟิวส์ที่ใช้มีอยู่
หลายแบบหลายขนาดด้วยกัน ซึ่งแล้วแต่ความเหมาะสมตาม
ประเภทของงาน    จุดประสงค์ใหญ่ คือ เมื่อจะเกิดอันตรายคือ
กระแสไฟมากเกินไป หรือเกิดลัดวงจร ฟิวส์ก็จะขาดทันท้ี
ฟิวส์แบบต่าง ๆ 
         ชนิดของฟิวส์
         1.ฟิวส์เส้นลวด ทำาเป็นเส้นลวดกลมยาวมีหลายขนาด
แล้วแต่กระแสไฟที่จะใช้ฟิวส์เส้นลวดทำาด้วยโลหะต่างๆ เช่น
เงิน, ทองแดง, ตะกั่ว, ดีบุก แต่ที่นิยมมากคือโลหะผสมระหว่าง
ตะกั่วและดีบุก  เพราะมีจุดหลอมเหลวตำ่าและราคาถูก
         2. ฟิวส์กระบอก เป็นฟิวส์ขนาดเล็กอยู่ในหลอดแก้วเล็ก
ๆ ฟิวส์ประเภทนี้ส่วนมากใช้ในอุปกรณ์  ไฟฟ้า เช่น วิทย ุ้
โทรทัศน์ เครื่องขยายเสียง เป็นต้น
         3. ปลั๊กฟิวส์ เป็นฟิวส์แบบปลั๊ก เป็นเกลียวหมุนเข้าออก
ได้ ภายในบรรจุด้วยเส้นฟิวส์ขนาดเล็กเมื่อฟิวส์ขาดสามารถ
ถอดเปลี่ยนได้ง่ายสะดวก แต่ราคาค่อนข้างแพงเมื่อเทียบกับฟิวส์
เส้นลวด
ขนาดของฟิวส์
สายไฟเบอร์ 20 ใช้ฟิวส์ขนาด 3 แอมป์แปร์ 
สายไฟเบอร์ 18 ใช้ฟิวส์ขนาด 5 แอมป์แปร์
สายไฟเบอร์ 16 ใช้ฟิวส์ขนาด 10 แอมป์แปร์
สายไฟเบอร์ 14 ใช้ฟิวส์ขนาด 15 แอมป์แปร์
สายไฟเบอร์ 12 ใช้ฟิวส์ขนาด 20 แอมป์แปร์
สายไฟเบอร์ 10 ใช้ฟิวส์ขนาด 25 แอมป์แปร์
     9.สวิทช์ไฟฟ้า (switch )
            สวิทช์ไฟฟ้าทำาหน้าที่เปิด-ปิดวงจรไฟฟ้าให้กระแส
ไฟฟ้าผ่าน   สวิทช์มีหลายแบบหลายขนาดเลือกชื้อได้ตามความ
พอใจให้เหมาะกับงานและจำานวนเงิน
                             
 สวิทช์ไฟฟ้า
หลักในการต่อสวิทช์ ตามปกติที่สวิทช์จะมีปุ่มหรือขาโผล่มา
สำาหรับต่อสายไฟอยู่ 2 อัน เราก็นำาสายไฟ (เมน) เส้นเดียวมา
ตัดตรงกลางเป็น 2 ข้าง สายไฟที่เราตัดออกแล้วทั้ง 2 ข้างก็นำา
มาต่อกับขาสวิทช์ ทั้ง 2 ด้วยสกรูหรือตะปูเกลียวแล้วแต่แบบ
ของสวิทช์
         10.ปลั๊กไฟฟ้า (plug)
              ปลั๊กไฟฟ้ามีอยู่ 2 พวก คือ ปลั๊กตัวผู้และปลั๊กตัวเมีย
      1. ปลั๊กตัวผู้   ปลั๊กตัวผู้มีรูปร่างหลายแบบ แต่ที่เหมือน
กันคือ จะมีเดือยเสียบยื่นออกมา 2 ขา สำาหรับเสียบที่ปลั๊กตัวเมีย
เพื่อให้กระแสไฟฟ้าเดินผ่านถึงกันได้ ตัวปลั๊กทำาด้วยโลหะที่เป็น
ฉนวนหรือพลาสติกวิธีต่อสายไฟกับปลั๊กคือ นำาสายไฟทั้งคู่ปอก
สายออกประมาณเส้นละ 1 นิ้วแล้วนำามาต่อกับเดือยทั้งคู่ยึดตัว
สกรูหรือตะปูเกลียว
      2. ปลั๊กตัวเมีย   ทำาด้วยพลาสติกหรือฉนวน มีรูปร่าง
กลมหรือสี่เหลี่ยมแล้วแต่ผู้ผลิต ๆ ออกมา ส่วนมากตรึงติดแน่น
อยู่กับที่ มี 2 รู สำาหรับรองปลั๊กเสียบ (ตัวผู้) เพื่อให้กระแสไฟฟ้า
เดินผ่านถึงกันได้ ที่รูเสียบทั้งคู่จะมีโลหะอยู่ภายในมีแกนสำาหรับ
ต่อสายไฟทั้งคู่ เวลาต่อสายไฟฟ้าก็ต่อกับแกนคู่นี้ยึดด้วยสกรู
หรือตะปูเกลียว
       
   ข้อควรระวังเกี่ยวกับปลั๊กไฟฟ้า
          1.อย่าจับสายไฟที่ปลั๊กตัวผู้ดึง จะทำาให้สายไฟหลุดได้
ง่าย
          2.เวลาต่อสายไฟต้องต่อให้ดีอย่าให้ปลายทั้ง 2 สัมผัส
กันได้เป็นอันขาด
11.ผ้าเทปพันสาย
               เมื่อต่อสายไฟเสร็จแล้วต้องพันสายด้วยผ้าพันสาย
ให้มิดชิดเรียบร้อย เพื่อป้องกันไฟรั่วเพราะอาจเกิดอันตรายได้
ง่าย ผ้าพันสายไฟฟ้าเป็นฉนวนมีหลายอย่างเช่น ทำาด้วย ยาง
ผ้า สกอตเทป
 เครื่องมือที่ใช้ในงานไฟฟ้า
เครื่องมือเป็นสิ่งจำาเป็นและสำาคัญของช่างไฟฟ้า ช่างไฟฟ้า
ที่ดีจะต้องรู้จักการใช้เครื่องมือให้ถูกต้องตลอดจนการระวัง
รักษาเครื่องมือ เครื่องมือช่างไฟฟ้ามีมาก ที่จำาเป็นสำาหรับ
นักเรียนใช้ในการปฏิบัติงานไฟฟ้าเบื้องต้นมีดังนี้  คือ
•  1. คีม เป็นเครื่องมือที่จำาเป็นมากสำาหรับช่างไฟฟ้า คีม
ใช้สำาหรับ ตัด ดัด งอ โค้ง และปอกสายไฟฟ้า คีมที่ดีนั้นจะต้อง
ปลอดภัยในการปฏิบัติงาน คือด้ามเป็นชนวนหุ้มอย่างดี อาจจะ
ใช้ยางหรือพลาสติกก็ได้ คีมที่ใช้ในการปฏิบัติงานไฟฟ้าพอจะ
แยกออกได้ 4 อย่างคือ
         ก. คีมปอกสาย
         ข. คีมจับ
         ค. คีมปากจิ้งจก
         ง. คีมตัด
ควรระวังในการใช้คีม
.ใช้แล้วต้องทำาความสะอาดเสมอ
. ก่อนเก็บใช้นำ้ามันชโลมเสียก่อน
. อย่าเก็บไว้ในที่ชื้นจะทำาให้เกิดสนิมได้ง่าย
. ถ้าด้ามที่หุ้มฉนวนชำารุดต้องรีบซ่อมทันที เพราะอาจจะไม่ปลอดภัยในการปฏ
2.ไขควง  ไขควงหรือบางทีเรียกว่า “ สกรูไร“ เป็นเครื่องมือของ
ช่างไฟฟ้าที่ขาดไม่ได้โดยเฉพาะอุปกรณ์เล็กๆน้อย ๆ ภายในบ้าน เช่น ต่อ
ฟิวส์ สวิทช์ ดวงโคม ฯลฯ ไขควงใช้สำาหรับขันตะปูเกลียวหรือสกรูให้แน่น
หรือใช้ถอนตะปูเกลียวให้หลุดออกจากที่ยึดไขควงส่วนมากทำาด้วยเหล็ก
เหนียวปลายแบนด้ามใช้ไม้หรือพลาสติก ไขควงมีหลายชนิดตามลักษณะที่
ใช้งานคือ
  ก. แบบที่ใช้กันทั่วไป (standard type)  คือเป็นแบบธรรมดามี
หลายขนาดตั้งแต่ขนาดเล็กถึงขนาดใหญ่สั้นยาวแตกต่างกันใช้ตามลักษณะ
ของงาน
         ข. แบบออฟเซต (offset type) มีลักษณะงอเป็นมุมฉากมีที่จับยืดตรง
กลางเหมาะในการใช้งานที่อยู่ในที่จำากัดซึ่งไขควงธรรมดาใช้ไม่ได้
         ค. แบบฟิลิปส์ (phillips type) ปลายเป็นแฉก ๆ 4 แฉกใช้สำาหรับ
ขันหรือคลายสกรูที่มีหัวเป็นกากบาดหรือมีหัวเป็นรูปสี่แฉก  นอกจากนี้ยังมี
ไขควงที่สามารถใช้งานได้เอนกประสงค์คือ ไขควงเช็คไฟ โดยบางชนิด
สามารถเปลี่ยนปลายได้หลายแบบ คือ ปลายแบน ปลายแฉก ปลายหกเหลี่ยม
และใช้เช็คจุดที่มีไฟฟ้าได้ด้วย
                             
        ข้อควรระวังในการใช้ไขควง
        1. อย่าใช้ไขควงแทนสิ่วหรือสกัด
        2. อย่าใช้ไขควงงัดอาจจะทำาให้งอได้ง่าย
        3. อย่าใช้ด้ามไขควงแทนค้อน
        4. เมื่อชำารุดรีบซ่อมทันที
3. มีด   มีดสำาหรับ ตัด ปอก ขูด หรือทำาความสะอาดสาย
ไฟฟ้า วิธีปอกสายไฟฟ้า ให้กดมีดลงบนสายไฟตะแคงมีดให้
เอียงประมาณ 45 องศา คล้ายกับการเหลาดินสอข้อสำาคัญอย่า
กดใบมีดให้ลึกเกินไปเพราะมีดอาจจะถูกลวดทองแดงภายใน
เสียหายได้
   4. สว่านเจาะไม้ สว่านเจาะไม้ใช้มากในเวลาเดินสาย
ไฟฟ้า บางครั้งมีความจำาเป็นต้องเจาะรูเพื่อยึดอุปกรณ์ไฟฟ้า
เช่นพุกประกับลูกถ้วย เป็นต้น สว่านเจาะไม้มีหลายแบบหลาย
ขนาด เช่นสว่านมือ สว่านเฟือง บิดหล่า เป็นต้น เราเลือกใช้ให้
เหมาะกับงาน
                          
                                         
 สว่านข้อเสีย (brace)              สว่าน
มือหมุน (hand drili)
        ข้อควรระวังในการใช้สว่าน
        1. อย่าปล่อยทิ้งไว้ให้เกิดสนิม
        2. ใช้ให้ถูกชนิดและลักษณะของงาน
        3. เมื่อใช้แล้วต้องทำาความสะอาด แล้วใช้นำ้ามันชโลมจึง
เก็บ
        4. ใส่ดอกสว่านให้ตรง แน่น ก่อนใช้งาน
        5. ขณะที่เจาะอย่าให้ดอกสว่านร้อนเกินไป
  5. ค้อน  ค้อนมีหลายชนิด แต่ที่เราใช้งานไฟฟ้าคือค้อนเดิน
สายไฟ มีลักษณะของหัวค้อนคือปลายด้านหนึ่งหน้าเรียบตรง
อีกด้านปลายแบนแหลม ทำาด้วยเหล็กใช้ตอกในที่แคบได้ ด้าม
จับเป็นไม้ มีนำ้าหนักประมาณ 250 กรัม ส่วนค้อนอีกประเภท
หนึ่งสามารถนำามาใช้เดินสายไฟได้คือ ค้อนหงอนหรือค้อน
ช่างไม้ ตัวค้อนทำาด้วยเหล็ก หน้าเรียบ ด้านบนเป็นหงอนใช้
ถอนตะปูได้ ใช้ในการตอกและถอนตะปูในการเดินสายไฟฟ้าได้
      
  ข้อควรระวังในการใช้ค้อน
        1. รักษาหัวค้อนให้เรียบสมำ่าเสมอกัน
        2. อย่าใช้ค้อนงัดให้เกินกำาลัง ด้ามจะหักได้
        3. ค้อนที่ชำารุดห้ามใช้
        4. รักษาค้อนให้สะอาดอยู่เสมอ
 6. เลื่อย เลื่อยมีหลายแบบหลายชนิดทั้งขนาดและรูปร่างที่
ใช้สำาหรับช่างไฟฟ้ามากคือเลื่อยปากไม้(back saw)หรือเลื่อย
ลอ รูปร่างลักษณะเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า ตรงสันด้านบนเป็น
เหล็กหนาฟันละเอียดประโยชน์ส่วนใหญ่ใช้ตัดปากไม้ในการ
เข้าไม้ต่าง ๆให้ประณีต
         ข้อควรระวังในการใช้เลื่อย
         1. อย่าปล่อยให้ใบเลื่อยเปียกนำ้า
         2. เก็บไว้ในที่แห้ง
         3. การแต่งฟันเลื่อยพยายามให้ฟันเลื่อยได้รูปเดิมทุกครั้ง
         4. ก่อนเก็บหลังใช้งานแล้วใช้นำ้ามันชโลมเสียก่อน
         5. อย่าวางเลื่อยให้ถูกแดดร้อน
 7.หัวแร้งบัดกรี     หัวแร้งบัดกรีใช้ในการบัดกรีสายตรงรอยต่อ
เสมอ หัวแร้งบัดกรีมีอยู่ 2 ชนิดคือ
                                
                                                  
 ก. หัวแร้งชนิดเผาด้วยเตา
ข. หัวแร้งไฟฟ้า
หัวแร้งไฟฟ้า หัวแร้งไฟฟ้าเหมาะสมที่สุดสำาหรับใช้งานเล็ก
ๆ น้อย ๆ   เช่น ในงานซ่อมและงานอื่น ๆ ที่ไม่ใช้ความร้อนมาก
เกินไป
ข้อควรระวังในการบัดกรี
        1. ส่วนที่จะบัดกรีต้องขูดความสะอาดเสียก่อน
        2. เวลาบัดกรีต้องจับให้แน่นอย่าให้เคลื่อนได้
        3. อย่าให้หัวแร้งบัดกรีร้อนเกินไป
        4. รักษาให้ปลายหัวแร้งสะอาดอยู่เสมอ
        5. เมื่อใช้หัวแร้งแล้วต้องจุ่มนำ้ากรดอย่างเจือจางแล้วจึง
เก็บ
  8. เครื่องมือวัดไฟฟ้า มีหลายอย่าง เช่น มัลติมิเตอร์
(multi meter) ซึ่งวัดได้หลายอย่างคือ โวลท์ โอห์ม และ
แอมแปร์ หรือจะใช้ของถูก ๆ ก็ได้คือ volt meter และ
Ammeter ซึ่งแยกใช้งานเป็นอย่าง ๆ ตัวเล็กราคาถูกส่วนมาก
เป็นของญี่ปุ่น
                             
       
 ข้อควรระวังในการใช้มิเตอร์วัดไฟ
        1. ก่อนใช้ต้องระวังให้มาก เพราะถ้าต่อผิดทำาให้เกิด
ความเสียหายได้
        2. ต้องศึกษาวิธีใช้เครื่องมือวัดให้เข้าใจดีเสียก่อน
        3. ใช้แล้วเก็บให้ดี ถ้าตกหรือกระทบกระเทือนมากจะเสีย
หายชำารุดได้
• The End

More Related Content

Viewers also liked

อุปกรณ์ติดตั้งงานไฟฟ้า
อุปกรณ์ติดตั้งงานไฟฟ้าอุปกรณ์ติดตั้งงานไฟฟ้า
อุปกรณ์ติดตั้งงานไฟฟ้า4lifesecret
 
มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้าสำหรับประเทศไทย บทที่5
มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้าสำหรับประเทศไทย บทที่5มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้าสำหรับประเทศไทย บทที่5
มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้าสำหรับประเทศไทย บทที่5พอใจ พลายงาม
 
ใบความรู้ เรื่อง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และความต้านทานไฟฟ้า
ใบความรู้ เรื่อง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และความต้านทานไฟฟ้าใบความรู้ เรื่อง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และความต้านทานไฟฟ้า
ใบความรู้ เรื่อง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และความต้านทานไฟฟ้าพัน พัน
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับวงจรไฟฟ้า
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับวงจรไฟฟ้าความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับวงจรไฟฟ้า
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับวงจรไฟฟ้าPrasert Boon
 
ใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้า
ใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้าใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้า
ใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้าพัน พัน
 
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร คณิตศาสตร์พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึ...
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร คณิตศาสตร์พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึ...เอกสารประกอบการเรียน เรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร คณิตศาสตร์พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึ...
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร คณิตศาสตร์พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึ...yindee Wedchasarn
 
มาตรฐานการเขียนแบบ
มาตรฐานการเขียนแบบมาตรฐานการเขียนแบบ
มาตรฐานการเขียนแบบPeerapong Veluwanaruk
 
การอ่านแบบไฟฟ้า และระบบพิกัดในงานเขียนแบบ
การอ่านแบบไฟฟ้า  และระบบพิกัดในงานเขียนแบบการอ่านแบบไฟฟ้า  และระบบพิกัดในงานเขียนแบบ
การอ่านแบบไฟฟ้า และระบบพิกัดในงานเขียนแบบNeeNak Revo
 
หลักการเบื้องต้นในการออกแบบและเขียนแบบไฟฟ้า
หลักการเบื้องต้นในการออกแบบและเขียนแบบไฟฟ้าหลักการเบื้องต้นในการออกแบบและเขียนแบบไฟฟ้า
หลักการเบื้องต้นในการออกแบบและเขียนแบบไฟฟ้าNeeNak Revo
 
3 Things Every Sales Team Needs to Be Thinking About in 2017
3 Things Every Sales Team Needs to Be Thinking About in 20173 Things Every Sales Team Needs to Be Thinking About in 2017
3 Things Every Sales Team Needs to Be Thinking About in 2017Drift
 

Viewers also liked (13)

58210401209 งาน 1 SS
58210401209  งาน  1 SS 58210401209  งาน  1 SS
58210401209 งาน 1 SS
 
อุปกรณ์ติดตั้งงานไฟฟ้า
อุปกรณ์ติดตั้งงานไฟฟ้าอุปกรณ์ติดตั้งงานไฟฟ้า
อุปกรณ์ติดตั้งงานไฟฟ้า
 
มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้าสำหรับประเทศไทย บทที่5
มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้าสำหรับประเทศไทย บทที่5มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้าสำหรับประเทศไทย บทที่5
มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้าสำหรับประเทศไทย บทที่5
 
ใบความรู้ เรื่อง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และความต้านทานไฟฟ้า
ใบความรู้ เรื่อง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และความต้านทานไฟฟ้าใบความรู้ เรื่อง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และความต้านทานไฟฟ้า
ใบความรู้ เรื่อง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และความต้านทานไฟฟ้า
 
การติดตั้งไฟฟ้าภายนอกอาคาร
การติดตั้งไฟฟ้าภายนอกอาคารการติดตั้งไฟฟ้าภายนอกอาคาร
การติดตั้งไฟฟ้าภายนอกอาคาร
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับวงจรไฟฟ้า
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับวงจรไฟฟ้าความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับวงจรไฟฟ้า
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับวงจรไฟฟ้า
 
ใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้า
ใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้าใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้า
ใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้า
 
หม้อแปลงไฟฟ้า
หม้อแปลงไฟฟ้าหม้อแปลงไฟฟ้า
หม้อแปลงไฟฟ้า
 
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร คณิตศาสตร์พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึ...
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร คณิตศาสตร์พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึ...เอกสารประกอบการเรียน เรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร คณิตศาสตร์พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึ...
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร คณิตศาสตร์พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึ...
 
มาตรฐานการเขียนแบบ
มาตรฐานการเขียนแบบมาตรฐานการเขียนแบบ
มาตรฐานการเขียนแบบ
 
การอ่านแบบไฟฟ้า และระบบพิกัดในงานเขียนแบบ
การอ่านแบบไฟฟ้า  และระบบพิกัดในงานเขียนแบบการอ่านแบบไฟฟ้า  และระบบพิกัดในงานเขียนแบบ
การอ่านแบบไฟฟ้า และระบบพิกัดในงานเขียนแบบ
 
หลักการเบื้องต้นในการออกแบบและเขียนแบบไฟฟ้า
หลักการเบื้องต้นในการออกแบบและเขียนแบบไฟฟ้าหลักการเบื้องต้นในการออกแบบและเขียนแบบไฟฟ้า
หลักการเบื้องต้นในการออกแบบและเขียนแบบไฟฟ้า
 
3 Things Every Sales Team Needs to Be Thinking About in 2017
3 Things Every Sales Team Needs to Be Thinking About in 20173 Things Every Sales Team Needs to Be Thinking About in 2017
3 Things Every Sales Team Needs to Be Thinking About in 2017
 

Similar to ไฟฟ้าอิสระ (12)

Elec1
Elec1Elec1
Elec1
 
1.introduction
1.introduction1.introduction
1.introduction
 
Documents OKR (1).pptx
Documents OKR (1).pptxDocuments OKR (1).pptx
Documents OKR (1).pptx
 
บทที่ 1 บทนำ
บทที่ 1 บทนำบทที่ 1 บทนำ
บทที่ 1 บทนำ
 
บทที่ 1 บทนำ
บทที่ 1 บทนำบทที่ 1 บทนำ
บทที่ 1 บทนำ
 
อิเล็กทรอนิกส์
อิเล็กทรอนิกส์อิเล็กทรอนิกส์
อิเล็กทรอนิกส์
 
การต่อแอมมิเตอร์ โวลต์มิเตอร์1
การต่อแอมมิเตอร์     โวลต์มิเตอร์1การต่อแอมมิเตอร์     โวลต์มิเตอร์1
การต่อแอมมิเตอร์ โวลต์มิเตอร์1
 
Random 111229101649-phpapp01
Random 111229101649-phpapp01Random 111229101649-phpapp01
Random 111229101649-phpapp01
 
Electronic
ElectronicElectronic
Electronic
 
Elect
ElectElect
Elect
 
Elect
ElectElect
Elect
 
1.อิเล็กทรอนิกส์
1.อิเล็กทรอนิกส์1.อิเล็กทรอนิกส์
1.อิเล็กทรอนิกส์
 

ไฟฟ้าอิสระ

  • 3. รื่องมือวัดไฟฟ้ามีหลายประเภท ที่มีใช้และเห็นกันบ่อย ๆ น แอมป์มิเตอร์ โวลท์มิเตอร์และ มัลติมิเตอร์ ฯลฯ ต่เครื่องมือวัดที่นิยมใช้กันมากที่สุดได้แก่ มัลติมิเตอร์ องจากใช้ง่าย ราคาถูก และ สามารถใช้ได้เอนกประสงค์ ามารถใช้วัดได้ทั้ง กระแสไฟฟ้า แรงดันไฟฟ้า และความต้า ฟฟ้านับเป็นเครื่องมือวัดขั้นพื้นฐานที่ช่างไฟฟ้าจะต้องมีไว้ใ ละจะต้องมีความรู้ ความเข้าใจในการใช้งาน
  • 4. • 1.ส่วนประกอบของมัลติมิเตอร์          มัลติมิเตอร์มีส่วนประกอบภายนอกสำาหรับใช้งานที่ คล้ายคลึงกัน                                                                               หมายเลข 1 คือ หน้าปัดสเกล                                     หมายเลข 2 คือ เข็มชี้                                     หมายเลข 3 คือ สกรูปรับเข็มให้ ตรง 0                                     หมายเลข 4 คือ ปุ่มปรับค่า 0                                     หมายเลข 5 คือ ย่านและประเภท ของค่าที่จะวัด                                     หมายเลข 6 คือ สวิทช์เลือกย่าน และประเภท                                     หมายเลข 7 คือ รูสำาหรับเสียบสาย
  • 5. •   หน้าปัดสเกล เนื่องจากมัลติมิเตอร์สามารถวัดค่าทางไฟฟ้าได้หลาย อย่าง ดังนั้นที่หน้าปัดจะมีสเกลของค่าต่างๆแยกจากกัน เมื่อวัด อ่านค่า จำาเป็นต้องเลือกสเกลที่จะอ่านให้ถูกต้อง                                •  จากรูปจะเห็นว่า        - เมื่อวัดความต้านทานต้องอ่านค่าจากสเกล        - เมื่อวัดแรงดันหรือกระแสไฟตรงต้องอ่านค่าจากสเกล DCV.A        - เมื่อวัดแรงดันไฟสลับต้องอ่านค่าจากสเกล ACV หรือ AC 3V Only        - เมื่อวัดกระแสไฟสลับต้องอ่านค่าจากสเกล ACA
  • 6. •   เข็มชี้    เข็มชี้ เป็นตัวชี้ค่าที่วัด ซึ่งการอ่านค่าต้องอ่านในแนว ตั้งฉากกับหน้าปัดและเข็ม ถ้าอ่านจากด้านข้างจะทำาให้การอ่าน ค่าผิดพลาด                               สกรูปรับเข็ม ในเวลาปกติก่อนทำาการวัดเข็มจะต้องชี้ค่า 0 ทางด้านซ้ายมือแต่ถ้าเข็มไม่ชี้ค่า0 สามารถทำาได้โดยการใช้ ไขควงปรับสกรูจนกระทั่งเข็มชี้ตรง 0  ปุ่มปรับค่า   เมื่อทำาการวัดค่าความต้านทานและ ต้องการอ่านค่าที่ถูกต้อง     ต้องทำาการปรับให้เข็มชี้ค่า ทาง ด้านขวาซึ่งการปรับจะต้องนำาสายวัดมาแตะกัน และทำาการหมุน ปุ่มจนกระทั่งเข็มค่า
  • 7. • ย่านและประเภทของค่าที่จะวัด   ก่อนทำาการวัด จะต้องทราบก่อนว่าจะทำาการวัดแรงดัน หรือกระแสหรือ ความต้านทาน และถ้าเป็นการวัดแรงดันหรือ กระแส ต้องทราบต่อไปว่า เป็นไฟตรงหรือไฟสลับและค่า ประมาณที่จะวัด ในกรณีไม่สามารถประมาณหรือทราบค่าที่จะ วัดให้ทำาการตั้งย่านวัดสูงสุดไว้ก่อน                                                                         มัลติมิเตอร์ที่มีย่านและประเภทการวัด ซึ่งสามารถวัดค่าต่าง ๆ ได้ดังนี้  1.  แรงดันไฟตรง 120 mV   3V   12V   120 V   300 V  และ 1200 V        2.  กระแสไฟตรง 30 A   3mA   30mA  และ 0.3A
  • 8. • สวิทช์เลือกย่านและประเภท เป็นสวิทช์เลือก (Selector switch)    ที่ทำาหน้าที่ต่อวงจร ภายในมิเตอร์ทำาให้สามารถวัดค่าต่าง ๆ ที่กำาหนดไว้ตามย่านและ ประเภท ดังนั้นเมื่อต้องการวัดค่าอะไร มีค่าสูงสุดเท่าไรให้ทำา กา รบิดสวิทช์ไปตำาแหน่งนั้น ๆ • รูสำาหรับเสียบสายต่อขั้วลบและขั้วบวก เป็นรู สำาหรับเสียบสาย ที่ใช้ในการวัด จะมีสายสีดำาและ สีแดง สายสีดำาจะเสียบเข้ากับรู Common(มักเขียนสั้น ๆ ว่า Com.)หรือ รูลบ (-) ส่วนสายสีแดงจะเสียบเข้ากับรูบวก(+)  นอกจากนี้ในมัลติ มิเตอร์บางแบบจะมีรู Out (+) ซึ่งใช้สำาหรับเสียบสายสีแดงเมื่อ ทำาการวัดขนาดของสัญญาณ(dB) และยังอาจมีรูเสียบอื่นๆ ตาม การใช้งานของมัลติมิเตอร์ดังนั้นเมื่อจะใช้งานต้องทำาการศึกษา คู่มือการใช้อย่างระมัดระวังและละเอียดรอบคอบ
  • 9. • การอ่านค่าจากหน้าปัด  ในการอ่านค่าจากหน้าปัด จะต้อง พิจารณาความสัมพันธ์ระหว่างย่านและประเภทกับค่าที่อ่าน จากสเกล กล่าวคือ        1. ต้องทราบว่าขณะทำาการวัดได้ตั้งย่านวัดสูงสุด เท่าไร เป็นค่าทางไฟฟ้าแบบไหน (แรงดันไฟตรง แรงดัน ไฟสลับ) กระแสไฟตรง เป็นต้น        2. ต้องเลือกสเกลที่จะอ่านได้ถูกต้อง จากนั้นต้อง หาแฟคเตอร์ในการคูณเข้ากับค่าที่อ่านได้จากสเกล ซึ่งแฟค เตอร์(f ) สามารถหาได้จาก                       
  • 10.  การอ่านค่าเมื่อทำาการวัดแรงดันไฟตรง                           ตั้งสวิทช์เลือกที่ สเกลที่อ่าน ผลลัพธ์                120  mV                  3    V                12    V                120   V                300   V         0- 120  (DCV.A)        0- 30    (DCV.A)        0- 120  (DCV.A)        0- 120  (DCV.A)        0- 30    (DCV.A)         ค่าที่อ่าน X1mV   ค่าที่ อ่าน X0.1mV   ค่าที่ อ่าน X0.1mV   ค่าที่ อ่าน X1mV    ค่าที่ อ่าน X10mV ดข้างบน ถ้าตั้งสวิทช์เลือกที่ย่านวัด 12 V ผลจากการวัดจะมีค่าเท่ากับ 70 X 0
  • 11. การอ่านค่าเมื่อทำาการวัด แรงดันไฟสลับ ดข้างบน ถ้าตั้งสวิทช์เลือกที่ย่านวัด 30 V ผลจากการวัดจะมีค่าเท่ากับ 22 X ตั้งสวิทช์เลือกที่ สเกลที่อ่าน ผลลัพธ์                  3    V          12  V          30  V         120 V         300 V       1200 V            0-3      (AC3V only)            0-120  (ACV)            0- 30    (ACV)            0- 120  (ACV)            0- 30    (ACV)         ค่าที่อ่าน X1V  ค่าที่ อ่าน X0.1V  ค่าที่อ่าน X1V  ค่าที่อ่าน X1V  ค่าที่อ่าน X10V
  • 12. การอ่านค่าเมื่อทำาการวัดกระแสไฟตรง         จากหน้าปัดข้างบน ถ้าตั้งสวิทช์เลือกที่ย่านวัด 30 mA ผลจากการ วัดจะมีค่าเท่ากับ17.5 X1mA = 17.5mA               ตั้งสวิทช์เลือกที่ สเกลที่อ่าน ผลลัพธ์ 30 A            3  mA          30  mA         0.3  A             0- 30  (DCV.A)            0- 30  (DCV.A)            0- 30  (DCV.A)            0- 30  (DCV.A)         ค่าที่อ่าน X1A  ค่าที่อ่าน X0.1mA   ค่าที่อ่าน X1mA   ค่าที่อ่าน X0.01A
  • 13.  การอ่านค่าเมื่อทำาการวัด กระแสไฟสลับ ปัดข้างบน ถ้าตั้งสวิทช์เลือกที่ย่านวัด 12A ผลจากการวัดจะมีค่าเท่ากับ 8 X1 ตั้งสวิทช์เลือกที่ สเกลที่อ่าน ผลลัพธ์                  12 A                   0-12  (ACA)           ค่าที่ อ่าน X1A
  • 14.  การอ่านค่าเมื่อทำาการวัดความ ต้านทาน ตั้งสวิทช์เลือกที่ สเกลที่อ่าน  ผลลัพธ์ R X 1           R X 10           R X 1k           R X 10k            0 - ( )            0 - ( )            0 - ( )            0 - ( )          ค่าที่อ่าน X 1               ค่าที่อ่าน X 10             ค่าที่อ่าน X 1k             ค่าที่อ่าน X 10k        จากหน้าปัดข้างบน ถ้าตั้งสวิทช์เลือกที่ย่านวัด R x10 ผลจากการวัดจะมีค่าเท่ากับ 140 x10= 1400 หรือ 1.4 k  
  • 16.        วัสดุ-อุปกรณ์ในงานไฟฟ้า • อุปกรณ์ต่างๆ ที่ใช้ประกอบในการเดินสายไฟ ที่สำาคัญและ จำาเป็นมีอยู่มากมายหลายอย่างพอแยกได้คือ 1.สายไฟฟ้า สายไฟฟ้าเป็นสิ่งจำาเป็นอย่างยิ่ง เพราะสายไฟเป็น ตัวนำาที่จะนำาให้กระแสไฟฟ้าไหลผ่านไปตามสายจากแห่งหนึ่ง ไปอีกแห่งหนึ่งได้ตามต้องการ สายไฟฟ้าที่นิยมใช้งานทั่วๆไปมี  หลายขนาดที่ควรทราบ มีดังนี้          1.1 สายเปลือย เป็นสายที่ไม่หุ้มฉนวน ใช้สำาหรับกระแส ไฟฟ้ามากๆ เช่น ใช้กับพวกสายไฟฟ้าแรงสูง ส่วนมากเป็นพวก ทองแดง หรืออลูมิเนียมใช้เดินในระบบสูง เพราะอันตรายจาก สายไฟแรงสูงมีมาก          1.2 สายหุ้มฉนวน                ก. สายหุ้มยาง ทำาด้วยลวดทองแดง จะเป็นเส้นเดี่ยว หรือหลายเส้นขึ้นอยู่กับชนิดของงานที่นำามาใช้ภายนอกหุ้ม ฉนวนด้วยดีบุก หรือยาง แบบนี้นิยมใช้กันมาก                ข. สายหุ้มพลาสติก ส่วนมากมักทำาเป็นสายหลายๆ เส้น ที่หุ้มด้วยพลาสติกเพื่อให้อ่อนตัวได้ง่าย ผู้ผลิตมักทำาเป็น สายคู่ติดกัน                ค. สายไหม ภายในทำาเป็นลวดทองแดงหลายเส้น หุ้มด้วยยางแล้วหุ้มทับด้วยไหมอีกทีหนึ่งมักทำาเป็นเส้นคู่บิดแบบ เกลียว เหมาะสำาหรับติดเต้าเพดานกับกระจุ๊บหลอด                ง. สายเดี่ยวและสายคู่ P.V.C. (Poly Vinyl
  • 17. •   สายไฟที่นิยมใช้ทั่ว ๆ ไปคือสายไฟที่ทำาจากลวดทองแดง มีเนื้อที่ไม่น้อยกว่า 98 ส่วนใน 100   และหุ้มด้วยฉนวนไว้ สำาหรับรับแรงดันไม่ตำ่ากว่า 250 โวลท์ สายไฟที่ใช้มี อุณหภูมิไม่เกิน 40 องศา C และต้องมีขนาดไม่เล็กกว่า ขนาดตามตารางนี้ขนาด พ.ท. ต่อตารา งมิล กระแสสูงสุดในสาย (A :แอมป์) 0.5 1.0 1.5 2.5 4 6 10 16 25 35 50 70 3 6 8 12 16 22 30 42 48 70 88 105
  • 18. •  2. เข็มขัดรัดสาย                                                                                เข็มขัดรัดสายขนาดต่างๆ        ในปัจจุบันนี้การเดินสายไฟตามอาคารต่างๆจะเป็นตึกหรือ ไม้ก็ดี นิยมใช้เข็มขัดรัดสาย เดินเป็นส่วนมากเพราะเรียบสนิท เป็นระเบียบสวยงามดี   เข็มขัดรัดสายทำาด้วยอลูมิเนียม ตรง กลางมีรู อาจจะมี 1 –2 รู แล้วแต่ขนาดเข็มขัดรัดสายมีขนาด เป็นเบอร์ต่างๆ ตั้งแต่ เบอร์ 0( เล็กที่สุด) ถึงเบอร์ 6 เบอร์ 0 หรือ ขนาดเล็กใช้กับสายไฟขนาดเล็กเส้นเดี่ยวส่วนขนาดใหญ่ใช้กับ สายไฟขนาดใหญ่หรอสายไฟขนาดเล็กหลายเส้นรวมกัน ตรง กลางมีรูใช้ตะปูตอกยึดกับผนังให้แน่น
  • 19.        วิธีใช้เข็มขัดรัดสาย        1. ใช้ดินสอทำาเครื่องหมายไว้ให้มีระยะห่างกันประมาณ 10 ซ.ม        2. ใช้ตะปูเหล็กตอกยึดตรงกลางของเข็มขัดรัดสายกับผนัง ไว้ การตอกให้ได้แนวเดี่ยวกันจนตลอด        3. ดึงสายไฟให้ตรงเสียก่อนจึงวางบนเข็มขัดรัดสายแล้ว รัดให้แน่น        4. สายไฟคู่พยายามอย่าให้ทับกัน        5. สายที่ไม่มีฉนวนหุ้มห้ามใช้เข็มขัดรัดสายโดยเด็ดขาด
  • 20. •  3. ตลับแยกสาย            ตลับแยกสายมีลักษณะกลมมีฝาเกลียวบิด มีรูเจาะออกร อบๆ 4 รูสำาหรับเดินสายไฟออกตลับแยกสายมีไว้สำาหรับต่อสาย ไฟ ภายในตลับเพื่อให้มองดูสวยงามเรียบร้อย ตามปกติสาย ไฟฟ้าที่เดินภายในอาคารบ้านเรือนย่อมจะต้องต่อแยกไปใช้ หลายจุดเช่น ต่อปลั๊ก ,สวิทช์ ,ดวงไฟ ฯลฯ จึงต้องมีตลับแยก สายไว้ต่อเพื่อต้องการความเรียบร้อยดังกล่าว ดังรูป แต่ใน ปัจจุบันตลับแยกสายไม่เป็นที่นิยมใช้ในการต่อจุดแยกสายไฟ อีก  เนื่องจากนิยมเชื่อมต่อวงจรภายใต้แผงปลั๊กหรือสวิทช์ที่อยู่ ตามผนังมากกว่า ตลับแยกสาย 
  • 21.         4. ตุ้ม (ลูกถ้วย)             ตุ้มหรือลูกถ้วย ใช้กันมากในการเดินสายนอกอาคาร หรือในโรงฝึกงาน ตุ้มใช้ในการยืดสายให้แน่นแข็งแรง ตาม บ้านมีใช้ภายนอกคือยึดสายไฟจากบ้านไปยังเสาไฟฟ้าภายนอก    ตุ้มมีหลายขนาดทั้งเล็กและใหญ่แล้วแต่ขนาดของสายไฟการ ยึดตุ้มให้ติดกับไม้ ใช้ตะปูเกลียวไขยึดติดแน่น   ถ้าอาคารเป็น ตึกหรือคอนกรีตใช้ตะปูเกลียวยึดติดกับผนังไม้ได้ต้องใช้ ้้ เหล็กสกัดปูนออกก่อนแล้วใช้ไม้สักหรือไม้เนื้อแข็งเหลาให้กลม โตกว่าตะปูเกลียวฝังไว้ให้แน่นแล้วจึงใช้ตะปูเกลียวยึดกับไม้ที่ ฝังนี้ เราเรียกว่า “ ฝังพุก ” รูปตุ้ม (ลูกถ้วย)
  • 22.   5.พุกประกับ               พุกประกับทำาด้วยกระเบื้องเคลือบ เป็นฉนวนไฟฟ้า พุกประกับมีเป็นชุด ๆ หนึ่งมี 2 อัน อันล่างเป็นร่องสำาหรับเดิน สายไฟฟ้า ทั้ง 2 ตัวมีรูอยู่ตรงกลางสำาหรับใช้ตะปูเกลียวยึดติด กับผนัง    พุกประกับใช้ยึดสายเมนคู่ที่เดินภายในอาคาร ส่วน มากเป็นสายเดี่ยวมีฉนวนหุ้ม ปัจจุบันนี้ไม่นิยมใช้พุกประกับกัน แล้ว เพราะนิยมใช้สายไฟคู่ P.V.C.ซึ่งดูเรียบร้อยสวยงามและ ปลอดภัยกว่าไม้รางมีเป็นชุด 2 อัน คือ อันล่างเป็นไม้มีร่อง 2 ร่อง สำาหรับสายไฟเดินตามรางอันบนเป็นไม้บางปิดทับไม้ไม่ให้ มองเห็นสายไฟ เพื่อให้ดูเรียบร้อยสวยงาม แล้วป้องกันอันตราย จากไฟฟ้า ปัจจุบันนี้ไม่ค่อยมีใช้กันเพราะนิยมใช้สายไฟคู่ P.V.C. ซึ่งไม่ต้องใช้ไม้รางการติดไม้รางใช้ตะปูตอกยึดให้แน่น เวลาจะเลี้ยวหรือหักมุม ก็ตัดไม้รางด้านละ45 องศา สองด้านก็ จะได้มุมฉาก 95 องศา พอดี  พุกประกับ 
  • 23.         6.ไม้แป้น             ไม้แป้นทำาด้วยไม้รูปร่างลักษณะกลม หรือสี่เหลี่ยมตาม รูปร่างอุปกรณ์นั้น ๆ ใช้เป็นที่รองอุปกรณ์บางอย่างเช่นสวิทช์ ปลั๊ก (ตัวเมีย) เต้าเพดาน ฯลฯ เวลาเดินสายต้องเจาะแป้นไม้ เพื่อเดินสายไฟข้างในเสียก่อน แล้วโผล่สายออกมาสำาหรับเดิน สายไฟต่อไป
  • 24.         7. สะพานไฟ (Cut Out ) หรือสวิทช์ตัดตอน             สะพานไฟทำาด้วยกระเบื้องทนไฟเป็นฉนวนมีไว้ภายใน บ้าน เชื่อมหรือเป็นสะพานไฟระหว่างไฟภายในบ้านกับหม้อ มิเตอร์ไฟฟ้าข้างนอกบ้าน มีฟิวส์ต่อไว้เมื่อเราต้องการตัดกระแส ไฟฟ้าไม่ให้เข้าบ้าน เพื่อจะเดินสายไฟหรือซ่อมแซมต่อเติม อุปกรณ์ไฟฟ้า เราก็ยกสะพานไฟเสีย เพื่อไม่ให้ไฟฟ้าผ่านก็จะ ทำางานโดยปลอดภัย ส่วนขนาดต่าง ฯ ของแอมแปร์นั้นบริษัทผู้ ผลิตจะเขียนบอกไว้ที่ตัวคัทเอาท์ สะพานไฟ 
  • 25.          8.ฟิวส์ (Fuses)          ฟิวส์เป็นอุปกรณ์ไฟฟ้าชนิดหนึ่งที่จำาเป็นมากเป็นเครื่อง ป้องกันอันตราย อันเกิดจากการใช้กระแสไฟฟ้าเกิดวงจร ลัด(shot circuit ) หรือเมื่อมีกระแสไฟฟ้าไหลผ่านวงจรมาก เกินไป   เมื่อผิดปกติหรืออาจเกิดอันตรายฟิวส์ก็จะขาดเสียก่อน คือตัดวงจรไม่ให้กระแสไฟฟ้าเดินได้อีกต่อไป ฟิวส์ที่ใช้มีอยู่ หลายแบบหลายขนาดด้วยกัน ซึ่งแล้วแต่ความเหมาะสมตาม ประเภทของงาน    จุดประสงค์ใหญ่ คือ เมื่อจะเกิดอันตรายคือ กระแสไฟมากเกินไป หรือเกิดลัดวงจร ฟิวส์ก็จะขาดทันท้ี ฟิวส์แบบต่าง ๆ 
  • 26.          ชนิดของฟิวส์          1.ฟิวส์เส้นลวด ทำาเป็นเส้นลวดกลมยาวมีหลายขนาด แล้วแต่กระแสไฟที่จะใช้ฟิวส์เส้นลวดทำาด้วยโลหะต่างๆ เช่น เงิน, ทองแดง, ตะกั่ว, ดีบุก แต่ที่นิยมมากคือโลหะผสมระหว่าง ตะกั่วและดีบุก  เพราะมีจุดหลอมเหลวตำ่าและราคาถูก          2. ฟิวส์กระบอก เป็นฟิวส์ขนาดเล็กอยู่ในหลอดแก้วเล็ก ๆ ฟิวส์ประเภทนี้ส่วนมากใช้ในอุปกรณ์  ไฟฟ้า เช่น วิทย ุ้ โทรทัศน์ เครื่องขยายเสียง เป็นต้น          3. ปลั๊กฟิวส์ เป็นฟิวส์แบบปลั๊ก เป็นเกลียวหมุนเข้าออก ได้ ภายในบรรจุด้วยเส้นฟิวส์ขนาดเล็กเมื่อฟิวส์ขาดสามารถ ถอดเปลี่ยนได้ง่ายสะดวก แต่ราคาค่อนข้างแพงเมื่อเทียบกับฟิวส์ เส้นลวด
  • 27. ขนาดของฟิวส์ สายไฟเบอร์ 20 ใช้ฟิวส์ขนาด 3 แอมป์แปร์  สายไฟเบอร์ 18 ใช้ฟิวส์ขนาด 5 แอมป์แปร์ สายไฟเบอร์ 16 ใช้ฟิวส์ขนาด 10 แอมป์แปร์ สายไฟเบอร์ 14 ใช้ฟิวส์ขนาด 15 แอมป์แปร์ สายไฟเบอร์ 12 ใช้ฟิวส์ขนาด 20 แอมป์แปร์ สายไฟเบอร์ 10 ใช้ฟิวส์ขนาด 25 แอมป์แปร์
  • 28.      9.สวิทช์ไฟฟ้า (switch )             สวิทช์ไฟฟ้าทำาหน้าที่เปิด-ปิดวงจรไฟฟ้าให้กระแส ไฟฟ้าผ่าน   สวิทช์มีหลายแบบหลายขนาดเลือกชื้อได้ตามความ พอใจให้เหมาะกับงานและจำานวนเงิน                                สวิทช์ไฟฟ้า หลักในการต่อสวิทช์ ตามปกติที่สวิทช์จะมีปุ่มหรือขาโผล่มา สำาหรับต่อสายไฟอยู่ 2 อัน เราก็นำาสายไฟ (เมน) เส้นเดียวมา ตัดตรงกลางเป็น 2 ข้าง สายไฟที่เราตัดออกแล้วทั้ง 2 ข้างก็นำา มาต่อกับขาสวิทช์ ทั้ง 2 ด้วยสกรูหรือตะปูเกลียวแล้วแต่แบบ ของสวิทช์
  • 29.          10.ปลั๊กไฟฟ้า (plug)               ปลั๊กไฟฟ้ามีอยู่ 2 พวก คือ ปลั๊กตัวผู้และปลั๊กตัวเมีย       1. ปลั๊กตัวผู้   ปลั๊กตัวผู้มีรูปร่างหลายแบบ แต่ที่เหมือน กันคือ จะมีเดือยเสียบยื่นออกมา 2 ขา สำาหรับเสียบที่ปลั๊กตัวเมีย เพื่อให้กระแสไฟฟ้าเดินผ่านถึงกันได้ ตัวปลั๊กทำาด้วยโลหะที่เป็น ฉนวนหรือพลาสติกวิธีต่อสายไฟกับปลั๊กคือ นำาสายไฟทั้งคู่ปอก สายออกประมาณเส้นละ 1 นิ้วแล้วนำามาต่อกับเดือยทั้งคู่ยึดตัว สกรูหรือตะปูเกลียว       2. ปลั๊กตัวเมีย   ทำาด้วยพลาสติกหรือฉนวน มีรูปร่าง กลมหรือสี่เหลี่ยมแล้วแต่ผู้ผลิต ๆ ออกมา ส่วนมากตรึงติดแน่น อยู่กับที่ มี 2 รู สำาหรับรองปลั๊กเสียบ (ตัวผู้) เพื่อให้กระแสไฟฟ้า เดินผ่านถึงกันได้ ที่รูเสียบทั้งคู่จะมีโลหะอยู่ภายในมีแกนสำาหรับ ต่อสายไฟทั้งคู่ เวลาต่อสายไฟฟ้าก็ต่อกับแกนคู่นี้ยึดด้วยสกรู หรือตะปูเกลียว            ข้อควรระวังเกี่ยวกับปลั๊กไฟฟ้า           1.อย่าจับสายไฟที่ปลั๊กตัวผู้ดึง จะทำาให้สายไฟหลุดได้ ง่าย           2.เวลาต่อสายไฟต้องต่อให้ดีอย่าให้ปลายทั้ง 2 สัมผัส กันได้เป็นอันขาด
  • 32. •  1. คีม เป็นเครื่องมือที่จำาเป็นมากสำาหรับช่างไฟฟ้า คีม ใช้สำาหรับ ตัด ดัด งอ โค้ง และปอกสายไฟฟ้า คีมที่ดีนั้นจะต้อง ปลอดภัยในการปฏิบัติงาน คือด้ามเป็นชนวนหุ้มอย่างดี อาจจะ ใช้ยางหรือพลาสติกก็ได้ คีมที่ใช้ในการปฏิบัติงานไฟฟ้าพอจะ แยกออกได้ 4 อย่างคือ          ก. คีมปอกสาย          ข. คีมจับ          ค. คีมปากจิ้งจก          ง. คีมตัด ควรระวังในการใช้คีม .ใช้แล้วต้องทำาความสะอาดเสมอ . ก่อนเก็บใช้นำ้ามันชโลมเสียก่อน . อย่าเก็บไว้ในที่ชื้นจะทำาให้เกิดสนิมได้ง่าย . ถ้าด้ามที่หุ้มฉนวนชำารุดต้องรีบซ่อมทันที เพราะอาจจะไม่ปลอดภัยในการปฏ
  • 33. 2.ไขควง  ไขควงหรือบางทีเรียกว่า “ สกรูไร“ เป็นเครื่องมือของ ช่างไฟฟ้าที่ขาดไม่ได้โดยเฉพาะอุปกรณ์เล็กๆน้อย ๆ ภายในบ้าน เช่น ต่อ ฟิวส์ สวิทช์ ดวงโคม ฯลฯ ไขควงใช้สำาหรับขันตะปูเกลียวหรือสกรูให้แน่น หรือใช้ถอนตะปูเกลียวให้หลุดออกจากที่ยึดไขควงส่วนมากทำาด้วยเหล็ก เหนียวปลายแบนด้ามใช้ไม้หรือพลาสติก ไขควงมีหลายชนิดตามลักษณะที่ ใช้งานคือ   ก. แบบที่ใช้กันทั่วไป (standard type)  คือเป็นแบบธรรมดามี หลายขนาดตั้งแต่ขนาดเล็กถึงขนาดใหญ่สั้นยาวแตกต่างกันใช้ตามลักษณะ ของงาน          ข. แบบออฟเซต (offset type) มีลักษณะงอเป็นมุมฉากมีที่จับยืดตรง กลางเหมาะในการใช้งานที่อยู่ในที่จำากัดซึ่งไขควงธรรมดาใช้ไม่ได้          ค. แบบฟิลิปส์ (phillips type) ปลายเป็นแฉก ๆ 4 แฉกใช้สำาหรับ ขันหรือคลายสกรูที่มีหัวเป็นกากบาดหรือมีหัวเป็นรูปสี่แฉก  นอกจากนี้ยังมี ไขควงที่สามารถใช้งานได้เอนกประสงค์คือ ไขควงเช็คไฟ โดยบางชนิด สามารถเปลี่ยนปลายได้หลายแบบ คือ ปลายแบน ปลายแฉก ปลายหกเหลี่ยม และใช้เช็คจุดที่มีไฟฟ้าได้ด้วย                                       ข้อควรระวังในการใช้ไขควง         1. อย่าใช้ไขควงแทนสิ่วหรือสกัด         2. อย่าใช้ไขควงงัดอาจจะทำาให้งอได้ง่าย         3. อย่าใช้ด้ามไขควงแทนค้อน         4. เมื่อชำารุดรีบซ่อมทันที
  • 34. 3. มีด   มีดสำาหรับ ตัด ปอก ขูด หรือทำาความสะอาดสาย ไฟฟ้า วิธีปอกสายไฟฟ้า ให้กดมีดลงบนสายไฟตะแคงมีดให้ เอียงประมาณ 45 องศา คล้ายกับการเหลาดินสอข้อสำาคัญอย่า กดใบมีดให้ลึกเกินไปเพราะมีดอาจจะถูกลวดทองแดงภายใน เสียหายได้
  • 35.    4. สว่านเจาะไม้ สว่านเจาะไม้ใช้มากในเวลาเดินสาย ไฟฟ้า บางครั้งมีความจำาเป็นต้องเจาะรูเพื่อยึดอุปกรณ์ไฟฟ้า เช่นพุกประกับลูกถ้วย เป็นต้น สว่านเจาะไม้มีหลายแบบหลาย ขนาด เช่นสว่านมือ สว่านเฟือง บิดหล่า เป็นต้น เราเลือกใช้ให้ เหมาะกับงาน                                                                       สว่านข้อเสีย (brace)              สว่าน มือหมุน (hand drili)         ข้อควรระวังในการใช้สว่าน         1. อย่าปล่อยทิ้งไว้ให้เกิดสนิม         2. ใช้ให้ถูกชนิดและลักษณะของงาน         3. เมื่อใช้แล้วต้องทำาความสะอาด แล้วใช้นำ้ามันชโลมจึง เก็บ         4. ใส่ดอกสว่านให้ตรง แน่น ก่อนใช้งาน         5. ขณะที่เจาะอย่าให้ดอกสว่านร้อนเกินไป
  • 36.   5. ค้อน  ค้อนมีหลายชนิด แต่ที่เราใช้งานไฟฟ้าคือค้อนเดิน สายไฟ มีลักษณะของหัวค้อนคือปลายด้านหนึ่งหน้าเรียบตรง อีกด้านปลายแบนแหลม ทำาด้วยเหล็กใช้ตอกในที่แคบได้ ด้าม จับเป็นไม้ มีนำ้าหนักประมาณ 250 กรัม ส่วนค้อนอีกประเภท หนึ่งสามารถนำามาใช้เดินสายไฟได้คือ ค้อนหงอนหรือค้อน ช่างไม้ ตัวค้อนทำาด้วยเหล็ก หน้าเรียบ ด้านบนเป็นหงอนใช้ ถอนตะปูได้ ใช้ในการตอกและถอนตะปูในการเดินสายไฟฟ้าได้          ข้อควรระวังในการใช้ค้อน         1. รักษาหัวค้อนให้เรียบสมำ่าเสมอกัน         2. อย่าใช้ค้อนงัดให้เกินกำาลัง ด้ามจะหักได้         3. ค้อนที่ชำารุดห้ามใช้         4. รักษาค้อนให้สะอาดอยู่เสมอ
  • 37.  6. เลื่อย เลื่อยมีหลายแบบหลายชนิดทั้งขนาดและรูปร่างที่ ใช้สำาหรับช่างไฟฟ้ามากคือเลื่อยปากไม้(back saw)หรือเลื่อย ลอ รูปร่างลักษณะเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า ตรงสันด้านบนเป็น เหล็กหนาฟันละเอียดประโยชน์ส่วนใหญ่ใช้ตัดปากไม้ในการ เข้าไม้ต่าง ๆให้ประณีต          ข้อควรระวังในการใช้เลื่อย          1. อย่าปล่อยให้ใบเลื่อยเปียกนำ้า          2. เก็บไว้ในที่แห้ง          3. การแต่งฟันเลื่อยพยายามให้ฟันเลื่อยได้รูปเดิมทุกครั้ง          4. ก่อนเก็บหลังใช้งานแล้วใช้นำ้ามันชโลมเสียก่อน          5. อย่าวางเลื่อยให้ถูกแดดร้อน
  • 38.  7.หัวแร้งบัดกรี     หัวแร้งบัดกรีใช้ในการบัดกรีสายตรงรอยต่อ เสมอ หัวแร้งบัดกรีมีอยู่ 2 ชนิดคือ                                                                                      ก. หัวแร้งชนิดเผาด้วยเตา ข. หัวแร้งไฟฟ้า หัวแร้งไฟฟ้า หัวแร้งไฟฟ้าเหมาะสมที่สุดสำาหรับใช้งานเล็ก ๆ น้อย ๆ   เช่น ในงานซ่อมและงานอื่น ๆ ที่ไม่ใช้ความร้อนมาก เกินไป ข้อควรระวังในการบัดกรี         1. ส่วนที่จะบัดกรีต้องขูดความสะอาดเสียก่อน         2. เวลาบัดกรีต้องจับให้แน่นอย่าให้เคลื่อนได้         3. อย่าให้หัวแร้งบัดกรีร้อนเกินไป         4. รักษาให้ปลายหัวแร้งสะอาดอยู่เสมอ         5. เมื่อใช้หัวแร้งแล้วต้องจุ่มนำ้ากรดอย่างเจือจางแล้วจึง เก็บ
  • 39.   8. เครื่องมือวัดไฟฟ้า มีหลายอย่าง เช่น มัลติมิเตอร์ (multi meter) ซึ่งวัดได้หลายอย่างคือ โวลท์ โอห์ม และ แอมแปร์ หรือจะใช้ของถูก ๆ ก็ได้คือ volt meter และ Ammeter ซึ่งแยกใช้งานเป็นอย่าง ๆ ตัวเล็กราคาถูกส่วนมาก เป็นของญี่ปุ่น                                        ข้อควรระวังในการใช้มิเตอร์วัดไฟ         1. ก่อนใช้ต้องระวังให้มาก เพราะถ้าต่อผิดทำาให้เกิด ความเสียหายได้         2. ต้องศึกษาวิธีใช้เครื่องมือวัดให้เข้าใจดีเสียก่อน         3. ใช้แล้วเก็บให้ดี ถ้าตกหรือกระทบกระเทือนมากจะเสีย หายชำารุดได้