SlideShare a Scribd company logo
1 of 15
Download to read offline
สรุปความรู เรื่อง คลื่นเสียง
การเกิดเสียง
        เสียงเกิดจากการสั่นของวัตถุ วัตถุที่มีการสั่นแลวทําใหเกิดเสียงเรียกวา แหลงกําเนิดเสียง สําหรับ
มนุษยเสียงพูดเกิดจากการสั่นสะเทือนของสายเสียงซึ่งอยูภายในกลองเสียงบริเวณดานหนาของลําคอเรียกวา
ลูกกระเดือก มนุษยสามารถควบคุมเสียงที่พูดพูดขึ้นโดยใชฟน ลิ้น ริมฝปาก ทําใหเกิดเสียงที่แตกตางกัน แต
เสียงจะมีประโยชนอยางสมบูรณตองมีการไดยน  ิ

           เสียงที่นักเรียนไดยินในชีวิต           เสียงเดินทางจากแหลงกําเนิดมาถึงผูฟงไดอยางไร
         ประวันเกิดจากสั่นสะเทือนของ
         แหลงกําเนิดเสียงหรือไม


การเดินทางของเสียง
            เมื่อเสียงเกิดจากสั่นสะเทือนของวัตถุ แสดงวาวัตถุไดรับพลังงาน พลังงานนี้ก็จะถูกถายโอนผาน
อากาศมายังหูผูฟง ถาไมมีอากาศเปนตัวกลางในการถายโอนพลังงาน เราจะ
ไมไดยินเสียงเลย
            เราสามารถทดสอบความจริงนี้ได โดยการทดลองใชกระดิ่งไฟฟาที่สง
เสียงตลอดเวลาใสไวในครอบแกว แลวคอยๆสูบอากาศออก เราจะไดยินเสียง
กระดิ่งไฟฟาคอยลงๆ จนในที่สุดจะไมไดยินเสียงกระดิ่งไฟฟาในครอบแกวอีก
เลย เมื่อภายในครอบแกวเปนสุญญากาศ
            จากสถานะการณ ข า งต น สรุ ป ได ว า การเคลื่ อ นที่ ข องเสี ย งจากตั ว
ก อ กํ า เนิ ด เสี ย ง ต อ งอาศั ย ตั ว กลางในการถ า ยโอนพลั ง งานการสั่ น ของตั ว
                                                                                                  สูบอากาศออก
กอกําเนิดเสียงนั้นไปยังที่ตางๆ
            จะเห็นไดวา เสียงที่เราไดยินนี้ เปนพลังงานรูปหนึ่งและถือวาเปนคลื่นประเภทหนึ่งดวย และพิจารณา
จากอากาศที่เปนตัวกลางนั้นการถายโอนพลังงานเสียง อนุภาคของตัวกลางคืออากาศจะมีการสั่นในลักษณะ
อัดขยายสลับกันไป จึงถือไดวา เสียงเปนคลื่นตามยาว
การเคลื่อนที่ของเสียงในตัวกลางหนึ่งๆ จะคงตัว เมื่ออุณหภูมิของตัวกลางคงตัว ดังแสดงในตาราง

         ตาราง อัตราเร็วของเสียงในตัวกลางตางๆที่อุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส
         ตัวกลาง                                    อัตราเร็ว(เมตร/วินาที)
                 แกสคารบอนไดออกไซด                         272
                          อากาศ                               346              จากตารางนี้ นั ก เรี ย นคิ ด ว า
                     แกสไฮโดรเจน                            1,339             เสียงเดินทางผานตัวกลางใด
                             น้ํา                            1,498             ไดเร็วที่สุดเมื่อเทียบระหวาง
                         น้ําทะเล                            1,531             ของแข็ง ของเหลว แกส
                            แกว                             4,540
                        อะลูมิเนียม                          5,000
                          เหล็ก                              5,200

คุณสมบัตของเสียง
           ิ
เสียงเปนคลื่นชนิดหนึ่งที่เคลื่อนที่โดยอาศัยตัวกลาง ดังนั้นจึงมีคณสมบัติเหมือนคลืน คือ
                                                                 ุ               ่
         1. การสะทอน
         2. การหักเห
         3. การแทรกสอด
         4. การเลี้ยวเบน
การสะทอนของเสียง
         เนื่องจากเสียงเปนพลังงานชนิดหนึ่ง เมื่อคลื่นเสียงเคลื่อนที่ไปกระทบสิ่งกีดขวาง จะทําใหเกิดการ
สะทอนของเสียง และปจจัยที่มีผลตอการสะทอนของเสียง ไดแก
         1. ลักษณะพื้นผิวที่คลื่นเสียงไปกระทบ ( ผิวเรียบและแข็ง สะทอนไดดี สวนผิวออนนุมเนื้อพรุน
              จะดูดซับเสียงไดดี
         2. มุมตกกระทบกับระนาบสะทอนเสียง ( เสียงจะสะทอนไดดี เมื่อ มุมของเสียงสะทอนเทากับมุม
              ของเสียงตกกระทบ )
         มนุษยและสัตว ไดอาศัยประโยชนจากการสะทอนของเสียง หลายอยางเชน การเดินเรือ การประมง
หาความลึกของทองทะเล หาระดับของเรือดําน้ํา หาฝูงปลา โดยการสง
คลื่นอัลตราโซนิกออกไป แลวรอรับฟงคลื่นที่สะทอน จากเครื่องรับ
การสงคลื่นชนิดนี้เรียกวา โซนาร ( Sonar – Sound Navigation and โซนาร
Ranging ) คางคาว เปนสัตวสายตาไมดี ใชหลักการสะทอนเสียง
โดยสงและรับความถี่สูง อุตสาหกรรมใชในการตรวจสอบรอยราว
ทางการแพทยใชตรวจสอบเนื้อเยื่อของอวัยวะตางๆ ใชในการสลายนิ่วในไต ใชทําลายเชื้อโรคบางชนิดใน
อาหาร และน้ํา

การหักเหของเสียง
        คลื่นเสียงเมื่อเดินทางผานตัวกลางที่มีความหนาแนนแตกตาง                      เสนตั้งฉาก
กัน จะเกิ ด การเปลี่ ย นแปลงทิ ศ ทางความเร็ ว และความยาวคลื่ น แต          อากาศ                 รอยตอระหวาง
ความถี่คลื่นยังคงที่กลาวคือเมื่อเสียงเคลื่อนที่จากตัวกลางที่มีความ                                  ตัวกลาง
                                                                              น้ํา
หนาแนนนอย(อากาศ) เขาสูตัวกลางที่มีความหนาแนนมากกวา (น้ํา)
เสียงจะหักเหออกจากเสนตั้งฉาก หลักการนี้ใชอธิบาย การเห็นฟาแลบ แตไมไดยินเสียงฟารอง เพราะเมื่อเกิด
ฟาแลบ แมจะมีเสียงเกิดขึ้นแตเราไมไดยินเสียง ทั้งนี้เพราะอากาศใกลพื้นดินมีอุณหภูมิสูงกวาอากาศเบื้องบน
ทําใหการเคลื่อนที่ของเสียงเคลื่อนที่ไดในอัตราที่ตางกัน คือ เคลื่อนที่ในอากาศที่มี อุณหภูมิสูงไดเร็วกวาใน
อากาศที่มอุณหภูมิต่ํา ดังนั้น เสียงจึงเคลื่อนที่เบนขึ้นทีละนอยๆ จนขามหัวเราไป จึงทําใหไมไดยินเสียงฟารอง
           ี

การแทรกสอดของเสียง
การแทรกสอดของเสียงเปนปรากฏการณที่เกิดจากคลื่นเสียงที่มาจากแหลงกําเนิดเสียงตั้งแต 2 แหลงขึ้นไป
รวมกัน จึงเกิดการแทรกสอดแบบเสริมกันและหักลางกัน ทําใหเกิดเสียงดัง และ เสียงคอย

                                                                                                 เสียงความถี่ f1


                                                                                                 เสียงความถี่ f2




                                                                                    เสียงความถี่ f1 และ f2 รวมกัน




           เสริม                เสริม                เสริม                   เสริม
                    หักลาง          หักลาง            หักลาง                หักลาง
                                                                                     เกิดการแทรกกัน (เสริม, หักลาง)
ในกรณีที่เปนเสียงเสริมกัน ตําแหนงที่มีการเสริมกันจะมีเสียงดัง สวนตําแหนงที่แทรกสอดแลว
หักลางกันจะมีเสียงคอย แตการเกิดปรากฏการณแทรกสอดเกิดจากแหลงกําเนิดเสียงที่มีความถี่ตางกัน ทําให
เกิดเสียงดัง เสียงคอยเปนจังหวะๆ เรียกวา บีตส ( Beats ) ประโยชนจากการแทรกสอดและบีตสนี้ นํามาใช
เทียบเครื่องดนตรี โดยมีเครื่องเทียบเสียงมาตรฐาน ใชหลักวาเมื่อความถี่เสียงเทากันจะไมเกิดบีตส ถายังมีบี
ตสอยูแสดงวา ความถี่เสียงยังไมเทากัน ตองปรับจนเสียงทั้งสองมีความถี่เทากันจึงไมทําใหเกิดบีสต
         ถาเราตั้งลําโพงลักษณะเหมือนๆกัน 2 ตัว ใหหางกันระยะหนึ่ง ดังรูป แลวเดินในแนวขนานกับลําโพง
ทั้งสองตามแนว AB
                                   A                                                               B



        การแทรกสอดของเสียง

                                                      S1                 S2
   จากการเดินในแนว AB ดังกลาว เราจะรูสึกไดวา เสียงที่เราไดรับจะมีลักษณะดัง-คอย สลับกันไป

การเลี้ยวเบนของเสียง
          นอกจากการหักเหของเสียงที่เกิดขึ้น เมื่อผานตัวกลางตางชนิดกันแลวยังมีการเลี้ยวเบนได การ
เลี้ยวเบนของเสียงมักจะเกิดพรอมกับการสะทอนของเสียง เสียงที่เลี้ยวเบน จะไดยินคอยกวาเดิม เพราะ
พลังงานของเสียงลดลง
          ในชีวิตประจําวันที่เราพบไดอยางเสมออยางหนึ่งคือการไดยินเสียงของผูอื่นไดโดยไมเห็นตัวผูพูด
เชน ผูพูดอยูคนละดานของมุมตึก ปรากฏการณดังนี้ แสดงวาเสียงสามารถเลี้ยวเบนได การอธิบาย
ปรากฏการณนี้สามารถจะกระทําไดโดยใชหลักการของฮอยเกนทอธิบายวา ทุกๆจุดบนหนาคลื่นสามารถทํา
หนาที่เปนตนกําเนิดคลื่นอันใหมได ดังนันอนุภาคของอากาศที่ทําหนาที่สงผานคลื่นเสียงตรงมุมตึกยอมเกิด
                                          ้
การสั่น ทําหนาที่เหมือนตนกําเนิดเสียงใหม สงคลื่นเสียไปยังผูฟง
                                                                                             ลําโพง
ได
          เราสามารถทดลอง การเลี้ยวเบนของเสียงไดโดย ใหผูฟง
ฟงเสียงลําโพงจากนอกหองดังรูป ที่ตําแหนง ก. ข. ค. ง. ผนังหอง                        ประตู ผนังหอง
ผูฟงยอมไดยินเสียงลําโพง ที่อยูในหองไดทุกคน แสดงวาเสียง               ก. ข. ค.                 ง.
สามารถเลี้ยวเบนไดตามแบบของคลื่น

          การเลี้ยวเบนของเสียงจะเกิดไดดี เมื่อชองกวางที่ใหเสียงผานมีขนาดเทากับความยาวคลื่นของเสียง
นั้น เนื่องจาก ชองกวางนั้นจะทําหนาที่เหมือนเปนแหลงกําเนิดเสียงขนาดนั้นไดพอดีนั่นเอง
ปรากฏการณบางอยางของเสียง
บีตส ( Beats )
          เปนปรากฏการณที่คลื่นเสียงสองชุดซึ่งมีความถี่ใกลเคียงกัน แอมพลิจูดเทากันหรือไมก็ได เคลื่อนที่
ในตัวกลางเดียวกัน เกิดการแทรกสอดกันขึ้น ไดคลื่นเสียงลัพธซึ่งมีแอมพลิจูดไมคงที่ แปรเปลี่ยนตลอดเวลา
ทําใหเกิดเสียงดัง-คอย เปนจังหวะสลับกันไป จํานวนครั้งของเสียงดัง ( หรือจํานวนครั้งของเสียงคอย ) ใน 1
วินาที เรียกวาความถี่บีตส ( fb )
          เราสามารถ หาความถี่บีตสไดดังนี้
                           fb      =        f1 – f2     คือ จังหวะดังหรือคอยที่ไดยิน
ตัวอยาง 1        เมื่อเคาะสอมเสียงสองอันมีความถี่ 450 และ 456 เฮริตซ จะทําใหเกิดจังหวะเสียงดังหรือ
เสียงคอยใน 1 วินาที เทากับเทาไร
วิธทํา
   ี                       fb      =        f1 – f2 = 450 – 456
                                   =        6 =         6 Hz ( มีความถี่บีตส 6 เฮริตซ )
          จะไดยินจังหวะเสียงดัง 6 ครั้ง ใน 1 วินาที หรือ ไดยินจังหวะเสียงคอย 6 ครั้ง ใน 1 วินาที

คลื่นนิ่ง และ การสั่นพอง ( การกําทอน ) ( Standing Wave and Resonance )
คลื่นนิ่ง (Standing Wave )
          คือ คลื่นรวมที่เกิดจากคลื่นสองขบวน ( ซึ่งเปนคลื่นจากแหลงกําเนิดอาพันธ ) เคลื่อนที่เขาหากันใน
ตัวกลางเดียวกัน มีผลใหเกิดปฏิบัพและบัพสลับกันไป โดยตําแหนงของปฏิบัพ และบัพคงที่ ไมเปลี่ยน
ตําแหนง ดังรูป
หาความยาวคลื่นไดดังนี้
                    L                                                             L
                                                                                
                                          ปลายตึง ทั้ง 2 ขาง
                     2
                    
         จากรูป       = L                                                จากรูป         = L
                    2
                    = 2L



หาความยาวคลื่นไดดังนี้
                    L                                                                L

                                           ปลายตึง ขางเดียว                          3
                  4                                                                     4
                                                         3
          จากรูป          = L                                           จากรูป       = L
                        4                                                          4
                        = 4L                                                          4L
                                                                                  =
                                                                                        3
หาความยาวคลื่นไดดังนี้

                   L                                                             L
                                     ปลายอิสระทั้งสองขาง
                                                                                 
                   
                   2

การสั่นพอง (Resonance)
        คือปรากฏการณซึ่งเกิดขึ้นเมื่อพลังงานกระทบวัตถุ แลวทําใหวัตถุสั่นดวยความถี่ธรรมชาติซึ่งเทากับ
ความถี่ของพลังงานที่ตกกระทบ ทําใหวัตถุนั้นเกิดการสั่นที่ฐานแรงที่สุด (เกิดเปนคลื่นนิ่ง) ซึ่งอาจทําให
กระจกหรือแกวแตกได เมื่อบางคนรองเพลง
ความถี่ธรรมชาติ
        เปนลักษณะเฉพาะตัวในการสั่นของวัตถุแตละชนิด ไมวาจะใหพลังงานเทาใด เมื่อคิดการสั่นในหนึ่ง
หนวยเวลา แลวจะเทากันทุกครั้ง เชน การแกวงของลูกตุมที่จะพิจารณาจากรูปตอไปนี้




                   4 ซม.                                  6 ซม.                              8 ซม.
   50 รอบ ในเวลา 80 วินาที                  50 รอบ ในเวลา 80 วินาที              50 รอบ ในเวลา 80 วินาที
      ความถี่ = 0.625 Hz                       ความถี่ = 0.625 Hz                   ความถี่ = 0.625 Hz

        จากรูป ขางบน ไมวาจะดึงลูกตุมใหหางจากแนวดิ่งเทาใดก็ตาม ความถี่ในการแกวงของลูกตุมจะเทา
เดิมทุกครั้งไป ซึ่งเปนความถี่ในการแกวงของลูกตุม อันเปนลักษณะเฉพาะตัวตามธรรมชาติของลูกตุม จึง
เรียกความถี่ในการแกวงของลูกตุมนี้วา ความถี่ธรรมชาติของลูกตุม
การสั่นพองของเสียง
         การใหพลังงานจากภายนอกกับวัตถุ ดวยความถี่ซึ่ง เทากับความถี่ธรรมชาติของวั ตถุ วัตถุ จ ะรับ
พลังงานไดดีที่สุด พลังงานนี้จะสะสมอยูในวัตถุนั้น ทําใหเกิดการสั่นของวัตถุรุนแรงขึ้น สภาวะที่เกิดขึ้นนี้
เรียกวา การสั่นพอง (Resonance)
         ตัวอยาง การสรางเครื่องดนตรี เชน ซอ ไวโอลีน กีตาร




           จากรูปแผนไมที่ขึงสายเอ็น เมื่อดีดสายเอ็นจะทําใหเกิดเสียงในระดับหนึ่ง
           เมื่อ สรางกระปอง หรือกลองไม กลองโลหะ ภายในกลวง วางไวดานลาง จะทําใหเกิดเสียงดังขึ้น
กวาเดิม ปรากฏการณนี้เปนการทําใหเกิดการสั่นพองของเสียง เกิดขึ้นภายในกระปอง โมเลกุลของอากาศ
ไดรับพลังงานจากภายนอก เก็บสะสมไว ทําใหเกิดการสั่นที่รุนแรงขึ้น จึงทําใหเกิดเสียงที่ดังมากกวาเดิม (เกิด
คลื่นนิ่ง)

ปรากฏการณดอปเปลอร (Doppler Effect)
        คือปรากฏการณที่ผูสังเกตไดยินเสียงมีความถี่เปลี่ยนไปจากความถี่เดิม อันอาจเนื่องมาจากการ
เคลื่อนที่ของผูสังเกตทําใหความเร็วของเสียงมาถึงผูสังเกตเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม และหรือเนื่องจากการ
เคลื่อนที่ของแหลงกําเนิดเสียง ทําใหความยาวคลื่นที่ผูสังเกตไดรับผิดไปจากเดิม จึงมีผลใหผูสังเกตไดยิน
เสียงแหลม หรือทุมมากกวาความจริง (ความถี่สูงเสียงแหลม , ความถี่ต่ําเสียงทุม)

กําหนดให       v        =       ความเร็วเสียงในอากาศ
                vO       =       ความเร็วของผูสังเกต
                vS       =       ความเร็วของแหลงกําเนิด
                fO       =       ความถี่ที่ผูสังเกตไดยิน
                fS       =       ความถี่เสียงของแหลงกําเนิด
                        =       ความยาวคลื่นเสียงในอากาศ
                 v       =       ความเร็วสัมพัทธ

พิจารณาจากรูป เกี่ยวกับ การเกิดปรากฏการณดอปเปลอร เมื่อตัวกลางอยูกับที่ ( อากาศ )
จากรูป 1
                                                                    1
        Source ( แหลงกําเนิดเสียง ) อยูกับที่                                v
ผูสังเกต ( Observe ) อยูกับที่ดวย
จะไดวา           ความถี่ที่ผูสังเกตไดยิน = ความถี่ของ Source
                                      f O = fS

จากรูป 2 และ 3                                                              2              v
          Source ( แหลงกําเนิดเสียง ) อยูกับที่
                                                                                     vO
          ผูสังเกต ( Observe ) เคลื่อนที่
      1. จากรูป 2 ผูสังเกต ( Observe ) เคลื่อนที่ เขาหา จะทําใหผูสังเกต
ไดยนเสียงมีความถี่เพิ่มขึ้น
    ิ
      การเคลื่อนที่ในลักษณะนี้ จะมีการเคลื่อนที่สัมพัทธระหวาง ความเร็วเสียงในอากาศ แหลงกําเนิดเสียง
และ ผูสังเกต
          ดังนั้น ให       v คือ ความเร็วสัมพัทธระหวาง ความเร็วเสียงกับแหลงกําเนิด
                                     หรือ ความเร็วสัมพัทธระหวาง ความเร็วเสียงกับผูสังเกต
พิจารณาความเร็วเสียงกับความเร็วแหลงกําเนิด จะได
                    ความเร็วสัมพัทธระหวาง ความเร็วเสียงกับความเร็วแหลงกําเนิด ดังนี้
                            คือ       v = v  vS
          ถา        v = v + vS แสดงวา ความเร็วเสียง และ แหลงกําเนิดเสียง เคลื่อนที่สวนทางกัน
                     v = v - vS แสดงวา ความเร็วเสียง และ แหลงกําเนิดเสียง เคลื่อนที่ไปทางเดียวกัน

พิจารณาความเร็วเสียงกับความเร็วของผูสังเกต จะได
                 ความเร็วสัมพัทธระหวาง ความเร็วเสียงกับความเร็วของผูสังเกต ดังนี้
                          คือ     v = v  vO
         ถา     v = v + vO แสดงวา ความเร็วเสียง และ ผูสังเกต เคลื่อนที่สวนทางกัน
                 v = v – vO แสดงวา ความเร็วเสียง และ ผูสังเกต เคลื่อนที่ไปทางเดียวกัน
         จาก              v      =       f
         จะได             v = f
จากรูป 2 พิจารณาที่แหลงกําเนิดเสียง ได
                          v  vS =       fS S ; เมื่อแหลงกําเนิดเสียงอยูกบที่ vS = 0
                                                                            ั
         แทนคา vS = 0 ได               v       =       fS S ………………… ( 1 )
จากรูป 2 พิจารณาที่ผูสังเกต ได         v  vO = fO O
เมื่อ v กับ vO เคลื่อนที่สวนทางกันจะได v + vO =         fO O ………………… ( 2 )
v                      fS  S
        (1)/(2)                             =
                          v  vO                     fO  O
เมื่อ S = O เพราะความยาวคลื่น อยูระหวางผูสังเกตและแหลงกําเนิดทีเ่ ดียวกัน จึงเทากัน
                               v                      fS
                                            =
                          v  vO                     fO

                                                                 v  vO
                                            fO      =        (          ) fS
                                                                    v

     2. จากรูป 3 ผูสงเกต ( Observe ) เคลื่อนที่ หนี จะทําใหผู
                     ั
                                                                        3
สังเกตไดยินเสียงมีความถี่ตาลง่ํ                                                       v
         จาก                v      =       f                            vO
         จะได               v = f
จากรูป 3 พิจารณาที่แหลงกําเนิดเสียง ได
                            v  vS =       fS S           ;        เมื่อแหลงกําเนิดเสียงอยูกับที่ vS = 0
         แทนคา vS = 0 ได                 v       =       fS S ………………… ( 1 )
จากรูป 3 พิจารณาที่ผูสงเกต ได
                          ั                v  vO = fO O
เมื่อ v กับ vO เคลื่อนที่ไปทางเดียวกัน จะได       v - vO =         fO O ………………… ( 2 )
                                       v                     fS  S
         (1)/(2)                                   =
                                    v  vO                  fO  O
เมื่อ S = O เพราะความยาวคลื่น อยูระหวางผูสังเกตและแหลงกําเนิดทีเ่ ดียวกัน จึงเทากัน
                                       v                     fS
                                                   =
                                    v  vO                  fO

                                                                 v  vO
                                            fO      =        (          ) fS
                                                                    v


จากรูป 4 และ 5
         Source (แหลงกําเนิดเสียง ) เคลื่อนที่
         ผูสังเกต ( Observe ) อยูกับที่                                  4
                                                                                        v
    1. จากรูป 4 Source ( แหลงกําเนิดเสียง ) เคลื่อนที่ เขาหา จะทํา
ใหผูสงเกตไดยินเสียงมีความถี่เพิ่มขึ้น
       ั                                                                           vS
จาก              v       =      f
         จะได             v = f
จากรูป 4 พิจารณาที่แหลงกําเนิดเสียง ได
                          v  vS =       fS S
เมื่อ v กับ vO เคลื่อนที่ไปทางเดียวกัน จะได   v - vS =           fS S ………………… ( 1 )

จากรูป 4 พิจารณาที่ผูสังเกต ได       v  vO =      fO O ; เมื่อผูสังเกตอยูกับที่ vO = 0
แทนคา vO = 0 จะได                    v     =       fO O             ………………… ( 2 )
                          v - vS                      fS  S
        (1)/(2)                             =
                            v                         fO  O
เมื่อ S = O เพราะความยาวคลื่น อยูระหวางผูสังเกตและแหลงกําเนิดทีเ่ ดียวกัน จึงเทากัน
                          v - vS                      fS
                                            =
                            v                         fO

                                                             v
                                       fO      =       (          ) fS
                                                           v - vS

     2. จากรูป 5 Source ( แหลงกําเนิดเสียง ) เคลื่อนที่ หนี จะ 5
ทําใหผูสงเกตไดยนเสียงมีความถี่ต่ําลง
          ั       ิ                                                     v
          จาก             v       =       f                                                   vS
          จะได            v = f
จากรูป 5 พิจารณาที่แหลงกําเนิดเสียง ได
                          v  vS =        fS S
เมื่อ v กับ vO เคลื่อนที่สวนกัน จะได v + vS =               fS S ………………… ( 1 )

จากรูป 4 พิจารณาที่ผูสงเกต ได
                       ั               v  vO =      fO O ; เมื่อผูสังเกตอยูกับที่ vO = 0
แทนคา vO = 0 จะได                    v     =       fO O             ………………… ( 2 )
                          v  vS                             fS  S
        (1)/(2)                                      =
                              v                             fO  O
เมื่อ S = O เพราะความยาวคลื่น อยูระหวางผูสังเกตและแหลงกําเนิดทีเ่ ดียวกัน จึงเทากัน
                          v  vS                            fS
                                                     =
                              v                             fO
v
                                        fO      =       (          ) fS
                                                            v  vS



ดังนั้นเราสามารถสรุป สูตร ของปรากฏการณดอปเปลอร เมื่อ ตัวกลางอยูนิ่ง ( อากาศ )ไดดังนี้
จากรูป 6 สรุปสูตรไดดังนี้
                                                         6
                         v  vO                                            v
         fO     =       
                         v  v  fS
                                 
                              S 
                                                         vO             vO v                 vS
                                                                               S




         ผูสังเกตเคลื่อนที่เขา แทน vO ดวย ( + )
         ผูสังเกตเคลื่อนที่หนี แทน vO ดวย ( - )
         Source ( แหลงกําเนิด ) เคลื่อนที่เขา แทน vO ดวย ( - )
         Source ( แหลงกําเนิด ) เคลื่อนที่หนี แทน vO ดวย ( + )
ตัวอยาง ชายคนหนึ่งวิ่งเขาหาแหลงกําเนิดเสียงดวยความเร็ว 10 เมตรตอวินาที ถาเสียงนั้นถูกปลอยออกจาก
แหลงกําเนิดเสียงที่หยุดนิ่ง และมีความถี่ 480 Hz ขณะนั้นความเร็วเสียงในอากาศ 300 Hz ชายผูนั้นจะไดยิน
เสียงความถี่เทาใด                                                                     v
                                             v  vO                            vO
วิธีทํา จาก                  fO     =       
                                             vv    fS
                                                  S 




เมื่อ            v =    ความเร็วเสียงในอากาศ = 300 m/s
                 vO =   ความเร็วของผูสังเกต = 10 m/s เคลื่อนที่เขาหา ( + )
                 vS =   ความเร็วของแหลงกําเนิด = 0 m/s
                 fO =   ความถี่ที่ผูสังเกตไดยิน = ?
                 fS =   ความถี่เสียงของแหลงกําเนิด = 480 Hz
        จะได           fO       =          v  vO  f
                                                     S
                                            v 
        แทนคา          fO       =          300  10  480  =   496 Hz
                                                     
                                            300 
ตอบ     ชายผูนั้นจะไดยินเสียงความถี่เทากับ        496   เฮิรตซ

คลื่นกระแทก ( Shock Wave )
        คือ ปรากฏการณที่ผูสังเกตที่หยุดนิ่งไดยนเสียงจากแหลงกําเนิดเสียง ( Source ) มีความเร็วมากกวา
                                                 ิ
ความเร็วของเสียง แสดงลักษณะของคลื่นไดดังรูป

                                                                     หนาคลื่นกระแทก



                                      A                                                        B
                                                                                 

                                                                          หนาคลื่นกระแทก
                                                C



        จากรูป แหลงกําเนิดเสียง ( Source ) เคลื่อนจาก A  B ใชเวลา t คลื่นเสียง เคลื่อนจาก A 
Cใชเวลา t อันเดียวกัน



                                AC   AC
        จะได            sin =    =    t = v
                                AB   AB     vS
                                        t

                                                 v
                                  sin =
                                                vS

        เมื่อ v = ความเร็วคลื่นเสียง , vS = ความเร็วของแหลงกําเนิด ,  = ครึ่งหนึ่งของมุมที่ปลาย
กรวย
      Mach number คือเลขที่ใหทราบความเร็วของแหลงกําเนิดเสียงเปนกี่เทาของความเร็วคลื่นเสียง
หาคา Mach number ไดจาก อัตราสวนระหวาง อัตราเร็วของแหลงกําเนิดกับอัตราเร็วเสียง
vS     1
                         Mach number =                =
                                                    v   sin


ตัวอยาง        เครื่องบิน มีความเร็ว 2.5 มัค จะมีอัตราเร็วเทากับเทาไร ถาอัตราเร็วเสียงเทากับ 340 เมตรตอวินาที
วิธีทํา                                   vS                          v
                       Mach number =                แทนคา 1.25 = S
                                           v                          340
                       VS = ( 2.5 )( 340 ) = 850 เมตรตอวินาที
                          เครื่องบิน มีความเร็ว 1.25 มัค จะมีอัตราเร็วเทากับ 850 เมตรตอวินาที
ความเขมของเสียงและระดับความเขมของเสียง
      แหลงกําเนิดที่มีชวงกวางของการสั่น ( amplitude ) กวางมาก จะเกิดเสียงดังกวาเสียงที่มี amplitude
นอย ในทางวิทยาศาสตร เรียกความดังของเสียงวา ความเขมของเสียง การวัดความเขมของเสียงวัดไดจาก
พลังงานของเสียงที่ตกตั้งฉากบน 1 หนวยพื้นที่ใน 1 หนวยเวลา มีหนวยเปนวัตตตอตารางเมตร ( Watt/m2 )
และหาไดจากสมการดังตอไปนี้
เมื่อ I         คือ ความเขมของเสียงที่จุดใดจุดหนึ่ง ( Watt/m2 )
       P        คือ กําลังของเสียงจากแหลงกําเนิด            ( Watt )
                                                                                          R A
       R        คือ ระยะระหวางแหลงกําเนิดเสียงกับจุดที่พิจารณา ( m )
       A        คือ พื้นที่ของเสียงที่ตกตั้งฉากกับแหลงกําเนิด                        S
       S        คือ จุดกําเนิดคลื่นเสียงที่มีหนาคลื่นเปนรูปทรงกลม
        พื้นที่ ๆ เสียงตกตั้งฉากก็คอ พื้นที่ผิวทรงกลม ซึ่งมีพื้นที่ = 4R2
                                       ื

                                    W                   P                     P
                I        =                   =                   =
                                    tA                  A                  4 R 2

                                              1
                                  I 
                                              R2
         ความเขมเสียงสูงสุดที่มนุษยไดยิน ( เสียงดัง ) 1 watt / m2
         ความเขมเสียงต่ําสุดที่มนุษยไดยิน ( เสียงเบา ) 10- 12 watt/m2
ตัวอยาง ชายคนหนึ่งขณะอยูหางจากแหลงกําเนิด 3 เมตร จะไดยินเสียงมีความเขม 10-                      8
                                                                                                           watt / m2
แหลงกําเนิดเสียงมีกําลังเสียงกี่วัตต
                                       P
วิธีทํา จาก              I =                                              P         =        4R2 ( I )
                                    4 R 2
แทนคา           P         =        4(3 )2 ( 10- 8 ) = 36x10- 8  วัตต
ตอบ       แหลงกําเนิดเสียงมีกําลังเสียงเทากับ 36x10- 8  วัตต

         เมื่อหูไมสามารถใชเปนมาตรฐานในการวัดความเขมของเสียงได จึงมีการวัดความเขมของเสียงดัง
สมการและตัวอยางขางตน
         และเพื่อเปนเกียรติแก อเลกซานเดอร เกรแฮม เบล จึงวัดความดังของเสียงเปนระดับความเขมของ
เสียงและมีหนวยเรียกวา เบล แตเนื่องจากเบลเปนหนวยที่ใหญเกินไป ไมสามารถบอกความละเอียดที่จะอยก
คาความดังของเสียงตางๆได จึงแบงเปนหนวยยอยลงไป เรียกวา เดซิเบล ( dB )
                          1 เบล           =        10 เดซิเบล
                  ตัวเลขความดัง 1 เดซิเบล          จะดังกวา 0 เดซิเบล = 10 เทา
                  ตัวเลขความดัง 2 เดซิเบล          จะดังกวา 0 เดซิเบล = 100 เทา
         มนุษยสามารถไดยินเสียงที่มีความดังที่ระดับความเขมของเสียงตั้งแต 0 – 120 เดซิเบล เสียงที่ดังมาก
เกินไปอาจทําใหหูหนวกได เชน เสียงฟาผาใกลๆตัว ที่มีคาความดังเกิน 120 dB เปนตน เสียงที่มีความดังไม
มากแตไดยินเปนเวลานานหลายชั่วโมงก็อาจเปนอันตรายได เชน เสียงเครื่องจักรในโรงงานอุตสาหกรรม (
มลภาวะทางเสียง ) องคการอนามัยโลกจึงกําหนดวาเสียงที่ปลอดภัยตองมีความเขมไมเกิน 85 dB เมื่อตองได
ยินติดตอกันวันละ 8 ชั่วโมงขึ้นไป เสียงที่ดังไมถึงขั้นเปนอันตรายกับหู แตอาจมีผลกระทบทางดานจิตใจได
เชน ทําใหเกิดความเครียด ไมมีสมาธิ เปนตน




          เราสามารถหาระดับความเขมของเสียง ไดดังนี้
                 เมื่อ  คือ ระดับความเขมของเสียงที่จุดพิจารณา ( dB , เดซิเบล )
                       I คือ ความเขมของเสียงขณะใดขณะหนึ่งที่จุดพิจารณา ( watt/m2 )
                       I0 คือ ความเขมของเสียงต่ําสุดที่มนุษยไดยิน = 10- 12 watt/m2

                                                      I
                                  =        10 log
                                                     I0

ตัวอยาง หนาตางแหงหนึ่ง มีคลื่นเสียงผานวัดระดับความเขมของเสียงได 80 dB จงหาวา ขณะนั้นมีความเขม
ของเสียงกี่วัตตตอตารางเมตร
                                                      I
วิธีทํา           จาก             =        10 log
                                                     I0
I
        แทนคา           80     =       10 log
                                                10 - 12
                         80     =       10 ( log I – log 10-12 )
                         80     =       10 ( log I – (-12)log 10 )
                          80
                                =        log I + 12
                          10
                         8 – 12 =        log I
                         -4     =        log I
                         10- 4 =         I
                         I      =        10- 4           watt/m2
ตอบ     คลื่นเสียงขณะที่ผานหนาตางมีความเขมของเสียงเทากับ 10- 4 วัตตตอตารางเมตร

หูกับการรับรู
         หูเปนอวัยวะสําคัญในการรับเสียง แบงออกเปน 3 สวนคือ
         1 ) หูสวนนอก ( external ear ) ประกอบดวยใบหู รูหูหรือชองหู จนถึงแกวหู ทําหนาที่รับเสียงจาก
ภายนอก คลื่นเสียงเดินทางไปทางรูหู โดยมีชองหูทาหนาที่รวมเสียงไปสูแกวหู
                                                 ํ
         2 ) หูสวนกลาง ( middle ear ) อยูถัดจากแกวหูเขาไป มีลักษณะเปนโพรงอากาศ ภายในมีกระดูก 3
ชิ้น ไดแกกระดูกคอน อยูชิดแนบกับแกวหู กระดูกโกลนมีฐานวางปดชองที่ตอไปยังหูชั้นใน และกระดูกทั่ง
ทําหนาที่สงตอแรงสั่นสะเทือนของเสียงไปยังหูสวนใน และหูสวนกลาง นอกจากนี้ยังทําหนาที่ปรับความดัน
อากาศภายในใหเทากับความดันอากาศภายนอก โดยอาศัยทอที่ติดตอกับโพรงอากาศ หากความดันไมเทากัน
จะทําใหหูอื้อ ไดยินเสียงไมชัดเจน
         3 ) หูสวนใน ( inner ear ) ประกอบดวยสวนสําคัญ 2 สวน
                  สวนแรก คือ คอเคลีย (Cochlea) เปนทอขดคลายรูปหอยโขง ภายในมีของเหลว มีเซลลรับ
ความสั่นสะเทือนของของเหลวภายในคอเคลีย ทําหนาที่รับคลื่นเสียง และแปลงเปนคลื่นไฟฟาไปตาม
ประสาทไดยินไปยังสมอง เพื่อรับรูการไดยินและแปลความหมายโดยสมอง
                  สวนที่สอง คือ ทอครึ่งวงกลม 3 ทอ ตั้งฉากซึ่งกันและกัน ทําหนาที่รับการทรงตัวของ
รางกายและการเคลื่อนไหวของศรีษะ
                           ใบห                 ทอครึ่งวงกลม
                                                                  เสนประสาทหู
                                       กระดูกคอน


                 เสียง
                                                                             คอเคลีย
                                           แกวหู
                                                        ทอยูสเตเชียนทิวป

More Related Content

What's hot

แบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็ว
แบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็วแบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็ว
แบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็วJariya Jaiyot
 
แบบฝึกหัดเสริม สมดุลกล.docx
แบบฝึกหัดเสริม สมดุลกล.docxแบบฝึกหัดเสริม สมดุลกล.docx
แบบฝึกหัดเสริม สมดุลกล.docxNing Thanyaphon
 
Slแบบฝึกหัดทบทวน เรื่อง อัตราเร็ว ความเร็ว ระยะทาง และการกระจัด
Slแบบฝึกหัดทบทวน เรื่อง อัตราเร็ว ความเร็ว ระยะทาง และการกระจัดSlแบบฝึกหัดทบทวน เรื่อง อัตราเร็ว ความเร็ว ระยะทาง และการกระจัด
Slแบบฝึกหัดทบทวน เรื่อง อัตราเร็ว ความเร็ว ระยะทาง และการกระจัดkrupornpana55
 
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆบทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆThepsatri Rajabhat University
 
ใบงาน 14.1 14.3
ใบงาน 14.1 14.3ใบงาน 14.1 14.3
ใบงาน 14.1 14.3oraneehussem
 
05แผน เรื่อง โมเมนตัม
05แผน เรื่อง โมเมนตัม05แผน เรื่อง โมเมนตัม
05แผน เรื่อง โมเมนตัมWijitta DevilTeacher
 
05แบบฝึกกำลัง
05แบบฝึกกำลัง05แบบฝึกกำลัง
05แบบฝึกกำลังPhanuwat Somvongs
 
ใบงานเรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ใบงานเรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าใบงานเรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ใบงานเรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าWorrachet Boonyong
 
แบบฝึกหัดการหาสัดส่วนจีโนไทป์ฟีโนไทป์
แบบฝึกหัดการหาสัดส่วนจีโนไทป์ฟีโนไทป์แบบฝึกหัดการหาสัดส่วนจีโนไทป์ฟีโนไทป์
แบบฝึกหัดการหาสัดส่วนจีโนไทป์ฟีโนไทป์Maikeed Tawun
 
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่nik2529
 
ทวิภาวะของคลื่นและอนุภาค
ทวิภาวะของคลื่นและอนุภาคทวิภาวะของคลื่นและอนุภาค
ทวิภาวะของคลื่นและอนุภาคChanthawan Suwanhitathorn
 
แผนการสอนงานและพลังงาน
แผนการสอนงานและพลังงานแผนการสอนงานและพลังงาน
แผนการสอนงานและพลังงานWeerachat Martluplao
 
01แบบฝึกแรงและงาน
01แบบฝึกแรงและงาน01แบบฝึกแรงและงาน
01แบบฝึกแรงและงานPhanuwat Somvongs
 
ใบงานคลื่นกล ม.5 .docx
ใบงานคลื่นกล ม.5 .docxใบงานคลื่นกล ม.5 .docx
ใบงานคลื่นกล ม.5 .docxsathanpromda
 

What's hot (20)

คำประสม
คำประสมคำประสม
คำประสม
 
แบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็ว
แบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็วแบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็ว
แบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็ว
 
แบบฝึกหัดเสริม สมดุลกล.docx
แบบฝึกหัดเสริม สมดุลกล.docxแบบฝึกหัดเสริม สมดุลกล.docx
แบบฝึกหัดเสริม สมดุลกล.docx
 
Slแบบฝึกหัดทบทวน เรื่อง อัตราเร็ว ความเร็ว ระยะทาง และการกระจัด
Slแบบฝึกหัดทบทวน เรื่อง อัตราเร็ว ความเร็ว ระยะทาง และการกระจัดSlแบบฝึกหัดทบทวน เรื่อง อัตราเร็ว ความเร็ว ระยะทาง และการกระจัด
Slแบบฝึกหัดทบทวน เรื่อง อัตราเร็ว ความเร็ว ระยะทาง และการกระจัด
 
03 มวลแรงและการเคลื่อนที่
03 มวลแรงและการเคลื่อนที่03 มวลแรงและการเคลื่อนที่
03 มวลแรงและการเคลื่อนที่
 
บทที่7แรงเสียดทาน1 (2)
บทที่7แรงเสียดทาน1 (2)บทที่7แรงเสียดทาน1 (2)
บทที่7แรงเสียดทาน1 (2)
 
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆบทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
 
ใบงาน 14.1 14.3
ใบงาน 14.1 14.3ใบงาน 14.1 14.3
ใบงาน 14.1 14.3
 
สาวน้อยนักกายกรรม
สาวน้อยนักกายกรรมสาวน้อยนักกายกรรม
สาวน้อยนักกายกรรม
 
อัตราเร็ว (Speed)
อัตราเร็ว (Speed)อัตราเร็ว (Speed)
อัตราเร็ว (Speed)
 
05แผน เรื่อง โมเมนตัม
05แผน เรื่อง โมเมนตัม05แผน เรื่อง โมเมนตัม
05แผน เรื่อง โมเมนตัม
 
05แบบฝึกกำลัง
05แบบฝึกกำลัง05แบบฝึกกำลัง
05แบบฝึกกำลัง
 
ใบงานเรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ใบงานเรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าใบงานเรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ใบงานเรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
 
แบบฝึกหัดการหาสัดส่วนจีโนไทป์ฟีโนไทป์
แบบฝึกหัดการหาสัดส่วนจีโนไทป์ฟีโนไทป์แบบฝึกหัดการหาสัดส่วนจีโนไทป์ฟีโนไทป์
แบบฝึกหัดการหาสัดส่วนจีโนไทป์ฟีโนไทป์
 
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่
 
ความเร่ง (Acceleration)
ความเร่ง (Acceleration)ความเร่ง (Acceleration)
ความเร่ง (Acceleration)
 
ทวิภาวะของคลื่นและอนุภาค
ทวิภาวะของคลื่นและอนุภาคทวิภาวะของคลื่นและอนุภาค
ทวิภาวะของคลื่นและอนุภาค
 
แผนการสอนงานและพลังงาน
แผนการสอนงานและพลังงานแผนการสอนงานและพลังงาน
แผนการสอนงานและพลังงาน
 
01แบบฝึกแรงและงาน
01แบบฝึกแรงและงาน01แบบฝึกแรงและงาน
01แบบฝึกแรงและงาน
 
ใบงานคลื่นกล ม.5 .docx
ใบงานคลื่นกล ม.5 .docxใบงานคลื่นกล ม.5 .docx
ใบงานคลื่นกล ม.5 .docx
 

Viewers also liked

แนวข้อสอบคัดเลือกนักเรียนเข้าห้องเรียนพิเศษ วิทยาศาสตร์
แนวข้อสอบคัดเลือกนักเรียนเข้าห้องเรียนพิเศษ วิทยาศาสตร์ แนวข้อสอบคัดเลือกนักเรียนเข้าห้องเรียนพิเศษ วิทยาศาสตร์
แนวข้อสอบคัดเลือกนักเรียนเข้าห้องเรียนพิเศษ วิทยาศาสตร์ Worrachet Boonyong
 
สนามของแรง
สนามของแรงสนามของแรง
สนามของแรงTaweesak Poochai
 
วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า ม3
วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า  ม3วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า  ม3
วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า ม3Mew Meww
 
4แบบฝึกขนาดอนุภาคเผยแพร่
4แบบฝึกขนาดอนุภาคเผยแพร่4แบบฝึกขนาดอนุภาคเผยแพร่
4แบบฝึกขนาดอนุภาคเผยแพร่npapak74
 
โลกดาราศาสตร์ เรื่อง การเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลก
โลกดาราศาสตร์ เรื่อง การเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลกโลกดาราศาสตร์ เรื่อง การเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลก
โลกดาราศาสตร์ เรื่อง การเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลกMoukung'z Cazino
 
6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่
6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่
6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่npapak74
 
Slปกวิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
Slปกวิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้ที่ 3  พลังงานไฟฟ้าSlปกวิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้ที่ 3  พลังงานไฟฟ้า
Slปกวิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 พลังงานไฟฟ้าkrupornpana55
 
สรุปเนื้อหาฟิสิกส์ 1 [ครูแดง Physics Plus Astronomy]
สรุปเนื้อหาฟิสิกส์ 1 [ครูแดง Physics Plus Astronomy]สรุปเนื้อหาฟิสิกส์ 1 [ครูแดง Physics Plus Astronomy]
สรุปเนื้อหาฟิสิกส์ 1 [ครูแดง Physics Plus Astronomy]Chanunya Chompoowong
 
ข้อสอบภาษาอังกฤษฉบับที่ 1 -100 ข้อ
ข้อสอบภาษาอังกฤษฉบับที่ 1 -100 ข้อข้อสอบภาษาอังกฤษฉบับที่ 1 -100 ข้อ
ข้อสอบภาษาอังกฤษฉบับที่ 1 -100 ข้อKruthai Kidsdee
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1dnavaroj
 
รวมวิชาม.1
รวมวิชาม.1รวมวิชาม.1
รวมวิชาม.1Parichat1989
 
ข้อสอบเข้าจริง ม.1 -สาธิตศิลปากร คณิตศาสตร์
ข้อสอบเข้าจริง ม.1 -สาธิตศิลปากร คณิตศาสตร์ข้อสอบเข้าจริง ม.1 -สาธิตศิลปากร คณิตศาสตร์
ข้อสอบเข้าจริง ม.1 -สาธิตศิลปากร คณิตศาสตร์Kam Nimpunyagampong
 
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2  ปีการศึกษา 2556แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2  ปีการศึกษา 2556
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556dnavaroj
 
ข้อสอบวิทย์ ม.1 ภาค 1 และ ภาค 2
ข้อสอบวิทย์ ม.1 ภาค 1 และ ภาค 2ข้อสอบวิทย์ ม.1 ภาค 1 และ ภาค 2
ข้อสอบวิทย์ ม.1 ภาค 1 และ ภาค 2dnavaroj
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2dnavaroj
 

Viewers also liked (20)

GYI3rpt1
GYI3rpt1GYI3rpt1
GYI3rpt1
 
แนวข้อสอบคัดเลือกนักเรียนเข้าห้องเรียนพิเศษ วิทยาศาสตร์
แนวข้อสอบคัดเลือกนักเรียนเข้าห้องเรียนพิเศษ วิทยาศาสตร์ แนวข้อสอบคัดเลือกนักเรียนเข้าห้องเรียนพิเศษ วิทยาศาสตร์
แนวข้อสอบคัดเลือกนักเรียนเข้าห้องเรียนพิเศษ วิทยาศาสตร์
 
Basics phys intro
Basics phys introBasics phys intro
Basics phys intro
 
สนามของแรง
สนามของแรงสนามของแรง
สนามของแรง
 
วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า ม3
วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า  ม3วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า  ม3
วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า ม3
 
4แบบฝึกขนาดอนุภาคเผยแพร่
4แบบฝึกขนาดอนุภาคเผยแพร่4แบบฝึกขนาดอนุภาคเผยแพร่
4แบบฝึกขนาดอนุภาคเผยแพร่
 
คลื่น
คลื่นคลื่น
คลื่น
 
โลกดาราศาสตร์ เรื่อง การเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลก
โลกดาราศาสตร์ เรื่อง การเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลกโลกดาราศาสตร์ เรื่อง การเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลก
โลกดาราศาสตร์ เรื่อง การเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลก
 
6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่
6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่
6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่
 
ข้อสอบ ม.1 - 3 พร้อมเฉลย
ข้อสอบ ม.1 - 3 พร้อมเฉลยข้อสอบ ม.1 - 3 พร้อมเฉลย
ข้อสอบ ม.1 - 3 พร้อมเฉลย
 
Slปกวิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
Slปกวิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้ที่ 3  พลังงานไฟฟ้าSlปกวิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้ที่ 3  พลังงานไฟฟ้า
Slปกวิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
 
สรุปเนื้อหาฟิสิกส์ 1 [ครูแดง Physics Plus Astronomy]
สรุปเนื้อหาฟิสิกส์ 1 [ครูแดง Physics Plus Astronomy]สรุปเนื้อหาฟิสิกส์ 1 [ครูแดง Physics Plus Astronomy]
สรุปเนื้อหาฟิสิกส์ 1 [ครูแดง Physics Plus Astronomy]
 
ข้อสอบภาษาอังกฤษฉบับที่ 1 -100 ข้อ
ข้อสอบภาษาอังกฤษฉบับที่ 1 -100 ข้อข้อสอบภาษาอังกฤษฉบับที่ 1 -100 ข้อ
ข้อสอบภาษาอังกฤษฉบับที่ 1 -100 ข้อ
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
 
ติวOnetวิทย์
ติวOnetวิทย์ติวOnetวิทย์
ติวOnetวิทย์
 
รวมวิชาม.1
รวมวิชาม.1รวมวิชาม.1
รวมวิชาม.1
 
ข้อสอบเข้าจริง ม.1 -สาธิตศิลปากร คณิตศาสตร์
ข้อสอบเข้าจริง ม.1 -สาธิตศิลปากร คณิตศาสตร์ข้อสอบเข้าจริง ม.1 -สาธิตศิลปากร คณิตศาสตร์
ข้อสอบเข้าจริง ม.1 -สาธิตศิลปากร คณิตศาสตร์
 
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2  ปีการศึกษา 2556แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2  ปีการศึกษา 2556
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
 
ข้อสอบวิทย์ ม.1 ภาค 1 และ ภาค 2
ข้อสอบวิทย์ ม.1 ภาค 1 และ ภาค 2ข้อสอบวิทย์ ม.1 ภาค 1 และ ภาค 2
ข้อสอบวิทย์ ม.1 ภาค 1 และ ภาค 2
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
 

Similar to Sound

เสียงกับการได้ยิน
เสียงกับการได้ยินเสียงกับการได้ยิน
เสียงกับการได้ยินkrubenjamat
 
เรื่องที่12เสียง
เรื่องที่12เสียงเรื่องที่12เสียง
เรื่องที่12เสียงApinya Phuadsing
 
ปรากฏการณ์คลื่น
ปรากฏการณ์คลื่นปรากฏการณ์คลื่น
ปรากฏการณ์คลื่นSom Kechacupt
 
แผนการเรียนรู้รายหน่วย 5 เรื่องพฤติกรรมของสียง.docx
แผนการเรียนรู้รายหน่วย 5  เรื่องพฤติกรรมของสียง.docxแผนการเรียนรู้รายหน่วย 5  เรื่องพฤติกรรมของสียง.docx
แผนการเรียนรู้รายหน่วย 5 เรื่องพฤติกรรมของสียง.docxssuser7ea064
 
เอกสารประกอบการสอนเรื่องเสียง
เอกสารประกอบการสอนเรื่องเสียงเอกสารประกอบการสอนเรื่องเสียง
เอกสารประกอบการสอนเรื่องเสียงWijitta DevilTeacher
 
งานนำเสนอเสียง
งานนำเสนอเสียงงานนำเสนอเสียง
งานนำเสนอเสียงNawamin Wongchai
 
เครื่องดนตรีไทย
เครื่องดนตรีไทยเครื่องดนตรีไทย
เครื่องดนตรีไทยlove5710
 
12.เสียง
12.เสียง12.เสียง
12.เสียงKruanek007
 
12.เสียง
12.เสียง12.เสียง
12.เสียงKruanek007
 
เรื่องที่ 12 เสียง
เรื่องที่ 12  เสียงเรื่องที่ 12  เสียง
เรื่องที่ 12 เสียงthanakit553
 
ตำแหน่งการเกิดเสียง
ตำแหน่งการเกิดเสียง ตำแหน่งการเกิดเสียง
ตำแหน่งการเกิดเสียง Art Pb
 
ธรรมชาติของเสียงและมลพิษทางเสียง[สายอรุณ14.12.54]
ธรรมชาติของเสียงและมลพิษทางเสียง[สายอรุณ14.12.54]ธรรมชาติของเสียงและมลพิษทางเสียง[สายอรุณ14.12.54]
ธรรมชาติของเสียงและมลพิษทางเสียง[สายอรุณ14.12.54]wattumplavittayacom
 

Similar to Sound (20)

เสียงกับการได้ยิน
เสียงกับการได้ยินเสียงกับการได้ยิน
เสียงกับการได้ยิน
 
เรื่องที่12เสียง
เรื่องที่12เสียงเรื่องที่12เสียง
เรื่องที่12เสียง
 
ปรากฏการณ์คลื่น
ปรากฏการณ์คลื่นปรากฏการณ์คลื่น
ปรากฏการณ์คลื่น
 
แผนการเรียนรู้รายหน่วย 5 เรื่องพฤติกรรมของสียง.docx
แผนการเรียนรู้รายหน่วย 5  เรื่องพฤติกรรมของสียง.docxแผนการเรียนรู้รายหน่วย 5  เรื่องพฤติกรรมของสียง.docx
แผนการเรียนรู้รายหน่วย 5 เรื่องพฤติกรรมของสียง.docx
 
คลื่นกล
คลื่นกลคลื่นกล
คลื่นกล
 
เอกสารประกอบการสอนเรื่องเสียง
เอกสารประกอบการสอนเรื่องเสียงเอกสารประกอบการสอนเรื่องเสียง
เอกสารประกอบการสอนเรื่องเสียง
 
เครื่องดนตรีสากล
เครื่องดนตรีสากลเครื่องดนตรีสากล
เครื่องดนตรีสากล
 
เสียงในภาษาไทย
เสียงในภาษาไทยเสียงในภาษาไทย
เสียงในภาษาไทย
 
งานนำเสนอเสียง
งานนำเสนอเสียงงานนำเสนอเสียง
งานนำเสนอเสียง
 
เสียง
เสียงเสียง
เสียง
 
เครื่องดนตรีไทย
เครื่องดนตรีไทยเครื่องดนตรีไทย
เครื่องดนตรีไทย
 
ดนตรีอีสานเหนือ
ดนตรีอีสานเหนือดนตรีอีสานเหนือ
ดนตรีอีสานเหนือ
 
Music drama
Music dramaMusic drama
Music drama
 
12.เสียง
12.เสียง12.เสียง
12.เสียง
 
P12
P12P12
P12
 
12.เสียง
12.เสียง12.เสียง
12.เสียง
 
เรื่องที่ 12 เสียง
เรื่องที่ 12  เสียงเรื่องที่ 12  เสียง
เรื่องที่ 12 เสียง
 
Music
MusicMusic
Music
 
ตำแหน่งการเกิดเสียง
ตำแหน่งการเกิดเสียง ตำแหน่งการเกิดเสียง
ตำแหน่งการเกิดเสียง
 
ธรรมชาติของเสียงและมลพิษทางเสียง[สายอรุณ14.12.54]
ธรรมชาติของเสียงและมลพิษทางเสียง[สายอรุณ14.12.54]ธรรมชาติของเสียงและมลพิษทางเสียง[สายอรุณ14.12.54]
ธรรมชาติของเสียงและมลพิษทางเสียง[สายอรุณ14.12.54]
 

More from Taweesak Poochai

ความพร้อมการเรียนทางไกล 1/63
ความพร้อมการเรียนทางไกล 1/63ความพร้อมการเรียนทางไกล 1/63
ความพร้อมการเรียนทางไกล 1/63Taweesak Poochai
 
โครงสร้างโลก
โครงสร้างโลกโครงสร้างโลก
โครงสร้างโลกTaweesak Poochai
 
การทดลองภูเขาไฟระเบิด
การทดลองภูเขาไฟระเบิดการทดลองภูเขาไฟระเบิด
การทดลองภูเขาไฟระเบิดTaweesak Poochai
 
เอกสารการสัมมนาวิชาการฯ ทิศทางการผลิตครูวิทยาศาสตร์
เอกสารการสัมมนาวิชาการฯ ทิศทางการผลิตครูวิทยาศาสตร์เอกสารการสัมมนาวิชาการฯ ทิศทางการผลิตครูวิทยาศาสตร์
เอกสารการสัมมนาวิชาการฯ ทิศทางการผลิตครูวิทยาศาสตร์Taweesak Poochai
 
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒Taweesak Poochai
 
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๑
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๑สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๑
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๑Taweesak Poochai
 
ถามตอบเชื้อเพลิงชีวภาพ
ถามตอบเชื้อเพลิงชีวภาพถามตอบเชื้อเพลิงชีวภาพ
ถามตอบเชื้อเพลิงชีวภาพTaweesak Poochai
 
เอกสารประกอบการบรรยาย
เอกสารประกอบการบรรยายเอกสารประกอบการบรรยาย
เอกสารประกอบการบรรยายTaweesak Poochai
 
สหวิทยาการของนาโนเทคโนโลยี
สหวิทยาการของนาโนเทคโนโลยีสหวิทยาการของนาโนเทคโนโลยี
สหวิทยาการของนาโนเทคโนโลยีTaweesak Poochai
 
คู่มือ การสำรวจความหลากหลายทางชีวภาพในพื้นที่ป่าอนุรักษ์
คู่มือ การสำรวจความหลากหลายทางชีวภาพในพื้นที่ป่าอนุรักษ์คู่มือ การสำรวจความหลากหลายทางชีวภาพในพื้นที่ป่าอนุรักษ์
คู่มือ การสำรวจความหลากหลายทางชีวภาพในพื้นที่ป่าอนุรักษ์Taweesak Poochai
 

More from Taweesak Poochai (20)

ความพร้อมการเรียนทางไกล 1/63
ความพร้อมการเรียนทางไกล 1/63ความพร้อมการเรียนทางไกล 1/63
ความพร้อมการเรียนทางไกล 1/63
 
โครงสร้างโลก
โครงสร้างโลกโครงสร้างโลก
โครงสร้างโลก
 
การทดลองภูเขาไฟระเบิด
การทดลองภูเขาไฟระเบิดการทดลองภูเขาไฟระเบิด
การทดลองภูเขาไฟระเบิด
 
เอกสารการสัมมนาวิชาการฯ ทิศทางการผลิตครูวิทยาศาสตร์
เอกสารการสัมมนาวิชาการฯ ทิศทางการผลิตครูวิทยาศาสตร์เอกสารการสัมมนาวิชาการฯ ทิศทางการผลิตครูวิทยาศาสตร์
เอกสารการสัมมนาวิชาการฯ ทิศทางการผลิตครูวิทยาศาสตร์
 
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
 
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๑
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๑สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๑
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๑
 
ถามตอบเชื้อเพลิงชีวภาพ
ถามตอบเชื้อเพลิงชีวภาพถามตอบเชื้อเพลิงชีวภาพ
ถามตอบเชื้อเพลิงชีวภาพ
 
เอกสารประกอบการบรรยาย
เอกสารประกอบการบรรยายเอกสารประกอบการบรรยาย
เอกสารประกอบการบรรยาย
 
สหวิทยาการของนาโนเทคโนโลยี
สหวิทยาการของนาโนเทคโนโลยีสหวิทยาการของนาโนเทคโนโลยี
สหวิทยาการของนาโนเทคโนโลยี
 
nano safety short
nano safety shortnano safety short
nano safety short
 
Nano safety-e-book
Nano safety-e-bookNano safety-e-book
Nano safety-e-book
 
Hydroelectric power
Hydroelectric powerHydroelectric power
Hydroelectric power
 
คู่มือ การสำรวจความหลากหลายทางชีวภาพในพื้นที่ป่าอนุรักษ์
คู่มือ การสำรวจความหลากหลายทางชีวภาพในพื้นที่ป่าอนุรักษ์คู่มือ การสำรวจความหลากหลายทางชีวภาพในพื้นที่ป่าอนุรักษ์
คู่มือ การสำรวจความหลากหลายทางชีวภาพในพื้นที่ป่าอนุรักษ์
 
Em wave
Em waveEm wave
Em wave
 
Nuclear
NuclearNuclear
Nuclear
 
Ictoutdoor2012
Ictoutdoor2012Ictoutdoor2012
Ictoutdoor2012
 
JfePresent
JfePresentJfePresent
JfePresent
 
JFEs
JFEsJFEs
JFEs
 
Sunny ars report
Sunny ars reportSunny ars report
Sunny ars report
 
Sci30203-Pressure
Sci30203-PressureSci30203-Pressure
Sci30203-Pressure
 

Sound

  • 1. สรุปความรู เรื่อง คลื่นเสียง การเกิดเสียง เสียงเกิดจากการสั่นของวัตถุ วัตถุที่มีการสั่นแลวทําใหเกิดเสียงเรียกวา แหลงกําเนิดเสียง สําหรับ มนุษยเสียงพูดเกิดจากการสั่นสะเทือนของสายเสียงซึ่งอยูภายในกลองเสียงบริเวณดานหนาของลําคอเรียกวา ลูกกระเดือก มนุษยสามารถควบคุมเสียงที่พูดพูดขึ้นโดยใชฟน ลิ้น ริมฝปาก ทําใหเกิดเสียงที่แตกตางกัน แต เสียงจะมีประโยชนอยางสมบูรณตองมีการไดยน ิ เสียงที่นักเรียนไดยินในชีวิต เสียงเดินทางจากแหลงกําเนิดมาถึงผูฟงไดอยางไร ประวันเกิดจากสั่นสะเทือนของ แหลงกําเนิดเสียงหรือไม การเดินทางของเสียง เมื่อเสียงเกิดจากสั่นสะเทือนของวัตถุ แสดงวาวัตถุไดรับพลังงาน พลังงานนี้ก็จะถูกถายโอนผาน อากาศมายังหูผูฟง ถาไมมีอากาศเปนตัวกลางในการถายโอนพลังงาน เราจะ ไมไดยินเสียงเลย เราสามารถทดสอบความจริงนี้ได โดยการทดลองใชกระดิ่งไฟฟาที่สง เสียงตลอดเวลาใสไวในครอบแกว แลวคอยๆสูบอากาศออก เราจะไดยินเสียง กระดิ่งไฟฟาคอยลงๆ จนในที่สุดจะไมไดยินเสียงกระดิ่งไฟฟาในครอบแกวอีก เลย เมื่อภายในครอบแกวเปนสุญญากาศ จากสถานะการณ ข า งต น สรุ ป ได ว า การเคลื่ อ นที่ ข องเสี ย งจากตั ว ก อ กํ า เนิ ด เสี ย ง ต อ งอาศั ย ตั ว กลางในการถ า ยโอนพลั ง งานการสั่ น ของตั ว สูบอากาศออก กอกําเนิดเสียงนั้นไปยังที่ตางๆ จะเห็นไดวา เสียงที่เราไดยินนี้ เปนพลังงานรูปหนึ่งและถือวาเปนคลื่นประเภทหนึ่งดวย และพิจารณา จากอากาศที่เปนตัวกลางนั้นการถายโอนพลังงานเสียง อนุภาคของตัวกลางคืออากาศจะมีการสั่นในลักษณะ อัดขยายสลับกันไป จึงถือไดวา เสียงเปนคลื่นตามยาว
  • 2. การเคลื่อนที่ของเสียงในตัวกลางหนึ่งๆ จะคงตัว เมื่ออุณหภูมิของตัวกลางคงตัว ดังแสดงในตาราง ตาราง อัตราเร็วของเสียงในตัวกลางตางๆที่อุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส ตัวกลาง อัตราเร็ว(เมตร/วินาที) แกสคารบอนไดออกไซด 272 อากาศ 346 จากตารางนี้ นั ก เรี ย นคิ ด ว า แกสไฮโดรเจน 1,339 เสียงเดินทางผานตัวกลางใด น้ํา 1,498 ไดเร็วที่สุดเมื่อเทียบระหวาง น้ําทะเล 1,531 ของแข็ง ของเหลว แกส แกว 4,540 อะลูมิเนียม 5,000 เหล็ก 5,200 คุณสมบัตของเสียง ิ เสียงเปนคลื่นชนิดหนึ่งที่เคลื่อนที่โดยอาศัยตัวกลาง ดังนั้นจึงมีคณสมบัติเหมือนคลืน คือ ุ ่ 1. การสะทอน 2. การหักเห 3. การแทรกสอด 4. การเลี้ยวเบน การสะทอนของเสียง เนื่องจากเสียงเปนพลังงานชนิดหนึ่ง เมื่อคลื่นเสียงเคลื่อนที่ไปกระทบสิ่งกีดขวาง จะทําใหเกิดการ สะทอนของเสียง และปจจัยที่มีผลตอการสะทอนของเสียง ไดแก 1. ลักษณะพื้นผิวที่คลื่นเสียงไปกระทบ ( ผิวเรียบและแข็ง สะทอนไดดี สวนผิวออนนุมเนื้อพรุน จะดูดซับเสียงไดดี 2. มุมตกกระทบกับระนาบสะทอนเสียง ( เสียงจะสะทอนไดดี เมื่อ มุมของเสียงสะทอนเทากับมุม ของเสียงตกกระทบ ) มนุษยและสัตว ไดอาศัยประโยชนจากการสะทอนของเสียง หลายอยางเชน การเดินเรือ การประมง หาความลึกของทองทะเล หาระดับของเรือดําน้ํา หาฝูงปลา โดยการสง คลื่นอัลตราโซนิกออกไป แลวรอรับฟงคลื่นที่สะทอน จากเครื่องรับ การสงคลื่นชนิดนี้เรียกวา โซนาร ( Sonar – Sound Navigation and โซนาร Ranging ) คางคาว เปนสัตวสายตาไมดี ใชหลักการสะทอนเสียง โดยสงและรับความถี่สูง อุตสาหกรรมใชในการตรวจสอบรอยราว
  • 3. ทางการแพทยใชตรวจสอบเนื้อเยื่อของอวัยวะตางๆ ใชในการสลายนิ่วในไต ใชทําลายเชื้อโรคบางชนิดใน อาหาร และน้ํา การหักเหของเสียง คลื่นเสียงเมื่อเดินทางผานตัวกลางที่มีความหนาแนนแตกตาง เสนตั้งฉาก กัน จะเกิ ด การเปลี่ ย นแปลงทิ ศ ทางความเร็ ว และความยาวคลื่ น แต อากาศ รอยตอระหวาง ความถี่คลื่นยังคงที่กลาวคือเมื่อเสียงเคลื่อนที่จากตัวกลางที่มีความ ตัวกลาง น้ํา หนาแนนนอย(อากาศ) เขาสูตัวกลางที่มีความหนาแนนมากกวา (น้ํา) เสียงจะหักเหออกจากเสนตั้งฉาก หลักการนี้ใชอธิบาย การเห็นฟาแลบ แตไมไดยินเสียงฟารอง เพราะเมื่อเกิด ฟาแลบ แมจะมีเสียงเกิดขึ้นแตเราไมไดยินเสียง ทั้งนี้เพราะอากาศใกลพื้นดินมีอุณหภูมิสูงกวาอากาศเบื้องบน ทําใหการเคลื่อนที่ของเสียงเคลื่อนที่ไดในอัตราที่ตางกัน คือ เคลื่อนที่ในอากาศที่มี อุณหภูมิสูงไดเร็วกวาใน อากาศที่มอุณหภูมิต่ํา ดังนั้น เสียงจึงเคลื่อนที่เบนขึ้นทีละนอยๆ จนขามหัวเราไป จึงทําใหไมไดยินเสียงฟารอง ี การแทรกสอดของเสียง การแทรกสอดของเสียงเปนปรากฏการณที่เกิดจากคลื่นเสียงที่มาจากแหลงกําเนิดเสียงตั้งแต 2 แหลงขึ้นไป รวมกัน จึงเกิดการแทรกสอดแบบเสริมกันและหักลางกัน ทําใหเกิดเสียงดัง และ เสียงคอย เสียงความถี่ f1 เสียงความถี่ f2 เสียงความถี่ f1 และ f2 รวมกัน เสริม เสริม เสริม เสริม หักลาง หักลาง หักลาง หักลาง เกิดการแทรกกัน (เสริม, หักลาง)
  • 4. ในกรณีที่เปนเสียงเสริมกัน ตําแหนงที่มีการเสริมกันจะมีเสียงดัง สวนตําแหนงที่แทรกสอดแลว หักลางกันจะมีเสียงคอย แตการเกิดปรากฏการณแทรกสอดเกิดจากแหลงกําเนิดเสียงที่มีความถี่ตางกัน ทําให เกิดเสียงดัง เสียงคอยเปนจังหวะๆ เรียกวา บีตส ( Beats ) ประโยชนจากการแทรกสอดและบีตสนี้ นํามาใช เทียบเครื่องดนตรี โดยมีเครื่องเทียบเสียงมาตรฐาน ใชหลักวาเมื่อความถี่เสียงเทากันจะไมเกิดบีตส ถายังมีบี ตสอยูแสดงวา ความถี่เสียงยังไมเทากัน ตองปรับจนเสียงทั้งสองมีความถี่เทากันจึงไมทําใหเกิดบีสต ถาเราตั้งลําโพงลักษณะเหมือนๆกัน 2 ตัว ใหหางกันระยะหนึ่ง ดังรูป แลวเดินในแนวขนานกับลําโพง ทั้งสองตามแนว AB A B การแทรกสอดของเสียง S1 S2 จากการเดินในแนว AB ดังกลาว เราจะรูสึกไดวา เสียงที่เราไดรับจะมีลักษณะดัง-คอย สลับกันไป การเลี้ยวเบนของเสียง นอกจากการหักเหของเสียงที่เกิดขึ้น เมื่อผานตัวกลางตางชนิดกันแลวยังมีการเลี้ยวเบนได การ เลี้ยวเบนของเสียงมักจะเกิดพรอมกับการสะทอนของเสียง เสียงที่เลี้ยวเบน จะไดยินคอยกวาเดิม เพราะ พลังงานของเสียงลดลง ในชีวิตประจําวันที่เราพบไดอยางเสมออยางหนึ่งคือการไดยินเสียงของผูอื่นไดโดยไมเห็นตัวผูพูด เชน ผูพูดอยูคนละดานของมุมตึก ปรากฏการณดังนี้ แสดงวาเสียงสามารถเลี้ยวเบนได การอธิบาย ปรากฏการณนี้สามารถจะกระทําไดโดยใชหลักการของฮอยเกนทอธิบายวา ทุกๆจุดบนหนาคลื่นสามารถทํา หนาที่เปนตนกําเนิดคลื่นอันใหมได ดังนันอนุภาคของอากาศที่ทําหนาที่สงผานคลื่นเสียงตรงมุมตึกยอมเกิด ้ การสั่น ทําหนาที่เหมือนตนกําเนิดเสียงใหม สงคลื่นเสียไปยังผูฟง ลําโพง ได เราสามารถทดลอง การเลี้ยวเบนของเสียงไดโดย ใหผูฟง ฟงเสียงลําโพงจากนอกหองดังรูป ที่ตําแหนง ก. ข. ค. ง. ผนังหอง ประตู ผนังหอง ผูฟงยอมไดยินเสียงลําโพง ที่อยูในหองไดทุกคน แสดงวาเสียง ก. ข. ค. ง. สามารถเลี้ยวเบนไดตามแบบของคลื่น การเลี้ยวเบนของเสียงจะเกิดไดดี เมื่อชองกวางที่ใหเสียงผานมีขนาดเทากับความยาวคลื่นของเสียง นั้น เนื่องจาก ชองกวางนั้นจะทําหนาที่เหมือนเปนแหลงกําเนิดเสียงขนาดนั้นไดพอดีนั่นเอง
  • 5. ปรากฏการณบางอยางของเสียง บีตส ( Beats ) เปนปรากฏการณที่คลื่นเสียงสองชุดซึ่งมีความถี่ใกลเคียงกัน แอมพลิจูดเทากันหรือไมก็ได เคลื่อนที่ ในตัวกลางเดียวกัน เกิดการแทรกสอดกันขึ้น ไดคลื่นเสียงลัพธซึ่งมีแอมพลิจูดไมคงที่ แปรเปลี่ยนตลอดเวลา ทําใหเกิดเสียงดัง-คอย เปนจังหวะสลับกันไป จํานวนครั้งของเสียงดัง ( หรือจํานวนครั้งของเสียงคอย ) ใน 1 วินาที เรียกวาความถี่บีตส ( fb ) เราสามารถ หาความถี่บีตสไดดังนี้ fb = f1 – f2 คือ จังหวะดังหรือคอยที่ไดยิน ตัวอยาง 1 เมื่อเคาะสอมเสียงสองอันมีความถี่ 450 และ 456 เฮริตซ จะทําใหเกิดจังหวะเสียงดังหรือ เสียงคอยใน 1 วินาที เทากับเทาไร วิธทํา ี fb = f1 – f2 = 450 – 456 = 6 = 6 Hz ( มีความถี่บีตส 6 เฮริตซ ) จะไดยินจังหวะเสียงดัง 6 ครั้ง ใน 1 วินาที หรือ ไดยินจังหวะเสียงคอย 6 ครั้ง ใน 1 วินาที คลื่นนิ่ง และ การสั่นพอง ( การกําทอน ) ( Standing Wave and Resonance ) คลื่นนิ่ง (Standing Wave ) คือ คลื่นรวมที่เกิดจากคลื่นสองขบวน ( ซึ่งเปนคลื่นจากแหลงกําเนิดอาพันธ ) เคลื่อนที่เขาหากันใน ตัวกลางเดียวกัน มีผลใหเกิดปฏิบัพและบัพสลับกันไป โดยตําแหนงของปฏิบัพ และบัพคงที่ ไมเปลี่ยน ตําแหนง ดังรูป หาความยาวคลื่นไดดังนี้ L L   ปลายตึง ทั้ง 2 ขาง 2  จากรูป = L จากรูป  = L 2  = 2L หาความยาวคลื่นไดดังนี้ L L  ปลายตึง ขางเดียว 3 4 4
  • 6. 3 จากรูป = L จากรูป = L 4 4  = 4L 4L  = 3 หาความยาวคลื่นไดดังนี้ L L ปลายอิสระทั้งสองขาง   2 การสั่นพอง (Resonance) คือปรากฏการณซึ่งเกิดขึ้นเมื่อพลังงานกระทบวัตถุ แลวทําใหวัตถุสั่นดวยความถี่ธรรมชาติซึ่งเทากับ ความถี่ของพลังงานที่ตกกระทบ ทําใหวัตถุนั้นเกิดการสั่นที่ฐานแรงที่สุด (เกิดเปนคลื่นนิ่ง) ซึ่งอาจทําให กระจกหรือแกวแตกได เมื่อบางคนรองเพลง ความถี่ธรรมชาติ เปนลักษณะเฉพาะตัวในการสั่นของวัตถุแตละชนิด ไมวาจะใหพลังงานเทาใด เมื่อคิดการสั่นในหนึ่ง หนวยเวลา แลวจะเทากันทุกครั้ง เชน การแกวงของลูกตุมที่จะพิจารณาจากรูปตอไปนี้ 4 ซม. 6 ซม. 8 ซม. 50 รอบ ในเวลา 80 วินาที 50 รอบ ในเวลา 80 วินาที 50 รอบ ในเวลา 80 วินาที ความถี่ = 0.625 Hz ความถี่ = 0.625 Hz ความถี่ = 0.625 Hz จากรูป ขางบน ไมวาจะดึงลูกตุมใหหางจากแนวดิ่งเทาใดก็ตาม ความถี่ในการแกวงของลูกตุมจะเทา เดิมทุกครั้งไป ซึ่งเปนความถี่ในการแกวงของลูกตุม อันเปนลักษณะเฉพาะตัวตามธรรมชาติของลูกตุม จึง เรียกความถี่ในการแกวงของลูกตุมนี้วา ความถี่ธรรมชาติของลูกตุม
  • 7. การสั่นพองของเสียง การใหพลังงานจากภายนอกกับวัตถุ ดวยความถี่ซึ่ง เทากับความถี่ธรรมชาติของวั ตถุ วัตถุ จ ะรับ พลังงานไดดีที่สุด พลังงานนี้จะสะสมอยูในวัตถุนั้น ทําใหเกิดการสั่นของวัตถุรุนแรงขึ้น สภาวะที่เกิดขึ้นนี้ เรียกวา การสั่นพอง (Resonance) ตัวอยาง การสรางเครื่องดนตรี เชน ซอ ไวโอลีน กีตาร จากรูปแผนไมที่ขึงสายเอ็น เมื่อดีดสายเอ็นจะทําใหเกิดเสียงในระดับหนึ่ง เมื่อ สรางกระปอง หรือกลองไม กลองโลหะ ภายในกลวง วางไวดานลาง จะทําใหเกิดเสียงดังขึ้น กวาเดิม ปรากฏการณนี้เปนการทําใหเกิดการสั่นพองของเสียง เกิดขึ้นภายในกระปอง โมเลกุลของอากาศ ไดรับพลังงานจากภายนอก เก็บสะสมไว ทําใหเกิดการสั่นที่รุนแรงขึ้น จึงทําใหเกิดเสียงที่ดังมากกวาเดิม (เกิด คลื่นนิ่ง) ปรากฏการณดอปเปลอร (Doppler Effect) คือปรากฏการณที่ผูสังเกตไดยินเสียงมีความถี่เปลี่ยนไปจากความถี่เดิม อันอาจเนื่องมาจากการ เคลื่อนที่ของผูสังเกตทําใหความเร็วของเสียงมาถึงผูสังเกตเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม และหรือเนื่องจากการ เคลื่อนที่ของแหลงกําเนิดเสียง ทําใหความยาวคลื่นที่ผูสังเกตไดรับผิดไปจากเดิม จึงมีผลใหผูสังเกตไดยิน เสียงแหลม หรือทุมมากกวาความจริง (ความถี่สูงเสียงแหลม , ความถี่ต่ําเสียงทุม) กําหนดให v = ความเร็วเสียงในอากาศ vO = ความเร็วของผูสังเกต vS = ความเร็วของแหลงกําเนิด fO = ความถี่ที่ผูสังเกตไดยิน fS = ความถี่เสียงของแหลงกําเนิด  = ความยาวคลื่นเสียงในอากาศ v = ความเร็วสัมพัทธ พิจารณาจากรูป เกี่ยวกับ การเกิดปรากฏการณดอปเปลอร เมื่อตัวกลางอยูกับที่ ( อากาศ ) จากรูป 1 1 Source ( แหลงกําเนิดเสียง ) อยูกับที่ v
  • 8. ผูสังเกต ( Observe ) อยูกับที่ดวย จะไดวา ความถี่ที่ผูสังเกตไดยิน = ความถี่ของ Source f O = fS จากรูป 2 และ 3 2 v Source ( แหลงกําเนิดเสียง ) อยูกับที่ vO ผูสังเกต ( Observe ) เคลื่อนที่ 1. จากรูป 2 ผูสังเกต ( Observe ) เคลื่อนที่ เขาหา จะทําใหผูสังเกต ไดยนเสียงมีความถี่เพิ่มขึ้น ิ การเคลื่อนที่ในลักษณะนี้ จะมีการเคลื่อนที่สัมพัทธระหวาง ความเร็วเสียงในอากาศ แหลงกําเนิดเสียง และ ผูสังเกต ดังนั้น ให v คือ ความเร็วสัมพัทธระหวาง ความเร็วเสียงกับแหลงกําเนิด หรือ ความเร็วสัมพัทธระหวาง ความเร็วเสียงกับผูสังเกต พิจารณาความเร็วเสียงกับความเร็วแหลงกําเนิด จะได ความเร็วสัมพัทธระหวาง ความเร็วเสียงกับความเร็วแหลงกําเนิด ดังนี้ คือ v = v  vS ถา v = v + vS แสดงวา ความเร็วเสียง และ แหลงกําเนิดเสียง เคลื่อนที่สวนทางกัน v = v - vS แสดงวา ความเร็วเสียง และ แหลงกําเนิดเสียง เคลื่อนที่ไปทางเดียวกัน พิจารณาความเร็วเสียงกับความเร็วของผูสังเกต จะได ความเร็วสัมพัทธระหวาง ความเร็วเสียงกับความเร็วของผูสังเกต ดังนี้ คือ v = v  vO ถา v = v + vO แสดงวา ความเร็วเสียง และ ผูสังเกต เคลื่อนที่สวนทางกัน v = v – vO แสดงวา ความเร็วเสียง และ ผูสังเกต เคลื่อนที่ไปทางเดียวกัน จาก v = f จะได v = f จากรูป 2 พิจารณาที่แหลงกําเนิดเสียง ได v  vS = fS S ; เมื่อแหลงกําเนิดเสียงอยูกบที่ vS = 0 ั แทนคา vS = 0 ได v = fS S ………………… ( 1 ) จากรูป 2 พิจารณาที่ผูสังเกต ได v  vO = fO O เมื่อ v กับ vO เคลื่อนที่สวนทางกันจะได v + vO = fO O ………………… ( 2 )
  • 9. v fS  S (1)/(2) = v  vO fO  O เมื่อ S = O เพราะความยาวคลื่น อยูระหวางผูสังเกตและแหลงกําเนิดทีเ่ ดียวกัน จึงเทากัน v fS = v  vO fO v  vO fO = ( ) fS v 2. จากรูป 3 ผูสงเกต ( Observe ) เคลื่อนที่ หนี จะทําใหผู ั 3 สังเกตไดยินเสียงมีความถี่ตาลง่ํ v จาก v = f vO จะได v = f จากรูป 3 พิจารณาที่แหลงกําเนิดเสียง ได v  vS = fS S ; เมื่อแหลงกําเนิดเสียงอยูกับที่ vS = 0 แทนคา vS = 0 ได v = fS S ………………… ( 1 ) จากรูป 3 พิจารณาที่ผูสงเกต ได ั v  vO = fO O เมื่อ v กับ vO เคลื่อนที่ไปทางเดียวกัน จะได v - vO = fO O ………………… ( 2 ) v fS  S (1)/(2) = v  vO fO  O เมื่อ S = O เพราะความยาวคลื่น อยูระหวางผูสังเกตและแหลงกําเนิดทีเ่ ดียวกัน จึงเทากัน v fS = v  vO fO v  vO fO = ( ) fS v จากรูป 4 และ 5 Source (แหลงกําเนิดเสียง ) เคลื่อนที่ ผูสังเกต ( Observe ) อยูกับที่ 4 v 1. จากรูป 4 Source ( แหลงกําเนิดเสียง ) เคลื่อนที่ เขาหา จะทํา ใหผูสงเกตไดยินเสียงมีความถี่เพิ่มขึ้น ั vS
  • 10. จาก v = f จะได v = f จากรูป 4 พิจารณาที่แหลงกําเนิดเสียง ได v  vS = fS S เมื่อ v กับ vO เคลื่อนที่ไปทางเดียวกัน จะได v - vS = fS S ………………… ( 1 ) จากรูป 4 พิจารณาที่ผูสังเกต ได v  vO = fO O ; เมื่อผูสังเกตอยูกับที่ vO = 0 แทนคา vO = 0 จะได v = fO O ………………… ( 2 ) v - vS fS  S (1)/(2) = v fO  O เมื่อ S = O เพราะความยาวคลื่น อยูระหวางผูสังเกตและแหลงกําเนิดทีเ่ ดียวกัน จึงเทากัน v - vS fS = v fO v fO = ( ) fS v - vS 2. จากรูป 5 Source ( แหลงกําเนิดเสียง ) เคลื่อนที่ หนี จะ 5 ทําใหผูสงเกตไดยนเสียงมีความถี่ต่ําลง ั ิ v จาก v = f vS จะได v = f จากรูป 5 พิจารณาที่แหลงกําเนิดเสียง ได v  vS = fS S เมื่อ v กับ vO เคลื่อนที่สวนกัน จะได v + vS = fS S ………………… ( 1 ) จากรูป 4 พิจารณาที่ผูสงเกต ได ั v  vO = fO O ; เมื่อผูสังเกตอยูกับที่ vO = 0 แทนคา vO = 0 จะได v = fO O ………………… ( 2 ) v  vS fS  S (1)/(2) = v fO  O เมื่อ S = O เพราะความยาวคลื่น อยูระหวางผูสังเกตและแหลงกําเนิดทีเ่ ดียวกัน จึงเทากัน v  vS fS = v fO
  • 11. v fO = ( ) fS v  vS ดังนั้นเราสามารถสรุป สูตร ของปรากฏการณดอปเปลอร เมื่อ ตัวกลางอยูนิ่ง ( อากาศ )ไดดังนี้ จากรูป 6 สรุปสูตรไดดังนี้ 6  v  vO  v fO =   v  v  fS   S  vO vO v vS S ผูสังเกตเคลื่อนที่เขา แทน vO ดวย ( + ) ผูสังเกตเคลื่อนที่หนี แทน vO ดวย ( - ) Source ( แหลงกําเนิด ) เคลื่อนที่เขา แทน vO ดวย ( - ) Source ( แหลงกําเนิด ) เคลื่อนที่หนี แทน vO ดวย ( + ) ตัวอยาง ชายคนหนึ่งวิ่งเขาหาแหลงกําเนิดเสียงดวยความเร็ว 10 เมตรตอวินาที ถาเสียงนั้นถูกปลอยออกจาก แหลงกําเนิดเสียงที่หยุดนิ่ง และมีความถี่ 480 Hz ขณะนั้นความเร็วเสียงในอากาศ 300 Hz ชายผูนั้นจะไดยิน เสียงความถี่เทาใด v  v  vO  vO วิธีทํา จาก fO =   vv   fS  S  เมื่อ v = ความเร็วเสียงในอากาศ = 300 m/s vO = ความเร็วของผูสังเกต = 10 m/s เคลื่อนที่เขาหา ( + ) vS = ความเร็วของแหลงกําเนิด = 0 m/s fO = ความถี่ที่ผูสังเกตไดยิน = ? fS = ความถี่เสียงของแหลงกําเนิด = 480 Hz จะได fO =  v  vO  f   S  v  แทนคา fO =  300  10  480 = 496 Hz    300 
  • 12. ตอบ ชายผูนั้นจะไดยินเสียงความถี่เทากับ 496 เฮิรตซ คลื่นกระแทก ( Shock Wave ) คือ ปรากฏการณที่ผูสังเกตที่หยุดนิ่งไดยนเสียงจากแหลงกําเนิดเสียง ( Source ) มีความเร็วมากกวา ิ ความเร็วของเสียง แสดงลักษณะของคลื่นไดดังรูป หนาคลื่นกระแทก A B  หนาคลื่นกระแทก C จากรูป แหลงกําเนิดเสียง ( Source ) เคลื่อนจาก A  B ใชเวลา t คลื่นเสียง เคลื่อนจาก A  Cใชเวลา t อันเดียวกัน AC AC จะได sin = = t = v AB AB vS t v sin = vS เมื่อ v = ความเร็วคลื่นเสียง , vS = ความเร็วของแหลงกําเนิด ,  = ครึ่งหนึ่งของมุมที่ปลาย กรวย Mach number คือเลขที่ใหทราบความเร็วของแหลงกําเนิดเสียงเปนกี่เทาของความเร็วคลื่นเสียง หาคา Mach number ไดจาก อัตราสวนระหวาง อัตราเร็วของแหลงกําเนิดกับอัตราเร็วเสียง
  • 13. vS 1 Mach number = = v sin ตัวอยาง เครื่องบิน มีความเร็ว 2.5 มัค จะมีอัตราเร็วเทากับเทาไร ถาอัตราเร็วเสียงเทากับ 340 เมตรตอวินาที วิธีทํา vS v Mach number = แทนคา 1.25 = S v 340 VS = ( 2.5 )( 340 ) = 850 เมตรตอวินาที เครื่องบิน มีความเร็ว 1.25 มัค จะมีอัตราเร็วเทากับ 850 เมตรตอวินาที ความเขมของเสียงและระดับความเขมของเสียง แหลงกําเนิดที่มีชวงกวางของการสั่น ( amplitude ) กวางมาก จะเกิดเสียงดังกวาเสียงที่มี amplitude นอย ในทางวิทยาศาสตร เรียกความดังของเสียงวา ความเขมของเสียง การวัดความเขมของเสียงวัดไดจาก พลังงานของเสียงที่ตกตั้งฉากบน 1 หนวยพื้นที่ใน 1 หนวยเวลา มีหนวยเปนวัตตตอตารางเมตร ( Watt/m2 ) และหาไดจากสมการดังตอไปนี้ เมื่อ I คือ ความเขมของเสียงที่จุดใดจุดหนึ่ง ( Watt/m2 ) P คือ กําลังของเสียงจากแหลงกําเนิด ( Watt ) R A R คือ ระยะระหวางแหลงกําเนิดเสียงกับจุดที่พิจารณา ( m ) A คือ พื้นที่ของเสียงที่ตกตั้งฉากกับแหลงกําเนิด S S คือ จุดกําเนิดคลื่นเสียงที่มีหนาคลื่นเปนรูปทรงกลม  พื้นที่ ๆ เสียงตกตั้งฉากก็คอ พื้นที่ผิวทรงกลม ซึ่งมีพื้นที่ = 4R2 ื W P P I = = = tA A 4 R 2 1  I  R2 ความเขมเสียงสูงสุดที่มนุษยไดยิน ( เสียงดัง ) 1 watt / m2 ความเขมเสียงต่ําสุดที่มนุษยไดยิน ( เสียงเบา ) 10- 12 watt/m2 ตัวอยาง ชายคนหนึ่งขณะอยูหางจากแหลงกําเนิด 3 เมตร จะไดยินเสียงมีความเขม 10- 8 watt / m2 แหลงกําเนิดเสียงมีกําลังเสียงกี่วัตต P วิธีทํา จาก I =  P = 4R2 ( I ) 4 R 2
  • 14. แทนคา P = 4(3 )2 ( 10- 8 ) = 36x10- 8  วัตต ตอบ แหลงกําเนิดเสียงมีกําลังเสียงเทากับ 36x10- 8  วัตต เมื่อหูไมสามารถใชเปนมาตรฐานในการวัดความเขมของเสียงได จึงมีการวัดความเขมของเสียงดัง สมการและตัวอยางขางตน และเพื่อเปนเกียรติแก อเลกซานเดอร เกรแฮม เบล จึงวัดความดังของเสียงเปนระดับความเขมของ เสียงและมีหนวยเรียกวา เบล แตเนื่องจากเบลเปนหนวยที่ใหญเกินไป ไมสามารถบอกความละเอียดที่จะอยก คาความดังของเสียงตางๆได จึงแบงเปนหนวยยอยลงไป เรียกวา เดซิเบล ( dB ) 1 เบล = 10 เดซิเบล ตัวเลขความดัง 1 เดซิเบล จะดังกวา 0 เดซิเบล = 10 เทา ตัวเลขความดัง 2 เดซิเบล จะดังกวา 0 เดซิเบล = 100 เทา มนุษยสามารถไดยินเสียงที่มีความดังที่ระดับความเขมของเสียงตั้งแต 0 – 120 เดซิเบล เสียงที่ดังมาก เกินไปอาจทําใหหูหนวกได เชน เสียงฟาผาใกลๆตัว ที่มีคาความดังเกิน 120 dB เปนตน เสียงที่มีความดังไม มากแตไดยินเปนเวลานานหลายชั่วโมงก็อาจเปนอันตรายได เชน เสียงเครื่องจักรในโรงงานอุตสาหกรรม ( มลภาวะทางเสียง ) องคการอนามัยโลกจึงกําหนดวาเสียงที่ปลอดภัยตองมีความเขมไมเกิน 85 dB เมื่อตองได ยินติดตอกันวันละ 8 ชั่วโมงขึ้นไป เสียงที่ดังไมถึงขั้นเปนอันตรายกับหู แตอาจมีผลกระทบทางดานจิตใจได เชน ทําใหเกิดความเครียด ไมมีสมาธิ เปนตน เราสามารถหาระดับความเขมของเสียง ไดดังนี้ เมื่อ  คือ ระดับความเขมของเสียงที่จุดพิจารณา ( dB , เดซิเบล ) I คือ ความเขมของเสียงขณะใดขณะหนึ่งที่จุดพิจารณา ( watt/m2 ) I0 คือ ความเขมของเสียงต่ําสุดที่มนุษยไดยิน = 10- 12 watt/m2 I  = 10 log I0 ตัวอยาง หนาตางแหงหนึ่ง มีคลื่นเสียงผานวัดระดับความเขมของเสียงได 80 dB จงหาวา ขณะนั้นมีความเขม ของเสียงกี่วัตตตอตารางเมตร I วิธีทํา จาก  = 10 log I0
  • 15. I แทนคา 80 = 10 log 10 - 12 80 = 10 ( log I – log 10-12 ) 80 = 10 ( log I – (-12)log 10 ) 80 = log I + 12 10 8 – 12 = log I -4 = log I 10- 4 = I I = 10- 4 watt/m2 ตอบ คลื่นเสียงขณะที่ผานหนาตางมีความเขมของเสียงเทากับ 10- 4 วัตตตอตารางเมตร หูกับการรับรู หูเปนอวัยวะสําคัญในการรับเสียง แบงออกเปน 3 สวนคือ 1 ) หูสวนนอก ( external ear ) ประกอบดวยใบหู รูหูหรือชองหู จนถึงแกวหู ทําหนาที่รับเสียงจาก ภายนอก คลื่นเสียงเดินทางไปทางรูหู โดยมีชองหูทาหนาที่รวมเสียงไปสูแกวหู ํ 2 ) หูสวนกลาง ( middle ear ) อยูถัดจากแกวหูเขาไป มีลักษณะเปนโพรงอากาศ ภายในมีกระดูก 3 ชิ้น ไดแกกระดูกคอน อยูชิดแนบกับแกวหู กระดูกโกลนมีฐานวางปดชองที่ตอไปยังหูชั้นใน และกระดูกทั่ง ทําหนาที่สงตอแรงสั่นสะเทือนของเสียงไปยังหูสวนใน และหูสวนกลาง นอกจากนี้ยังทําหนาที่ปรับความดัน อากาศภายในใหเทากับความดันอากาศภายนอก โดยอาศัยทอที่ติดตอกับโพรงอากาศ หากความดันไมเทากัน จะทําใหหูอื้อ ไดยินเสียงไมชัดเจน 3 ) หูสวนใน ( inner ear ) ประกอบดวยสวนสําคัญ 2 สวน สวนแรก คือ คอเคลีย (Cochlea) เปนทอขดคลายรูปหอยโขง ภายในมีของเหลว มีเซลลรับ ความสั่นสะเทือนของของเหลวภายในคอเคลีย ทําหนาที่รับคลื่นเสียง และแปลงเปนคลื่นไฟฟาไปตาม ประสาทไดยินไปยังสมอง เพื่อรับรูการไดยินและแปลความหมายโดยสมอง สวนที่สอง คือ ทอครึ่งวงกลม 3 ทอ ตั้งฉากซึ่งกันและกัน ทําหนาที่รับการทรงตัวของ รางกายและการเคลื่อนไหวของศรีษะ ใบห ทอครึ่งวงกลม เสนประสาทหู กระดูกคอน เสียง คอเคลีย แกวหู ทอยูสเตเชียนทิวป