SlideShare a Scribd company logo
1 of 14
Download to read offline
เราทราบมาแล้วว่า เมื่อวัตถุเคลื่อนที่จะมีโมเมนตัม เมื่อ
วัตถุเปลี่ยนแปลงความเร็ว ก็จะทาให้โมเมนตัมของวัตถุ
เปลี่ยนแปลงไปด้วย ถ้าวัตถุเคลื่อนที่จากหยุดนิ่ง ถ้าเราออก
แรงกระทามาก วัตถุจะเคลือนที่ด้วยความเร็วมาก แต่ถ้าออก
                          ่
แรงกระทาน้อย วัตถุก็จะเคลื่อนที่ด้วยความเร็วน้อยด้วย
เช่นกัน พิจารณาจากรูปต่อไปนี้
                                           
                u                 
                                            v
         F                         F
                 m                         m

                       ใช้เวลาเท่ากับ t
                           
                 u                 
                                              v
         F                          F
                  m                           m

                        ใช้เวลาเท่ากับ t

                                                         
      ออกแรง F กระทาต่อมวล m ซึ่งเคลื่อนที่ด้วยความเร็ว   u
                                          
 ทาให้วัตถุ m มีความเร็วเปลี่ยนแปลงไปเป็น v
                                             
พิจารณา โมเมนตัมของวัตถุก่อนถูกแรงกระทา P1 = mu
                                             
        โมเมนตัมของวัตถุหลังถูกแรงกระทา P2 = mv
                          
              u                  
                                          v
      F                           F
               m                          m

                      ใช้เวลาเท่ากับ t
จากกฎการเคลื่อนที่ข้อที่ 2 ของนิวตัน
                      
                F  ma
                     
                 v u
            จาก a 
                     t
                    
       จะได้ F  m (v  u )
                     t
                        
                   u               
                                             v
           F                        F
                    m                        m

                        ใช้เวลาเท่ากับ t
                
             mv  mu
เพราะฉะนั้น F 
                                             
                               ให้ P  mv  mu
                  t
                              เมื่อ P แทน การเปลี่ยนแปลงโมเมนตัม
จะได้ว่า
        
     P                        
    F    ...( 2)         เมื่อ F คือ แรงลัพธ์ที่กระทาต่อวัตถุ มีค่าเท่ากับอัตรา
       t               การเปลี่ยนแปลงโมเมนตัมของวัตถุขณะนั้น
ตัวอย่าง 1 เครื่องยนต์ของรถที่มีมวล 1.5 ตัน จะทาให้แรงที่พื้นกระทาต่อล้อมีค่า
  เท่าใด เมื่อทาให้รถเคลื่อนที่จากหยุดนิ่งไปในแนวตรงจนมีความเร็ว 72 กิโลเมตร
  ต่อชั่วโมง ในเวลา 10 วินาที
              วิธีทา       เราสามารถแรงที่พื้นกระทาต่อล้อได้จาก
                        สมการ (2) ดังนี้         
                                       P
        v = 72 km/h                  F     ...( 2)
                                         t
         v = 20 m/s                      
                                      mv  mu   
                                    F
m = 1.5 T                                  t
                                          
                                         (v  u )
                                    F m
                                            t
ตัวอย่าง 1 เครื่องยนต์ของรถที่มีมวล 1.5 ตัน จะทาให้แรงที่พื้นกระทาต่อล้อมีค่า
  เท่าใด เมื่อทาให้รถเคลื่อนที่จากหยุดนิ่งไปในแนวตรงจนมีความเร็ว 72 กิโลเมตร
  ต่อชั่วโมง ในเวลา 10 วินาที                   
                                       (v  u )
      วิธีทา (ต่อ)               F m
                                          t
        v = 72 km/h                          (20  0)
                                 F  1,500 
         v = 20 m/s                              10
                                            20
m = 1.5 T = 1,500 kg             F  1,500 
                                             10
ตัวอย่าง 1 เครื่องยนต์ของรถที่มีมวล 1.5 ตัน จะทาให้แรงที่พื้นกระทาต่อล้อมีค่า
  เท่าใด เมื่อทาให้รถเคลื่อนที่จากหยุดนิ่งไปในแนวตรงจนมีความเร็ว 72 กิโลเมตร
  ต่อชั่วโมง ในเวลา 10 วินาที
      วิธีทา (ต่อ)                         20
                                F  1,500 
                                            10
        v = 72 km/h             
                                F  1,500  2
         v = 20 m/s             
                                F  3,000 N
m = 1.5 T = 1,500 kg

             ตอบ แรงที่พื้นกระทาต่อล้อมีค่า 3,000 นิวตัน
+
คาถาม 1
       เครื่องยนต์ของรถทีมีมวล 2.5 ตัน จะทาให้แรงที่พื้นกระทาต่อล้อมี
                         ่
ค่าเท่าใด เมื่อทาให้รถเคลื่อนที่จากหยุดนิ่งไปในแนวตรงจนมีความเร็ว
108 กิโลเมตรต่อชั่วโมง ในเวลา 15 วินาที

            ลองหาคาตอบดูนะครับ                             -
คาตอบ ข้อ 1
       แรงทีพื้นกระทาต่อล้อมีค่า 5,000 นิวตัน
            ่

       ตอบถูกใช่ไหมครับ เก่งมากเลย!



                                      ตอบผิด ลองดูคาเฉลยนะครับ
คาถาม 1 เครื่องยนต์ของรถที่มีมวล 2.5 ตัน จะทาให้แรงที่พื้นกระทาต่อล้อมีค่า
 เท่าใด เมื่อทาให้รถเคลื่อนที่จากหยุดนิ่งไปในแนวตรงจนมีความเร็ว 108
 กิโลเมตรต่อชั่วโมง ในเวลา 15 วินาที
             วิธีทา       เราสามารถแรงที่พื้นกระทาต่อล้อได้จาก
                       สมการ (2) ดังนี้         
                                      P
        v = 108 km/h                F     ...( 2)
                                        t
         v = 30 m/s                     
                                     mv  mu   
                                   F
m = 2.5 T = 2,500 kg                      t
                                         
                                        (v  u )
                                   F m
                                           t
คาถาม 1 เครื่องยนต์ของรถที่มีมวล 2.5 ตัน จะทาให้แรงที่พื้นกระทาต่อล้อมีค่า
 เท่าใด เมื่อทาให้รถเคลื่อนที่จากหยุดนิ่งไปในแนวตรงจนมีความเร็ว 108
 กิโลเมตรต่อชั่วโมง ในเวลา 15 วินาที           
                                      (v  u )
      วิธีทา (ต่อ)              F m
                                         t
        v = 108 km/h                         (30  0)
                                F  2,500 
         v = 30 m/s                             15
                                            30
m = 2.5 T = 2,500 kg            F  2,500 
                                            15
คาถาม 1 เครื่องยนต์ของรถที่มีมวล 1.5 ตัน จะทาให้แรงที่พื้นกระทาต่อล้อมีค่า
 เท่าใด เมื่อทาให้รถเคลื่อนที่จากหยุดนิ่งไปในแนวตรงจนมีความเร็ว 72 กิโลเมตร
 ต่อชั่วโมง ในเวลา 10 วินาที
      วิธีทา (ต่อ)                        30
                               F  2,500 
                                           15
        v = 108 km/h           
                               F  2,500  2
         v = 30 m/s            
                               F  5,000 N
m = 2.5 T = 2,500 kg

             ตอบ แรงที่พื้นกระทาต่อล้อมีค่า 5,000 นิวตัน
หนังสือสารอ้างอิง

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติม
  ฟิสิกส์ เล่ม 2 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4-6. โรงพิมพ์คุรุสภา : กรุงเทพ, 2554.

More Related Content

What's hot

เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงานเอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงานWijitta DevilTeacher
 
02แบบฝึกพลังงาน
02แบบฝึกพลังงาน02แบบฝึกพลังงาน
02แบบฝึกพลังงานPhanuwat Somvongs
 
เอกสารประกอบ เรื่อง สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
เอกสารประกอบ เรื่อง สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น เอกสารประกอบ เรื่อง สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
เอกสารประกอบ เรื่อง สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น Wijitta DevilTeacher
 
06แบบฝึกเครื่องกล
06แบบฝึกเครื่องกล06แบบฝึกเครื่องกล
06แบบฝึกเครื่องกลPhanuwat Somvongs
 
ใบงานเรื่องงาน และพลังงาน
ใบงานเรื่องงาน และพลังงานใบงานเรื่องงาน และพลังงาน
ใบงานเรื่องงาน และพลังงานjirupi
 
การบอกตำแหน่งของวัตถุ
การบอกตำแหน่งของวัตถุการบอกตำแหน่งของวัตถุ
การบอกตำแหน่งของวัตถุMaMuiiApinya
 
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันwiriya kosit
 
แผนการสอนงานและพลังงาน
แผนการสอนงานและพลังงานแผนการสอนงานและพลังงาน
แผนการสอนงานและพลังงานWeerachat Martluplao
 
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชนเอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชนWijitta DevilTeacher
 
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนAแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนkrupornpana55
 
แบบฝึกหัดเสริม สมดุลกล.docx
แบบฝึกหัดเสริม สมดุลกล.docxแบบฝึกหัดเสริม สมดุลกล.docx
แบบฝึกหัดเสริม สมดุลกล.docxNing Thanyaphon
 
แบบทดสอบวิชาวิทยาศาสตร์ 5 ภาคเรียน 1
แบบทดสอบวิชาวิทยาศาสตร์ 5  ภาคเรียน 1แบบทดสอบวิชาวิทยาศาสตร์ 5  ภาคเรียน 1
แบบทดสอบวิชาวิทยาศาสตร์ 5 ภาคเรียน 1dnavaroj
 
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์Thepsatri Rajabhat University
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงานแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงานdnavaroj
 

What's hot (20)

เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงานเอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
 
อัตราเร็ว (Speed)
อัตราเร็ว (Speed)อัตราเร็ว (Speed)
อัตราเร็ว (Speed)
 
พลังงาน (Energy)
พลังงาน (Energy)พลังงาน (Energy)
พลังงาน (Energy)
 
แรงเสียดทาน
แรงเสียดทานแรงเสียดทาน
แรงเสียดทาน
 
คลื่น
คลื่นคลื่น
คลื่น
 
02แบบฝึกพลังงาน
02แบบฝึกพลังงาน02แบบฝึกพลังงาน
02แบบฝึกพลังงาน
 
เอกสารประกอบ เรื่อง สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
เอกสารประกอบ เรื่อง สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น เอกสารประกอบ เรื่อง สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
เอกสารประกอบ เรื่อง สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
 
21 ใบความรู้ เรื่องแรงเสียดทาน
21 ใบความรู้  เรื่องแรงเสียดทาน21 ใบความรู้  เรื่องแรงเสียดทาน
21 ใบความรู้ เรื่องแรงเสียดทาน
 
06แบบฝึกเครื่องกล
06แบบฝึกเครื่องกล06แบบฝึกเครื่องกล
06แบบฝึกเครื่องกล
 
ใบงานเรื่องงาน และพลังงาน
ใบงานเรื่องงาน และพลังงานใบงานเรื่องงาน และพลังงาน
ใบงานเรื่องงาน และพลังงาน
 
การบอกตำแหน่งของวัตถุ
การบอกตำแหน่งของวัตถุการบอกตำแหน่งของวัตถุ
การบอกตำแหน่งของวัตถุ
 
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
แผนการสอนงานและพลังงาน
แผนการสอนงานและพลังงานแผนการสอนงานและพลังงาน
แผนการสอนงานและพลังงาน
 
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชนเอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
 
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนAแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
 
แบบฝึกหัดเสริม สมดุลกล.docx
แบบฝึกหัดเสริม สมดุลกล.docxแบบฝึกหัดเสริม สมดุลกล.docx
แบบฝึกหัดเสริม สมดุลกล.docx
 
แบบทดสอบวิชาวิทยาศาสตร์ 5 ภาคเรียน 1
แบบทดสอบวิชาวิทยาศาสตร์ 5  ภาคเรียน 1แบบทดสอบวิชาวิทยาศาสตร์ 5  ภาคเรียน 1
แบบทดสอบวิชาวิทยาศาสตร์ 5 ภาคเรียน 1
 
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงานแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
 
2.แบบฝึกหัดการเคลื่อนที่แนวตรง
2.แบบฝึกหัดการเคลื่อนที่แนวตรง2.แบบฝึกหัดการเคลื่อนที่แนวตรง
2.แบบฝึกหัดการเคลื่อนที่แนวตรง
 

More from นายสมพร เหล่าทองสาร โรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์ อำเภอนาดูน จังหวัดมหาสารคาม

More from นายสมพร เหล่าทองสาร โรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์ อำเภอนาดูน จังหวัดมหาสารคาม (20)

Test Blueprint ONET M3 2560
Test Blueprint ONET M3 2560Test Blueprint ONET M3 2560
Test Blueprint ONET M3 2560
 
Test Blueprint ONET M6 2559
Test Blueprint ONET M6 2559Test Blueprint ONET M6 2559
Test Blueprint ONET M6 2559
 
Test Blueprint ONET M3 2559
Test Blueprint ONET M3 2559 Test Blueprint ONET M3 2559
Test Blueprint ONET M3 2559
 
การใช้งานเวอร์เนียร์คาร์ลิปเปอร์
การใช้งานเวอร์เนียร์คาร์ลิปเปอร์การใช้งานเวอร์เนียร์คาร์ลิปเปอร์
การใช้งานเวอร์เนียร์คาร์ลิปเปอร์
 
เลขนัยสำคัญ (Significant figures)
เลขนัยสำคัญ (Significant figures)เลขนัยสำคัญ (Significant figures)
เลขนัยสำคัญ (Significant figures)
 
รายงานสรุปผลการปฏิบัติงาน 2/2558
รายงานสรุปผลการปฏิบัติงาน 2/2558รายงานสรุปผลการปฏิบัติงาน 2/2558
รายงานสรุปผลการปฏิบัติงาน 2/2558
 
รายงานสรุปการปฏิบัติงาน ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558
รายงานสรุปการปฏิบัติงาน ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558รายงานสรุปการปฏิบัติงาน ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558
รายงานสรุปการปฏิบัติงาน ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558
 
รายงานสรุปการปฏิบัติงาน
รายงานสรุปการปฏิบัติงานรายงานสรุปการปฏิบัติงาน
รายงานสรุปการปฏิบัติงาน
 
การเข้าร่วมกิจกรรม E2 : Budapest 2016
การเข้าร่วมกิจกรรม E2 : Budapest 2016การเข้าร่วมกิจกรรม E2 : Budapest 2016
การเข้าร่วมกิจกรรม E2 : Budapest 2016
 
การบันทึกผลการเรียนออนไลน์
การบันทึกผลการเรียนออนไลน์การบันทึกผลการเรียนออนไลน์
การบันทึกผลการเรียนออนไลน์
 
Pressure
PressurePressure
Pressure
 
ไข้เลือดออก (Dengue)
ไข้เลือดออก (Dengue)ไข้เลือดออก (Dengue)
ไข้เลือดออก (Dengue)
 
ความหนาแน่น (Density)
ความหนาแน่น (Density)ความหนาแน่น (Density)
ความหนาแน่น (Density)
 
การนำเสนอผลการติดตามโครงการยกระดับคุณภาพและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
การนำเสนอผลการติดตามโครงการยกระดับคุณภาพและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนการนำเสนอผลการติดตามโครงการยกระดับคุณภาพและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
การนำเสนอผลการติดตามโครงการยกระดับคุณภาพและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
 
สรุปแบบติดตามโครงการยกระดับคุณภาพและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
สรุปแบบติดตามโครงการยกระดับคุณภาพและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสรุปแบบติดตามโครงการยกระดับคุณภาพและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
สรุปแบบติดตามโครงการยกระดับคุณภาพและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
 
Courseoutlinephysicsm6t2p57
Courseoutlinephysicsm6t2p57Courseoutlinephysicsm6t2p57
Courseoutlinephysicsm6t2p57
 
Courseoutlinephysicsm4t2p57
Courseoutlinephysicsm4t2p57Courseoutlinephysicsm4t2p57
Courseoutlinephysicsm4t2p57
 
Aimphysicsm6t2p57
Aimphysicsm6t2p57Aimphysicsm6t2p57
Aimphysicsm6t2p57
 
Aimphysicsm4t2p57
Aimphysicsm4t2p57Aimphysicsm4t2p57
Aimphysicsm4t2p57
 
WHAT IS PISA 4
WHAT IS PISA 4WHAT IS PISA 4
WHAT IS PISA 4
 

แรงและการเปลี่ยนแปลงโมเมนตัม

  • 1.
  • 2. เราทราบมาแล้วว่า เมื่อวัตถุเคลื่อนที่จะมีโมเมนตัม เมื่อ วัตถุเปลี่ยนแปลงความเร็ว ก็จะทาให้โมเมนตัมของวัตถุ เปลี่ยนแปลงไปด้วย ถ้าวัตถุเคลื่อนที่จากหยุดนิ่ง ถ้าเราออก แรงกระทามาก วัตถุจะเคลือนที่ด้วยความเร็วมาก แต่ถ้าออก ่ แรงกระทาน้อย วัตถุก็จะเคลื่อนที่ด้วยความเร็วน้อยด้วย เช่นกัน พิจารณาจากรูปต่อไปนี้    u  v F F m m ใช้เวลาเท่ากับ t
  • 3.   u  v F F m m ใช้เวลาเท่ากับ t   ออกแรง F กระทาต่อมวล m ซึ่งเคลื่อนที่ด้วยความเร็ว u  ทาให้วัตถุ m มีความเร็วเปลี่ยนแปลงไปเป็น v   พิจารณา โมเมนตัมของวัตถุก่อนถูกแรงกระทา P1 = mu   โมเมนตัมของวัตถุหลังถูกแรงกระทา P2 = mv
  • 4.   u  v F F m m ใช้เวลาเท่ากับ t จากกฎการเคลื่อนที่ข้อที่ 2 ของนิวตัน   F  ma    v u จาก a  t    จะได้ F  m (v  u ) t
  • 5.   u  v F F m m ใช้เวลาเท่ากับ t   mv  mu เพราะฉะนั้น F    ให้ P  mv  mu t เมื่อ P แทน การเปลี่ยนแปลงโมเมนตัม จะได้ว่า   P  F ...( 2) เมื่อ F คือ แรงลัพธ์ที่กระทาต่อวัตถุ มีค่าเท่ากับอัตรา t การเปลี่ยนแปลงโมเมนตัมของวัตถุขณะนั้น
  • 6. ตัวอย่าง 1 เครื่องยนต์ของรถที่มีมวล 1.5 ตัน จะทาให้แรงที่พื้นกระทาต่อล้อมีค่า เท่าใด เมื่อทาให้รถเคลื่อนที่จากหยุดนิ่งไปในแนวตรงจนมีความเร็ว 72 กิโลเมตร ต่อชั่วโมง ในเวลา 10 วินาที วิธีทา เราสามารถแรงที่พื้นกระทาต่อล้อได้จาก สมการ (2) ดังนี้   P v = 72 km/h F ...( 2) t v = 20 m/s   mv  mu  F m = 1.5 T t    (v  u ) F m t
  • 7. ตัวอย่าง 1 เครื่องยนต์ของรถที่มีมวล 1.5 ตัน จะทาให้แรงที่พื้นกระทาต่อล้อมีค่า เท่าใด เมื่อทาให้รถเคลื่อนที่จากหยุดนิ่งไปในแนวตรงจนมีความเร็ว 72 กิโลเมตร ต่อชั่วโมง ในเวลา 10 วินาที    (v  u ) วิธีทา (ต่อ) F m t v = 72 km/h  (20  0) F  1,500  v = 20 m/s 10  20 m = 1.5 T = 1,500 kg F  1,500  10
  • 8. ตัวอย่าง 1 เครื่องยนต์ของรถที่มีมวล 1.5 ตัน จะทาให้แรงที่พื้นกระทาต่อล้อมีค่า เท่าใด เมื่อทาให้รถเคลื่อนที่จากหยุดนิ่งไปในแนวตรงจนมีความเร็ว 72 กิโลเมตร ต่อชั่วโมง ในเวลา 10 วินาที วิธีทา (ต่อ)  20 F  1,500  10 v = 72 km/h  F  1,500  2 v = 20 m/s  F  3,000 N m = 1.5 T = 1,500 kg ตอบ แรงที่พื้นกระทาต่อล้อมีค่า 3,000 นิวตัน
  • 9. + คาถาม 1 เครื่องยนต์ของรถทีมีมวล 2.5 ตัน จะทาให้แรงที่พื้นกระทาต่อล้อมี ่ ค่าเท่าใด เมื่อทาให้รถเคลื่อนที่จากหยุดนิ่งไปในแนวตรงจนมีความเร็ว 108 กิโลเมตรต่อชั่วโมง ในเวลา 15 วินาที ลองหาคาตอบดูนะครับ -
  • 10. คาตอบ ข้อ 1 แรงทีพื้นกระทาต่อล้อมีค่า 5,000 นิวตัน ่ ตอบถูกใช่ไหมครับ เก่งมากเลย! ตอบผิด ลองดูคาเฉลยนะครับ
  • 11. คาถาม 1 เครื่องยนต์ของรถที่มีมวล 2.5 ตัน จะทาให้แรงที่พื้นกระทาต่อล้อมีค่า เท่าใด เมื่อทาให้รถเคลื่อนที่จากหยุดนิ่งไปในแนวตรงจนมีความเร็ว 108 กิโลเมตรต่อชั่วโมง ในเวลา 15 วินาที วิธีทา เราสามารถแรงที่พื้นกระทาต่อล้อได้จาก สมการ (2) ดังนี้   P v = 108 km/h F ...( 2) t v = 30 m/s   mv  mu  F m = 2.5 T = 2,500 kg t    (v  u ) F m t
  • 12. คาถาม 1 เครื่องยนต์ของรถที่มีมวล 2.5 ตัน จะทาให้แรงที่พื้นกระทาต่อล้อมีค่า เท่าใด เมื่อทาให้รถเคลื่อนที่จากหยุดนิ่งไปในแนวตรงจนมีความเร็ว 108 กิโลเมตรต่อชั่วโมง ในเวลา 15 วินาที    (v  u ) วิธีทา (ต่อ) F m t v = 108 km/h  (30  0) F  2,500  v = 30 m/s 15  30 m = 2.5 T = 2,500 kg F  2,500  15
  • 13. คาถาม 1 เครื่องยนต์ของรถที่มีมวล 1.5 ตัน จะทาให้แรงที่พื้นกระทาต่อล้อมีค่า เท่าใด เมื่อทาให้รถเคลื่อนที่จากหยุดนิ่งไปในแนวตรงจนมีความเร็ว 72 กิโลเมตร ต่อชั่วโมง ในเวลา 10 วินาที วิธีทา (ต่อ)  30 F  2,500  15 v = 108 km/h  F  2,500  2 v = 30 m/s  F  5,000 N m = 2.5 T = 2,500 kg ตอบ แรงที่พื้นกระทาต่อล้อมีค่า 5,000 นิวตัน
  • 14. หนังสือสารอ้างอิง สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติม ฟิสิกส์ เล่ม 2 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4-6. โรงพิมพ์คุรุสภา : กรุงเทพ, 2554.