SlideShare a Scribd company logo
1 of 7
Download to read offline
นายอภิสิทธิ์ ทองดี
รหัสประจาตัว 56030564
ตาแหน่งเกิดเสียง (place of articulation, point of articulation)
ชนิดของการออกเสียง
ฐานกรณ์ (articulator) นั้นแยกออกเป็นการออกเสียงแบบ ฐาน (passive articulator)
และ กรณ์ (active articulator) ตัวอย่างเช่น
 ใช้ริมฝีปากล่างเป็นกรณ์ (ส่วนเคลื่อนที่) อาจเคลื่อนไปสัมผัส ริมฝีปากบนซึ่งเป็นฐาน (ส่วน
ไม่เคลื่อนที่) เป็นการออกเสียงจากริมฝีปากคู่ (bilabial) เช่น เสียง [m]) หรือ
 ใช้ริมฝีปากล่างไปสัมผัสกับฟันบน (ฐาน) เป็นเสียงจากริมฝีปากล่าง-ฟันบน (labiodental)
เช่น เสียง [f])
การสัมผัสเพดานแข็งด้วยส่วนหน้าและส่วนหลังของลิ้น
 ใช้ส่วนหน้าสัมผัส เรียก เสียงปลายลิ้นม้วน (retroflex)
 ใช้ส่วนหลังลิ้นสัมผัส เรียก "เสียงจากหลังลิ้น-เพดานแข็ง" (dorsal-palatal) หรือ โดยทั่วไป
เรียกเพียง ตาลุชะ/เสียงจากเพดานแข็ง (palatal)
เสียงแบบกรณ์ มีทั้งหมด 5 เสียง คือ
1. เสียงพยัญชนะริมฝีปาก (labial consonant) เป็นเสียงจากริมฝีปากหรือโอษฐชะ
2. เสียงพยัญชนะโพรงปาก (coronal consonant) เป็นเสียงจากการใช้ส่วนปลายอ่อนตัวของลิ้น
3. เสียงพยัญชนะหลังลิ้น (dorsal consonant) เป็นเสียงจากการใช้ส่วนกลางหรือส่วนหลังของ
ลิ้น
4. เสียงพยัญชนะโคนลิ้น (radical consonant) เป็นเสียงจากการใช้โคนลิ้นและลิ้นปิดกล่องเสียง
(epiglottis)
5. เสียงพยัญชนะเส้นเสียง (laryngeal consonants) เป็นเสียงจากกล่องเสียง (larynx)
การออกเสียงเหล่านี้สามารถเปล่งแยกจากกัน หรือ สามารถออกเป็นเสียงผสม เรียก การออก
เสียงผสม (coarticulation)
การออกเสียงแบบฐานเป็นการออกเสียงที่ไม่มีการแบ่งแยกชัดเจน โดยตาแหน่งการออกเสียง
เสียงจากลิ้น-ริมฝีปากบน (linguolabial) และเสียงลิ้นระหว่างฟัน (interdental), เสียงจากลิ้นระหว่าง
ฟันและเสียงจากฟัน/ทันตชะ (dental), เสียงจากฟันและเสียงจากปุ่มเหงือก (alveolar), เสียงจากปุ่ม
เหงือกและเสียงจากเพดานแข็ง/ตาลุชะ (palatal), เสียงจากเพดานแข็งและเสียงจากเพดานอ่อน
(velar), เสียงจากเพดานอ่อนและเสียงจากลิ้นไก่ (uvular) อาจเชื่อมโยงเหลื่อมกัน และการออกเสียง
พยัญชนะอาจมีการออกเสียงในตาแหน่งก้ากึ่ง
นอกจากนั้นแล้ว ในการใช้ลิ้นออกเสียง ส่วนที่ใช้สัมผัสอาจเป็นส่วน ผิวบนของลิ้น (blade) ที่
ใช้ในการสัมผัส (เสียงพยัญชนะใช้ปลายลิ้น -en:laminal consonant), ส่วนยอดของปลายลิ้น (เสียง
พยัญชนะใช้ปลายสุดลิ้น - apical consonant), หรือผิวใต้ลิ้น (เสียงพยัญชนะใช้ใต้ปลายสุดลิ้น - sub-
apical consonant) ซึ่งเสียงเหล่านี้ก็อาจผสมผสานก้ากึ่งไม่ได้แบ่งแยกชัดเจน
การทาให้เกิดเสียงพูด (Speech Production)
ถ้าจะพิจารณาในแง่การเกิดเสียงพูด ก็คือลมหายใจ ที่ถูกดัดแปลงไปโดยมีกระแสอากาศ ซึ่ง
ถูกขับเคลื่อนโดยการทางานของอวัยวะออกเสียง ซึ่งทาหน้าที่เป็นแหล่งกาเนิดพลังงานต่าง ๆ เป็น
องค์ประกอบที่สาคัญที่ทาให้เกิดเป็นเสียงขึ้นมา
ขั้นตอนที่ทาให้เกิดเสียงพูดมี ๓ ขั้นตอน ดังนี้
1. การขับเคลื่อนกระแสอากาศ (Air-stream Mechanism)
2. การทาให้เป็นเสียงแบบต่าง ๆ (Phonation)
3. การแปรเสียงหรือการกล่อมเกลาเสียง (Articulation)
1. การขับเคลื่อนกระแสอากาศ (Air-stream Mechanism) ปัจจัยที่ทาให้เกิดเสียงขึ้นได้คือ
อากาศ เพราะเสียงก็คืออากาศที่ถูกผลักดันให้เคลื่อนที่และถูกดัดแปลงหรือแปรให้เป็นเสียงประเภท
ต่าง ๆ โดยการทางานของฐานกรณ์ต่าง ๆ ถ้าไม่มีอากาศก็จะไม่มีเสียงเกิดขึ้น การขับเคลื่อนกระแส
อากาศมีต้นกาเนิดพลังงานจากตาแหน่งที่ต่างกัน เสียงที่เกิดขึ้นจึงแตกต่างกันไป แหล่งพลังงาน มี 3
แหล่งด้วยกันคือ แหล่งพลังงานจากปอด , แหล่งพลังงานจากกล่องเสียง และแหล่งพลังงานจาก
เพดานอ่อน
2. การทาให้เป็นเสียงแบบต่าง ๆ (Phonation) การเกิดเสียงพูดนี้จะเกี่ยวข้องกับการทางาน
ของเส้นเสียงโดยตรงนั่นคือ การจะเกิดเสียงแบบต่าง ๆ ขึ้นอยู่กับการดัดแปลงรูปแบบการสั่นของ
เส้นเสียง โดยปกติภาษามีเสียง 2 ประเภท คือ เสียงก้อง (voiced sound) จะเกิดขึ้นโดยมีการสั่นของ
เส้นเสียงร่วมด้วย และเสียงไม่ก้อง (voiceless sound) จะเกิดขึ้นโดยไม่มีการสั่นของเส้นเสียง
3. การแปรเสียงหรือการกล่อมเสียง (Articulation) เมื่อกระแสอากาศจากแหล่งพลังงานต่าง
ๆ ซึ่งส่วนใหญ่หมายถึง ปอด เคลื่อนขึ้นสู่กล่องเสียง และถูกดัดแปลงคุณภาพเสียงให้แตกต่างไป
ตามรูปแบบการทางานแบบต่าง ๆ ของเส้นเสียง แล้วต่อมาอากาศก็จะเดินทางเข้าสู่ช่องปาก ซึ่ง
ประกอบด้วยอวัยวะแปรเสียงหรือฐานกรณ์มากมาย ซึ่งทาหน้าที่ในการกล่อมเกลาเสียงให้ออกมามี
คุณลักษณะแตกต่างกัน ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับลักษณะวิธีออกเสียงด้วย การแปรเสียงหรือกล่อมเกลาเสียง
เป็นแบบต่าง ๆ ขึ้นอยู่กับ
- ตาแหน่งของการเกิดเสียง (Place of Articulation)
- ลักษณะของการเกิดเสียง (Manner of Articulation)
เสียงในตาแหน่งต่างๆ
การแบ่งตามตาแหน่งที่เกิดเสียง (Points of Articulation)
1. เสียงที่ เกิดจากริมฝีปากบนและล่าง (bilabial sounds) ได้แก่ เสียง /p/, /b/, /m/ และ /w/
2. เสียงที่ เกิดจากริมฝีปากและฟัน (labio-dental sounds) ได้แก่ เสียง /f/ และ /v/
3. เสียงที่เกิดระหว่างฟัน (interdental sounds) ได้แก่เสียง /θ/และ /ð/
4. เสียงที่ เกิดจากปุ่มเหงือก (alveolar sounds) ได้แก่ เสียง /t/, /d/, /s/, /z/, /l/, และ /n/
5. เสียงที่ เกิดหลังปุ่มเหงือก (post-alveolar sounds) ได้แก่ เสียง /š/, /ž/, /Č/, /Ĵ/ และ /r/
6. เสียงที่เกิดจากเพดานแข็ง (palatal sound) ได้แก่เสียง /y/
7. เสียงที่เกิดจากเพดานอ่อน (velar sounds) ได้แก่เสียง /k/, /g/ และ /ŋ/
8. เสียงที่เกิดจากช่องระหว่างเส้นเสียง (glottal sound) ได้แก่เสียง /h/
การแบ่งตามลักษณะของการออกเสียง (Manners of Articulation)
1. เสียงระเบิด (plosive sounds) ได้แก่เสียง /p/, /b/, /t/, /d/, /k/, /g/
2. เสียงกึ่งเสียดสี (affricate sounds) ได้แก่เสียง /č/, /ĵ/
3. เสียงเสียดสี (fricative sounds) ได้แก่เสียง /f/, /v/, /θ/, /ð/, /s/, /z/, /š/, /ž/, /h/
4. เสียงนาสิก (nasal sounds) ) ได้แก่เสียง /m/, /n/, /ŋ/
5. เสียงข้างลิ้น (lateral sound) ได้แก่เสียง /l/
6. เสียงกึ่งสระ (semi-vowel sounds) ได้แก่เสียง /w/, /r/, /y/
สัญลักษณ์แทนเสียงสากล (Phonetic Symbols)
เสียงสระ (Vowel Sound)
เสียงพยัญชนะ (Consonant Sound)
ตำแหน่งการเกิดเสียง

More Related Content

What's hot

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต (Internet Fundamental)
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต (Internet Fundamental)ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต (Internet Fundamental)
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต (Internet Fundamental)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรมบทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรมPinutchaya Nakchumroon
 
ตำแหน่งของการออกเสียงและลักษณะวิธีออกเสียง
ตำแหน่งของการออกเสียงและลักษณะวิธีออกเสียงตำแหน่งของการออกเสียงและลักษณะวิธีออกเสียง
ตำแหน่งของการออกเสียงและลักษณะวิธีออกเสียงyoiisina
 
รูปเล่มรายงาน
รูปเล่มรายงานรูปเล่มรายงาน
รูปเล่มรายงานZnackiie Rn
 
โครงงานสุขศึกษา
โครงงานสุขศึกษาโครงงานสุขศึกษา
โครงงานสุขศึกษาTatsawan Khejonrak
 
สื่อดั้งเดิม สื่อใหม่ ความแตกต่างระหว่างสื่อดั้งเดิมและสื่อใหม่
สื่อดั้งเดิม สื่อใหม่ ความแตกต่างระหว่างสื่อดั้งเดิมและสื่อใหม่สื่อดั้งเดิม สื่อใหม่ ความแตกต่างระหว่างสื่อดั้งเดิมและสื่อใหม่
สื่อดั้งเดิม สื่อใหม่ ความแตกต่างระหว่างสื่อดั้งเดิมและสื่อใหม่Watermalon Singha
 
การจัดการเรียนการสอนในยุคดิจิทัล
การจัดการเรียนการสอนในยุคดิจิทัลการจัดการเรียนการสอนในยุคดิจิทัล
การจัดการเรียนการสอนในยุคดิจิทัลSurapon Boonlue
 
ใบพืชNet
ใบพืชNetใบพืชNet
ใบพืชNetAnana Anana
 
รายงานการประชุมครั้งที่ 2 54
รายงานการประชุมครั้งที่ 2 54รายงานการประชุมครั้งที่ 2 54
รายงานการประชุมครั้งที่ 2 54RMUTT
 
ข้อบกพร่องของการใช้ภาษา
ข้อบกพร่องของการใช้ภาษาข้อบกพร่องของการใช้ภาษา
ข้อบกพร่องของการใช้ภาษาkingkarn somchit
 
บทที่ 4 ภาษาศาสตร์กับการวิเคราะห์ภาษาในระดับต่างๆ
บทที่ 4 ภาษาศาสตร์กับการวิเคราะห์ภาษาในระดับต่างๆบทที่ 4 ภาษาศาสตร์กับการวิเคราะห์ภาษาในระดับต่างๆ
บทที่ 4 ภาษาศาสตร์กับการวิเคราะห์ภาษาในระดับต่างๆWilawun Wisanuvekin
 
ชีววิทยา ม.6
ชีววิทยา ม.6ชีววิทยา ม.6
ชีววิทยา ม.6TataNitchakan
 
บทที่ 5 ปัญหาและข้อบกพร่อง
บทที่ 5 ปัญหาและข้อบกพร่องบทที่ 5 ปัญหาและข้อบกพร่อง
บทที่ 5 ปัญหาและข้อบกพร่องAj.Mallika Phongphaew
 
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้น
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้นสรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้น
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้นTook Took Rachataporn
 
เทคนิคการจัดการเรียนรู้ด้วยเกมมิฟิเคชั่น (Gamification)
เทคนิคการจัดการเรียนรู้ด้วยเกมมิฟิเคชั่น (Gamification)เทคนิคการจัดการเรียนรู้ด้วยเกมมิฟิเคชั่น (Gamification)
เทคนิคการจัดการเรียนรู้ด้วยเกมมิฟิเคชั่น (Gamification)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 

What's hot (20)

ระบบหายใจ (Respiratory System)
ระบบหายใจ (Respiratory System)ระบบหายใจ (Respiratory System)
ระบบหายใจ (Respiratory System)
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต (Internet Fundamental)
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต (Internet Fundamental)ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต (Internet Fundamental)
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต (Internet Fundamental)
 
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรมบทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
 
ตำแหน่งของการออกเสียงและลักษณะวิธีออกเสียง
ตำแหน่งของการออกเสียงและลักษณะวิธีออกเสียงตำแหน่งของการออกเสียงและลักษณะวิธีออกเสียง
ตำแหน่งของการออกเสียงและลักษณะวิธีออกเสียง
 
รูปเล่มรายงาน
รูปเล่มรายงานรูปเล่มรายงาน
รูปเล่มรายงาน
 
โครงงานสุขศึกษา
โครงงานสุขศึกษาโครงงานสุขศึกษา
โครงงานสุขศึกษา
 
สื่อดั้งเดิม สื่อใหม่ ความแตกต่างระหว่างสื่อดั้งเดิมและสื่อใหม่
สื่อดั้งเดิม สื่อใหม่ ความแตกต่างระหว่างสื่อดั้งเดิมและสื่อใหม่สื่อดั้งเดิม สื่อใหม่ ความแตกต่างระหว่างสื่อดั้งเดิมและสื่อใหม่
สื่อดั้งเดิม สื่อใหม่ ความแตกต่างระหว่างสื่อดั้งเดิมและสื่อใหม่
 
การจัดการเรียนการสอนในยุคดิจิทัล
การจัดการเรียนการสอนในยุคดิจิทัลการจัดการเรียนการสอนในยุคดิจิทัล
การจัดการเรียนการสอนในยุคดิจิทัล
 
1 nervesys plan
1 nervesys plan1 nervesys plan
1 nervesys plan
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
ใบพืชNet
ใบพืชNetใบพืชNet
ใบพืชNet
 
รายงานการประชุมครั้งที่ 2 54
รายงานการประชุมครั้งที่ 2 54รายงานการประชุมครั้งที่ 2 54
รายงานการประชุมครั้งที่ 2 54
 
ข้อบกพร่องของการใช้ภาษา
ข้อบกพร่องของการใช้ภาษาข้อบกพร่องของการใช้ภาษา
ข้อบกพร่องของการใช้ภาษา
 
คำวิเศษณ์
คำวิเศษณ์คำวิเศษณ์
คำวิเศษณ์
 
บทที่ 4 ภาษาศาสตร์กับการวิเคราะห์ภาษาในระดับต่างๆ
บทที่ 4 ภาษาศาสตร์กับการวิเคราะห์ภาษาในระดับต่างๆบทที่ 4 ภาษาศาสตร์กับการวิเคราะห์ภาษาในระดับต่างๆ
บทที่ 4 ภาษาศาสตร์กับการวิเคราะห์ภาษาในระดับต่างๆ
 
ชีววิทยา ม.6
ชีววิทยา ม.6ชีววิทยา ม.6
ชีววิทยา ม.6
 
ใบความรู้ลักษณะเฉพาะของภาษาไทยการสร้างคำ
ใบความรู้ลักษณะเฉพาะของภาษาไทยการสร้างคำใบความรู้ลักษณะเฉพาะของภาษาไทยการสร้างคำ
ใบความรู้ลักษณะเฉพาะของภาษาไทยการสร้างคำ
 
บทที่ 5 ปัญหาและข้อบกพร่อง
บทที่ 5 ปัญหาและข้อบกพร่องบทที่ 5 ปัญหาและข้อบกพร่อง
บทที่ 5 ปัญหาและข้อบกพร่อง
 
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้น
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้นสรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้น
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้น
 
เทคนิคการจัดการเรียนรู้ด้วยเกมมิฟิเคชั่น (Gamification)
เทคนิคการจัดการเรียนรู้ด้วยเกมมิฟิเคชั่น (Gamification)เทคนิคการจัดการเรียนรู้ด้วยเกมมิฟิเคชั่น (Gamification)
เทคนิคการจัดการเรียนรู้ด้วยเกมมิฟิเคชั่น (Gamification)
 

Similar to ตำแหน่งการเกิดเสียง

การเกิดเสียง56030467
การเกิดเสียง56030467การเกิดเสียง56030467
การเกิดเสียง56030467Wuttikorn Buajoom
 
ตำแหน่งของการออกเสียง และสัญลักษณ์เสียงสากล
ตำแหน่งของการออกเสียง และสัญลักษณ์เสียงสากล ตำแหน่งของการออกเสียง และสัญลักษณ์เสียงสากล
ตำแหน่งของการออกเสียง และสัญลักษณ์เสียงสากล nuengrutaii
 
นางสาวบุษยา ศศิธร-56030514
นางสาวบุษยา ศศิธร-56030514นางสาวบุษยา ศศิธร-56030514
นางสาวบุษยา ศศิธร-56030514irinth
 
ตำแหน่งของก่ารออกเสียงและลักษณะวิธีออกเสียง
ตำแหน่งของก่ารออกเสียงและลักษณะวิธีออกเสียงตำแหน่งของก่ารออกเสียงและลักษณะวิธีออกเสียง
ตำแหน่งของก่ารออกเสียงและลักษณะวิธีออกเสียงyoiisina
 
ตำแหน่งของก่ารออกเสียงและลักษณะวิธีออกเสียง
ตำแหน่งของก่ารออกเสียงและลักษณะวิธีออกเสียงตำแหน่งของก่ารออกเสียงและลักษณะวิธีออกเสียง
ตำแหน่งของก่ารออกเสียงและลักษณะวิธีออกเสียงyoiisina
 
สรุปเรื่อง ตำแหน่งการเกิดเสียง และเสียงในตำแหน่งต่างๆและ สัญลักษณ์แทนเสียงสากล
สรุปเรื่อง ตำแหน่งการเกิดเสียง และเสียงในตำแหน่งต่างๆและ สัญลักษณ์แทนเสียงสากลสรุปเรื่อง ตำแหน่งการเกิดเสียง และเสียงในตำแหน่งต่างๆและ สัญลักษณ์แทนเสียงสากล
สรุปเรื่อง ตำแหน่งการเกิดเสียง และเสียงในตำแหน่งต่างๆและ สัญลักษณ์แทนเสียงสากลSunthon Aged
 
ตำแหน่งของการออกเสียง
ตำแหน่งของการออกเสียงตำแหน่งของการออกเสียง
ตำแหน่งของการออกเสียงyoiisina
 
56030648
5603064856030648
56030648Yuri YR
 
นางสาวอรพรรณ บัณฑิตเสน รหัส 56030566
นางสาวอรพรรณ บัณฑิตเสน  รหัส 56030566นางสาวอรพรรณ บัณฑิตเสน  รหัส 56030566
นางสาวอรพรรณ บัณฑิตเสน รหัส 560305660884947335
 
สรุป พรรณปพร สะอาดเอี่ยม 56030525
สรุป พรรณปพร สะอาดเอี่ยม 56030525สรุป พรรณปพร สะอาดเอี่ยม 56030525
สรุป พรรณปพร สะอาดเอี่ยม 56030525Vic Phanpaporn Saardaim
 
นายอภิโชติ มณีกาศ รหัสนักศึกษา 56030563
นายอภิโชติ  มณีกาศ รหัสนักศึกษา 56030563นายอภิโชติ  มณีกาศ รหัสนักศึกษา 56030563
นายอภิโชติ มณีกาศ รหัสนักศึกษา 56030563Apii Apichot
 
สรุปเรื่อง ตำแหน่งการเกิดเสียง และเสียงในตำแหน่งต่างๆ สัญลักษณ์แทนเสียงสากล
สรุปเรื่อง ตำแหน่งการเกิดเสียง และเสียงในตำแหน่งต่างๆ  สัญลักษณ์แทนเสียงสากลสรุปเรื่อง ตำแหน่งการเกิดเสียง และเสียงในตำแหน่งต่างๆ  สัญลักษณ์แทนเสียงสากล
สรุปเรื่อง ตำแหน่งการเกิดเสียง และเสียงในตำแหน่งต่างๆ สัญลักษณ์แทนเสียงสากลSunthon Aged
 
ตำแหน่งการเกิดเสียง
ตำแหน่งการเกิดเสียงตำแหน่งการเกิดเสียง
ตำแหน่งการเกิดเสียงPalm Prachya
 
สรุป นายสุนทร เอี่ยมแสง รหัส 56030557
สรุป นายสุนทร เอี่ยมแสง รหัส 56030557สรุป นายสุนทร เอี่ยมแสง รหัส 56030557
สรุป นายสุนทร เอี่ยมแสง รหัส 56030557Sunthon Aged
 
ตำแหน่งการเกิดเสียง
ตำแหน่งการเกิดเสียงตำแหน่งการเกิดเสียง
ตำแหน่งการเกิดเสียงSunthon Aged
 

Similar to ตำแหน่งการเกิดเสียง (20)

การเกิดเสียง56030467
การเกิดเสียง56030467การเกิดเสียง56030467
การเกิดเสียง56030467
 
ตำแหน่งของการออกเสียง และสัญลักษณ์เสียงสากล
ตำแหน่งของการออกเสียง และสัญลักษณ์เสียงสากล ตำแหน่งของการออกเสียง และสัญลักษณ์เสียงสากล
ตำแหน่งของการออกเสียง และสัญลักษณ์เสียงสากล
 
นางสาวบุษยา ศศิธร-56030514
นางสาวบุษยา ศศิธร-56030514นางสาวบุษยา ศศิธร-56030514
นางสาวบุษยา ศศิธร-56030514
 
ตำแหน่งของก่ารออกเสียงและลักษณะวิธีออกเสียง
ตำแหน่งของก่ารออกเสียงและลักษณะวิธีออกเสียงตำแหน่งของก่ารออกเสียงและลักษณะวิธีออกเสียง
ตำแหน่งของก่ารออกเสียงและลักษณะวิธีออกเสียง
 
ตำแหน่งของก่ารออกเสียงและลักษณะวิธีออกเสียง
ตำแหน่งของก่ารออกเสียงและลักษณะวิธีออกเสียงตำแหน่งของก่ารออกเสียงและลักษณะวิธีออกเสียง
ตำแหน่งของก่ารออกเสียงและลักษณะวิธีออกเสียง
 
สรุปเรื่อง ตำแหน่งการเกิดเสียง และเสียงในตำแหน่งต่างๆและ สัญลักษณ์แทนเสียงสากล
สรุปเรื่อง ตำแหน่งการเกิดเสียง และเสียงในตำแหน่งต่างๆและ สัญลักษณ์แทนเสียงสากลสรุปเรื่อง ตำแหน่งการเกิดเสียง และเสียงในตำแหน่งต่างๆและ สัญลักษณ์แทนเสียงสากล
สรุปเรื่อง ตำแหน่งการเกิดเสียง และเสียงในตำแหน่งต่างๆและ สัญลักษณ์แทนเสียงสากล
 
ตำแหน่งของการออกเสียง
ตำแหน่งของการออกเสียงตำแหน่งของการออกเสียง
ตำแหน่งของการออกเสียง
 
56030648
5603064856030648
56030648
 
Sound
SoundSound
Sound
 
นางสาวอรพรรณ บัณฑิตเสน รหัส 56030566
นางสาวอรพรรณ บัณฑิตเสน  รหัส 56030566นางสาวอรพรรณ บัณฑิตเสน  รหัส 56030566
นางสาวอรพรรณ บัณฑิตเสน รหัส 56030566
 
สรุป พรรณปพร สะอาดเอี่ยม 56030525
สรุป พรรณปพร สะอาดเอี่ยม 56030525สรุป พรรณปพร สะอาดเอี่ยม 56030525
สรุป พรรณปพร สะอาดเอี่ยม 56030525
 
นายอภิโชติ มณีกาศ รหัสนักศึกษา 56030563
นายอภิโชติ  มณีกาศ รหัสนักศึกษา 56030563นายอภิโชติ  มณีกาศ รหัสนักศึกษา 56030563
นายอภิโชติ มณีกาศ รหัสนักศึกษา 56030563
 
สรุปเรื่อง ตำแหน่งการเกิดเสียง และเสียงในตำแหน่งต่างๆ สัญลักษณ์แทนเสียงสากล
สรุปเรื่อง ตำแหน่งการเกิดเสียง และเสียงในตำแหน่งต่างๆ  สัญลักษณ์แทนเสียงสากลสรุปเรื่อง ตำแหน่งการเกิดเสียง และเสียงในตำแหน่งต่างๆ  สัญลักษณ์แทนเสียงสากล
สรุปเรื่อง ตำแหน่งการเกิดเสียง และเสียงในตำแหน่งต่างๆ สัญลักษณ์แทนเสียงสากล
 
สรุป
สรุปสรุป
สรุป
 
ตำแหน่งการเกิดเสียง
ตำแหน่งการเกิดเสียงตำแหน่งการเกิดเสียง
ตำแหน่งการเกิดเสียง
 
สรุป
สรุปสรุป
สรุป
 
สรุป นายสุนทร เอี่ยมแสง รหัส 56030557
สรุป นายสุนทร เอี่ยมแสง รหัส 56030557สรุป นายสุนทร เอี่ยมแสง รหัส 56030557
สรุป นายสุนทร เอี่ยมแสง รหัส 56030557
 
สรุป
สรุปสรุป
สรุป
 
หู
หูหู
หู
 
ตำแหน่งการเกิดเสียง
ตำแหน่งการเกิดเสียงตำแหน่งการเกิดเสียง
ตำแหน่งการเกิดเสียง
 

ตำแหน่งการเกิดเสียง

  • 1. นายอภิสิทธิ์ ทองดี รหัสประจาตัว 56030564 ตาแหน่งเกิดเสียง (place of articulation, point of articulation) ชนิดของการออกเสียง ฐานกรณ์ (articulator) นั้นแยกออกเป็นการออกเสียงแบบ ฐาน (passive articulator) และ กรณ์ (active articulator) ตัวอย่างเช่น  ใช้ริมฝีปากล่างเป็นกรณ์ (ส่วนเคลื่อนที่) อาจเคลื่อนไปสัมผัส ริมฝีปากบนซึ่งเป็นฐาน (ส่วน ไม่เคลื่อนที่) เป็นการออกเสียงจากริมฝีปากคู่ (bilabial) เช่น เสียง [m]) หรือ  ใช้ริมฝีปากล่างไปสัมผัสกับฟันบน (ฐาน) เป็นเสียงจากริมฝีปากล่าง-ฟันบน (labiodental) เช่น เสียง [f]) การสัมผัสเพดานแข็งด้วยส่วนหน้าและส่วนหลังของลิ้น  ใช้ส่วนหน้าสัมผัส เรียก เสียงปลายลิ้นม้วน (retroflex)  ใช้ส่วนหลังลิ้นสัมผัส เรียก "เสียงจากหลังลิ้น-เพดานแข็ง" (dorsal-palatal) หรือ โดยทั่วไป เรียกเพียง ตาลุชะ/เสียงจากเพดานแข็ง (palatal) เสียงแบบกรณ์ มีทั้งหมด 5 เสียง คือ
  • 2. 1. เสียงพยัญชนะริมฝีปาก (labial consonant) เป็นเสียงจากริมฝีปากหรือโอษฐชะ 2. เสียงพยัญชนะโพรงปาก (coronal consonant) เป็นเสียงจากการใช้ส่วนปลายอ่อนตัวของลิ้น 3. เสียงพยัญชนะหลังลิ้น (dorsal consonant) เป็นเสียงจากการใช้ส่วนกลางหรือส่วนหลังของ ลิ้น 4. เสียงพยัญชนะโคนลิ้น (radical consonant) เป็นเสียงจากการใช้โคนลิ้นและลิ้นปิดกล่องเสียง (epiglottis) 5. เสียงพยัญชนะเส้นเสียง (laryngeal consonants) เป็นเสียงจากกล่องเสียง (larynx) การออกเสียงเหล่านี้สามารถเปล่งแยกจากกัน หรือ สามารถออกเป็นเสียงผสม เรียก การออก เสียงผสม (coarticulation) การออกเสียงแบบฐานเป็นการออกเสียงที่ไม่มีการแบ่งแยกชัดเจน โดยตาแหน่งการออกเสียง เสียงจากลิ้น-ริมฝีปากบน (linguolabial) และเสียงลิ้นระหว่างฟัน (interdental), เสียงจากลิ้นระหว่าง ฟันและเสียงจากฟัน/ทันตชะ (dental), เสียงจากฟันและเสียงจากปุ่มเหงือก (alveolar), เสียงจากปุ่ม เหงือกและเสียงจากเพดานแข็ง/ตาลุชะ (palatal), เสียงจากเพดานแข็งและเสียงจากเพดานอ่อน (velar), เสียงจากเพดานอ่อนและเสียงจากลิ้นไก่ (uvular) อาจเชื่อมโยงเหลื่อมกัน และการออกเสียง พยัญชนะอาจมีการออกเสียงในตาแหน่งก้ากึ่ง นอกจากนั้นแล้ว ในการใช้ลิ้นออกเสียง ส่วนที่ใช้สัมผัสอาจเป็นส่วน ผิวบนของลิ้น (blade) ที่ ใช้ในการสัมผัส (เสียงพยัญชนะใช้ปลายลิ้น -en:laminal consonant), ส่วนยอดของปลายลิ้น (เสียง พยัญชนะใช้ปลายสุดลิ้น - apical consonant), หรือผิวใต้ลิ้น (เสียงพยัญชนะใช้ใต้ปลายสุดลิ้น - sub- apical consonant) ซึ่งเสียงเหล่านี้ก็อาจผสมผสานก้ากึ่งไม่ได้แบ่งแยกชัดเจน การทาให้เกิดเสียงพูด (Speech Production) ถ้าจะพิจารณาในแง่การเกิดเสียงพูด ก็คือลมหายใจ ที่ถูกดัดแปลงไปโดยมีกระแสอากาศ ซึ่ง ถูกขับเคลื่อนโดยการทางานของอวัยวะออกเสียง ซึ่งทาหน้าที่เป็นแหล่งกาเนิดพลังงานต่าง ๆ เป็น องค์ประกอบที่สาคัญที่ทาให้เกิดเป็นเสียงขึ้นมา
  • 3. ขั้นตอนที่ทาให้เกิดเสียงพูดมี ๓ ขั้นตอน ดังนี้ 1. การขับเคลื่อนกระแสอากาศ (Air-stream Mechanism) 2. การทาให้เป็นเสียงแบบต่าง ๆ (Phonation) 3. การแปรเสียงหรือการกล่อมเกลาเสียง (Articulation) 1. การขับเคลื่อนกระแสอากาศ (Air-stream Mechanism) ปัจจัยที่ทาให้เกิดเสียงขึ้นได้คือ อากาศ เพราะเสียงก็คืออากาศที่ถูกผลักดันให้เคลื่อนที่และถูกดัดแปลงหรือแปรให้เป็นเสียงประเภท ต่าง ๆ โดยการทางานของฐานกรณ์ต่าง ๆ ถ้าไม่มีอากาศก็จะไม่มีเสียงเกิดขึ้น การขับเคลื่อนกระแส อากาศมีต้นกาเนิดพลังงานจากตาแหน่งที่ต่างกัน เสียงที่เกิดขึ้นจึงแตกต่างกันไป แหล่งพลังงาน มี 3 แหล่งด้วยกันคือ แหล่งพลังงานจากปอด , แหล่งพลังงานจากกล่องเสียง และแหล่งพลังงานจาก เพดานอ่อน 2. การทาให้เป็นเสียงแบบต่าง ๆ (Phonation) การเกิดเสียงพูดนี้จะเกี่ยวข้องกับการทางาน ของเส้นเสียงโดยตรงนั่นคือ การจะเกิดเสียงแบบต่าง ๆ ขึ้นอยู่กับการดัดแปลงรูปแบบการสั่นของ เส้นเสียง โดยปกติภาษามีเสียง 2 ประเภท คือ เสียงก้อง (voiced sound) จะเกิดขึ้นโดยมีการสั่นของ เส้นเสียงร่วมด้วย และเสียงไม่ก้อง (voiceless sound) จะเกิดขึ้นโดยไม่มีการสั่นของเส้นเสียง 3. การแปรเสียงหรือการกล่อมเสียง (Articulation) เมื่อกระแสอากาศจากแหล่งพลังงานต่าง ๆ ซึ่งส่วนใหญ่หมายถึง ปอด เคลื่อนขึ้นสู่กล่องเสียง และถูกดัดแปลงคุณภาพเสียงให้แตกต่างไป ตามรูปแบบการทางานแบบต่าง ๆ ของเส้นเสียง แล้วต่อมาอากาศก็จะเดินทางเข้าสู่ช่องปาก ซึ่ง ประกอบด้วยอวัยวะแปรเสียงหรือฐานกรณ์มากมาย ซึ่งทาหน้าที่ในการกล่อมเกลาเสียงให้ออกมามี คุณลักษณะแตกต่างกัน ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับลักษณะวิธีออกเสียงด้วย การแปรเสียงหรือกล่อมเกลาเสียง เป็นแบบต่าง ๆ ขึ้นอยู่กับ - ตาแหน่งของการเกิดเสียง (Place of Articulation) - ลักษณะของการเกิดเสียง (Manner of Articulation)
  • 4. เสียงในตาแหน่งต่างๆ การแบ่งตามตาแหน่งที่เกิดเสียง (Points of Articulation) 1. เสียงที่ เกิดจากริมฝีปากบนและล่าง (bilabial sounds) ได้แก่ เสียง /p/, /b/, /m/ และ /w/ 2. เสียงที่ เกิดจากริมฝีปากและฟัน (labio-dental sounds) ได้แก่ เสียง /f/ และ /v/ 3. เสียงที่เกิดระหว่างฟัน (interdental sounds) ได้แก่เสียง /θ/และ /ð/ 4. เสียงที่ เกิดจากปุ่มเหงือก (alveolar sounds) ได้แก่ เสียง /t/, /d/, /s/, /z/, /l/, และ /n/ 5. เสียงที่ เกิดหลังปุ่มเหงือก (post-alveolar sounds) ได้แก่ เสียง /š/, /ž/, /Č/, /Ĵ/ และ /r/ 6. เสียงที่เกิดจากเพดานแข็ง (palatal sound) ได้แก่เสียง /y/ 7. เสียงที่เกิดจากเพดานอ่อน (velar sounds) ได้แก่เสียง /k/, /g/ และ /ŋ/ 8. เสียงที่เกิดจากช่องระหว่างเส้นเสียง (glottal sound) ได้แก่เสียง /h/ การแบ่งตามลักษณะของการออกเสียง (Manners of Articulation) 1. เสียงระเบิด (plosive sounds) ได้แก่เสียง /p/, /b/, /t/, /d/, /k/, /g/ 2. เสียงกึ่งเสียดสี (affricate sounds) ได้แก่เสียง /č/, /ĵ/ 3. เสียงเสียดสี (fricative sounds) ได้แก่เสียง /f/, /v/, /θ/, /ð/, /s/, /z/, /š/, /ž/, /h/ 4. เสียงนาสิก (nasal sounds) ) ได้แก่เสียง /m/, /n/, /ŋ/ 5. เสียงข้างลิ้น (lateral sound) ได้แก่เสียง /l/ 6. เสียงกึ่งสระ (semi-vowel sounds) ได้แก่เสียง /w/, /r/, /y/