SlideShare a Scribd company logo
1 of 12
Download to read offline
นวัตกรรมทางการศึกษา 
CHAPTER 7
สถานการณ์ปัญหา 
กระทรวงศึกษาธิการต้องการให้ท่านเลือกและสร้างนวัตกรรมการเรียนรู้ ให้เหมาะสม กับบริบทของโรงเรียนทั้ง 3 แห่งคือ โรงเรียนเปรมสวัสดิ์ โรงเรียนมหาชัย โรงเรียนเทศบาลวัดธาตุ 
โรงเรียนเปรมสวัสดิ์ เป็นโรงเรียนที่อยู่ห่างไกลความเจริญ ไม่มีการเชื่อมโยงเครือข่าย อินเตอร์เน็ต แต่พอจะมีคอมพิวเตอร์ใช้บ้าง ซึ่งเป็นห้องคอมพิวเตอร์สำหรับนักเรียน ความต้องการ ของโรงเรียนคืออยากจะได้สื่อที่มาแก้ปัญหาการเรียนการสอนที่ช่วยกระตุ้นให้เด็กมีความสนใจใน การเรียนมากขึ้น สื่อนี้สามารถทำให้เด็กเห็นสภาพเสมือนจริง (Realistic) และเหมาะสมกับ การศึกษารายบุคคล โดยผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์กับสื่อโดยตรงอาจจะมี ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว เสียง หรือ วีดิทัศน์ ประกอบอยู่ในสื่อนั้น เพื่อสร้างความตื่นเต้นน่าสนใจ และสามารถย้อนทบทวนส่วนที่ ต้องการได้โดยไม่มีข้อจำกัด มีการประเมินเพื่อแก้ไขข้อบกพร่องของตนเองได้ อาจจะออกแบบมา ในลักษณะของเกม หรือลักษณะที่กระตุ้นให้ผู้เรียนให้มีความกระตือรือร้นมากขึ้นทั้งนี้ก็สอดแทรก เนื้อหาวิชาการเข้าไว้อย่างเหมาะสม
โรงเรียนมหาชัย ต้องการนวัตกรรมที่สามารถแก้ไขข้อจำกัดด้านสถานที่ และเวลา โดย ประยุกต์ใช้คุณสมบัติ เวิล์ด ไวด์ เว็บ ที่โรงเรียนมีอยู่ ในการจัดสภาพแวดล้อมและสนับสนุนการเรียน การสอน สิ่งแรกที่ต้องมีคือการลงทะเบียนเพื่อขอรหัสผ่านเข้าเรียน หลังจากนั้นผู้เรียนศึกษาเนื้อหาอาจ เป็นการอ่านบนจอหรือโหลดเนื้อหาลงมาที่เครื่องของตน หรือสั่งพิมพ์ทางเครื่องพิมพ์เพื่อศึกษา ภายหลังก็ได้ ผู้เรียนสามารถกำหนดการเรียนได้ด้วยตนเอง (Self-directed) เปิดโอกาสให้เลือกเรียนได้ ตามสะดวก สามารถ กำหนดกรอบเวลาในการเรียนรู้ได้เหมาะสมกับความสามารถในการเรียนรู้ของ ตนเอง คลอบคลุมทั้งการเรียนแบบประสานเวลา (Synchronous Learning) และไม่ประสานเวลา (Asynchronous Learning) และสามารถถามคำถาม ทำแบบฝึกหัด ทำรายงานกลุ่ม อภิปรายแลกเปลี่ยน ความคิดเห็นแก่ผู้เรียนคนอื่น ๆ ได้ และยังสามารถเข้าถึงเนื้อหาได้ทุกที่ ทุกเวลา ทุกสถานที่ 
โรงเรียนเทศบาลวัดธาตุ ต้องการออกแบบนวัตกรรมการเรียนรู้ที่เน้นให้ผู้เรียนสามารถ สร้างความรู้ด้วยตนเอง โดยการเผชิญสถานการณ์ปัญหา มีแหล่งเรียนรู้ให้ผู้เรียนได้สืบค้น เมื่อไม่ สามารถแก้ปัญหาได้ก็มีฐานความช่วยเหลือ พร้อมทั้งมีเครื่องมือที่สนับสนุนการร่วมมือกันแก้ปัญหา สามารถแลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่างกันได้ตลอดเวลา นอกจากนี้นวัตกรรมที่พัฒนาขึ้นต้องสามารถ นำมาใช้ได้ในหลายบริบทเนื่องจากผู้เรียนมีความแตกต่างกัน บางกลุ่มชอบที่จะเรียนบนเครือข่าย บาง กลุ่มชอบที่จะเรียนแบบมัลติมีเดีย และบางกลุ่มชอบที่จะสามารถนำไปใช้เรียนได้ทุกสถานที่ไม่ว่าจะ เป็นใต้ร่มไม้ หรือสถานที่ที่ไม่มีคอมพิวเตอร์ก็สามารถใช้เรียนรู้เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพได้
ภารกิจ 
1. อธิบายความหมายและจำแนกประเภทของสิ่งแวดล้อมทางการ เรียนรู้ 
2. วิเคราะห์เลือกใช้นวัตกรรมการเรียนรู้ ให้สอดคล้องกับบริบทของ โรงเรียนทั้ง 3 แห่งนี้ 
3. จากประเภทของนวัตกรรมการเรียนรู้ในบทที่ 7 ให้นักศึกษาเสนอ นวัตกรรมการเรียนรู้ที่สอดคลองกับลักษณะวิชาเอกที่นักศึกษาจะ ปฏิบัติหน้าที่สอน พร้อมทั้งอธิบายเหตุผล
ภารกิจที่ 1 
อธิบายความหมายและจำแนกประเภทของสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ 
สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้เป็นการออกแบบโดยนำทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์มา เป็นพื้นฐานที่ประสานรวมกันระหว่าง “สื่อ (Media)” กับ “วิธีการ (Methods)” 
สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ คือ การเน้นการที่ผู้เรียนสร้างความรู้โดยตนเอง โดย ผ่านการปฏิบัติลงมือกระทำด้วยตนเอง การพัฒนาศักยภาพทางการคิด ตลอดจนการ แสวงหาความรู้ด้วยตนเอง ซึ่งเป็นการเปิดโอกาสให้ผู้เรียน วางแผน ดำเนินการและการ ประเมินตนเอง และมีปฏิสัมพันธ์กับแหล่งการเรียนรู้ต่างๆ ได้แก่ ครู เทคโนโลยี พ่อแม่ ภูมิปัญญาท้องถิ่น และบุคคลอื่น ๆ ตลอดจน สื่อต่างๆ เพื่อที่จะนำมาสู่การสร้างความรู้ โดยการเชื่อมโยงความรู้เดิมกับความรู้ใหม่ เพื่อขยายโครงข่ายทางปัญญา
จำแนกประเภทของสิ่งแวดล้อมทางการ เรียนรู้ตามบริบทของสื่อและคุณลักษณะของ สื่อได้3 ลักษณะ ได้แก่ 
1) สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้บนเครือข่ายตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ 
เป็นโนด(Node) ของความรู้ที่เชื่อมโยงกัน(Link) เป็นเครือข่ายทั่ว โลก ซึ่งแต่ละโหนดความรู้จะสนับสนุนผู้เรียนในการเชื่อมโยงปูพื้นฐานความรู้ที่ ช่วยในการสร้างความรู้ตลอดจนคุณลักษะด้านการสื่อสารที่สามารถใช้แลกเปลี่ยน ความรู้ แนวคิด และขยายมุมมองระหว่างกันได้ตลอดเวลาที่จะสนับสนุนการขยาย โครงสร้างทางปัญญาของผู้เรียน
3) ชุดสร้างความรู้ 
เป็นการนำทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์มาเป็นพื้นฐานในการออกแบบ โดย ประสานร่วมกับการนำสื่อประเภทต่างๆ เช่น สื่อสิ่งพิมพ์ หนังสือ วีดิทัศน์ 
มีหลักการและองค์ประกอบที่สำคัญได้แก่ สถานการณ์ปัญหา แหล่งการ เรียนรู้ ฐานความช่วยเหลือ การร่วมมือกันแก้ปัญหาและการโค้ช 
2) มัลติมีเดียตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ 
เป็นการนำทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์มาเป็นพื้นฐานในการออกแบบ โดย ประสานร่วมกับคุณลักษณะของมัลติมีเดียที่นาเสนอทั้งข้อความ ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว และเสียง รวมทั้งการเชื่อมโยงหลายมิติ(Hyperlink) 
มีหลักการที่สำคัญคือ สถานการณ์ปัญหา แหล่งการเรียนรู้ ฐานความ ช่วยเหลือ ผู้ฝึกสอน และการร่วมมือกันแก้ปัญหา
ภารกิจที่ 2 
วิเคราะห์เลือกใช้นวัตกรรมการเรียนรู้ ให้สอดคล้องกับบริบทของ โรงเรียนทั้ง 3 แห่งนี้ 
โรงเรียนเปรมสวัสดิ 
มัลติมีเดีย 
-สามารถนำเสนอได้ทั้งเสียง ข้อความ ภาพเคลื่อนไหว ดนตรี กราฟิก ภาพถ่าย วัสดุ ตีพิมพ์ ภาพยนตร์ และวีดิทัศน์ 
-ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้ด้วยตนเองแบบเชิงรุก ทำให้นักเรียนได้รับประสบการณ์ ตรง 
-สนองต่อรูปแบบของการเรียนของนักเรียนที่แตกต่างกัน 
-สามารถนำเสนอความรู้ได้หลายสื่อและเสมือนจริง 
-อาจเรียนหรือฝึกซํ้าได้
โรงเรียนเทศบาลวัดธาตุ 
สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ 
-เน้นการสร้างความรู้ด้วยตนเอง โดยการลงมือกระทำและมีการเชื่อมโยงความรู้เดิมกับ ความรู้ใหม่เพื่อสร้างโครงสร้างทางปัญญา 
-สามารถแยกตามบริบทของสื่อและคุณลักษณะของสื่อ เพื่อตอบสนองต่อความ หลากหลายทางการเรียนรู้ ดังนี้ 
(1) สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้บนเครือข่ายตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ 
(2) มัลติมีเดียตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ 
(3) ชุดสร้างความรู้ 
-หลักสำคัญสำหรับการออกแบบ ได้แก่ 
(1) สถานการณ์ปัญหา ทำให้ผู้เรียนสามารถสร้างความรู้ใหม่ขึ้นมาได้ 
(2) แหล่งเรียนรู้ เป็นแหล่งที่ผู้เรียนจะใช้ในการแสวงหาและค้นพบคำตอบ 
(3) ฐานความช่วยเหลือ เป็นคำแนะนำ แนวทางต่างๆในการแก้ปัญหา 
(4) การโค้ช ครูจะให้ความรู้แก่ผู้เรียนในเชิงการให้การรู้คิดและการสร้าง ปัญญา การร่วมมือกันแก้ปัญหา สนับสนุนผู้เรียนได้แลกเปลี่ยนประสบการณ์กับผู้อื่น
โรงเรียนมหาชัย 
E-Learning 
-ผู้เรียนเข้าเว็บได้ทุกเวลา และเป็นผู้กำหนดลำดับการเข้าเว็บนั้นหรือตามลำดับ ที่ผู้ออกแบบได้ให้แนวทางไว้ 
-มีการเรียนรู้อย่างมีปฏิสัมพันธ์และเรียนรู้ร่วมกัน 
-การเรียนดำเนินไปโดยไม่จำกัดเวลาและสถานที่
ภารกิจที่ 3 
จากประเภทของนวัตกรรมการเรียนรู้ในบทที่ 7 ให้นักศึกษาเสนอ นวัตกรรมการเรียนรู้ที่สอดคลองกับลักษณะวิชาเอกที่นักศึกษาจะ ปฏิบัติหน้าที่สอน พร้อมทั้งอธิบายเหตุผล 
เนื่องจากวิชาคณิตศาสตร์เป็นวิชาที่สามารถคิดหาคำตอบได้มากมายหลายวิธี และ สามารถแลกเปลี่ยนวิธีการคิดซึ่งกันและกันเพื่อพัฒนาให้เป็นวิธีที่น่าสนใจและประยุกต์ใช้ได้ จริงในสังคมแบบสมบูรณ์ที่สุด ดังนั้น นวัตกรรมการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับวิชาคณิตศาสตร์ คือ E –learning เพราะเป็นการเรียนที่ใช้เทคโนโลยีอสมวาร (Asynchronous Technologies) เป็น เทคโนโลยีที่ทำให้มีการเรียนดำเนินไปโดยไม่จำกัดเวลาและสถานที่หรือเป็นการเรียนที่ไม่ พร้อมกันหมายถึงวิธีการใดก็ตามที่ช่วยให้มีการเรียนรู้อย่างมีปฎิสัมพันธ์ (Interactive Learning) และการเรียนรู้ร่วมกัน (Collaborative Learning) โดยใช้แหล่งทรัพยากรที่อยู่ห่างไกล (Remote Resource) ที่สามารถเข้าถึงได้ตามเวลาและสถานที่ที่ผู้เรียนมีความสะดวกหรือต้องการ เกี่ยวข้อง กับการใช้เทคโนโลยีการสื่อสารทางไกล เพื่อขยายการเรียนการสอนออกไปนอกเหนือจากชั้น เรียนหรือในห้องเรียนและการเรียนที่เป็นการพบกันโดยตรง
สมาชิก 
นางสาวพรพิมล จันทร์สว่าง 563050111-3 
นางสาวรติยากร คชา 563050126-0 
นางสาวศินารักษ์ สุขโต 563050140-6 
นางสาวนิดาวรรณ เพียสุพรรณ 563050370-9

More Related Content

What's hot

กระดาษเส้น
กระดาษเส้นกระดาษเส้น
กระดาษเส้นTik Msr
 
ทฤษฎีของไวก็อตสกี้(Vygotskys Theory)
ทฤษฎีของไวก็อตสกี้(Vygotskys Theory)ทฤษฎีของไวก็อตสกี้(Vygotskys Theory)
ทฤษฎีของไวก็อตสกี้(Vygotskys Theory)DuangdenSandee
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๗ ปรัชญาตะวันตก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๗ ปรัชญาตะวันตกปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๗ ปรัชญาตะวันตก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๗ ปรัชญาตะวันตกPadvee Academy
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดียปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดียPadvee Academy
 
เรียนรู้หลักการทรงงานในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ฯ
เรียนรู้หลักการทรงงานในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ฯ เรียนรู้หลักการทรงงานในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ฯ
เรียนรู้หลักการทรงงานในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ฯ Manoonpong Srivirat
 
สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่9
สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่9สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่9
สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่9พัน พัน
 
แนวข้อสอบบรรจุ ครูผู้ช่วย
แนวข้อสอบบรรจุ ครูผู้ช่วยแนวข้อสอบบรรจุ ครูผู้ช่วย
แนวข้อสอบบรรจุ ครูผู้ช่วยWanwisa Tana
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออกปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออกPadvee Academy
 
เผด็จการ
เผด็จการเผด็จการ
เผด็จการthnaporn999
 
ทฤษฏีการบริหาร
ทฤษฏีการบริหารทฤษฏีการบริหาร
ทฤษฏีการบริหารguest6b6fea3
 
Is2 การสื่อสารและการนำเสนอ กลุ่ม2
Is2  การสื่อสารและการนำเสนอ  กลุ่ม2Is2  การสื่อสารและการนำเสนอ  กลุ่ม2
Is2 การสื่อสารและการนำเสนอ กลุ่ม2พัน พัน
 
ทฤ.หลักสูตร
ทฤ.หลักสูตรทฤ.หลักสูตร
ทฤ.หลักสูตรTawatchai Bunchuay
 
ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์Princess Chulabhon's College Chonburi
 
รายชื่อหลักสูตรฝึกอาชีพมีงานทำของ สำนักงาน กศน
รายชื่อหลักสูตรฝึกอาชีพมีงานทำของ สำนักงาน กศนรายชื่อหลักสูตรฝึกอาชีพมีงานทำของ สำนักงาน กศน
รายชื่อหลักสูตรฝึกอาชีพมีงานทำของ สำนักงาน กศนcharinruarn
 
ประวัติการศึกษาไทย
ประวัติการศึกษาไทยประวัติการศึกษาไทย
ประวัติการศึกษาไทยSuwanan Nonsrikham
 
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖Anchalee BuddhaBucha
 
การสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ในสังคมไทยปัจจุบัน
การสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ในสังคมไทยปัจจุบันการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ในสังคมไทยปัจจุบัน
การสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ในสังคมไทยปัจจุบันTaraya Srivilas
 

What's hot (20)

การนำเสนองานวิจัย
การนำเสนองานวิจัยการนำเสนองานวิจัย
การนำเสนองานวิจัย
 
กระดาษเส้น
กระดาษเส้นกระดาษเส้น
กระดาษเส้น
 
ทฤษฎีของไวก็อตสกี้(Vygotskys Theory)
ทฤษฎีของไวก็อตสกี้(Vygotskys Theory)ทฤษฎีของไวก็อตสกี้(Vygotskys Theory)
ทฤษฎีของไวก็อตสกี้(Vygotskys Theory)
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๗ ปรัชญาตะวันตก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๗ ปรัชญาตะวันตกปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๗ ปรัชญาตะวันตก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๗ ปรัชญาตะวันตก
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดียปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
 
เรียนรู้หลักการทรงงานในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ฯ
เรียนรู้หลักการทรงงานในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ฯ เรียนรู้หลักการทรงงานในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ฯ
เรียนรู้หลักการทรงงานในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ฯ
 
สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่9
สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่9สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่9
สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่9
 
แนวข้อสอบบรรจุ ครูผู้ช่วย
แนวข้อสอบบรรจุ ครูผู้ช่วยแนวข้อสอบบรรจุ ครูผู้ช่วย
แนวข้อสอบบรรจุ ครูผู้ช่วย
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออกปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออก
 
พฤติกรรมการมาสาย
พฤติกรรมการมาสายพฤติกรรมการมาสาย
พฤติกรรมการมาสาย
 
เผด็จการ
เผด็จการเผด็จการ
เผด็จการ
 
ทฤษฏีการบริหาร
ทฤษฏีการบริหารทฤษฏีการบริหาร
ทฤษฏีการบริหาร
 
Is2 การสื่อสารและการนำเสนอ กลุ่ม2
Is2  การสื่อสารและการนำเสนอ  กลุ่ม2Is2  การสื่อสารและการนำเสนอ  กลุ่ม2
Is2 การสื่อสารและการนำเสนอ กลุ่ม2
 
ทฤ.หลักสูตร
ทฤ.หลักสูตรทฤ.หลักสูตร
ทฤ.หลักสูตร
 
ผลงานนักเรียนชั้น ม.6/1
ผลงานนักเรียนชั้น ม.6/1ผลงานนักเรียนชั้น ม.6/1
ผลงานนักเรียนชั้น ม.6/1
 
ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
 
รายชื่อหลักสูตรฝึกอาชีพมีงานทำของ สำนักงาน กศน
รายชื่อหลักสูตรฝึกอาชีพมีงานทำของ สำนักงาน กศนรายชื่อหลักสูตรฝึกอาชีพมีงานทำของ สำนักงาน กศน
รายชื่อหลักสูตรฝึกอาชีพมีงานทำของ สำนักงาน กศน
 
ประวัติการศึกษาไทย
ประวัติการศึกษาไทยประวัติการศึกษาไทย
ประวัติการศึกษาไทย
 
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖
 
การสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ในสังคมไทยปัจจุบัน
การสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ในสังคมไทยปัจจุบันการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ในสังคมไทยปัจจุบัน
การสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ในสังคมไทยปัจจุบัน
 

Viewers also liked

บทที่7นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่7นวัตกรรมทางการศึกษาบทที่7นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่7นวัตกรรมทางการศึกษาWanlayaa
 
บทที่7นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่7นวัตกรรมทางการศึกษาบทที่7นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่7นวัตกรรมทางการศึกษาThamonwan Kottapan
 
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้Natcha Wannakot
 
บทที่ 7 นวัตกรรมการศึกษา
บทที่ 7 นวัตกรรมการศึกษาบทที่ 7 นวัตกรรมการศึกษา
บทที่ 7 นวัตกรรมการศึกษาParitat Pichitmal
 
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้panisa thepthawat
 
นวัตกรรมการศึกษา 7 ประเภท
นวัตกรรมการศึกษา 7 ประเภทนวัตกรรมการศึกษา 7 ประเภท
นวัตกรรมการศึกษา 7 ประเภทNGamtip
 
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55Decode Ac
 
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษาบทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษาB'nust Thaporn
 
Chapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
Chapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษาChapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
Chapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษาNidnoy Thanyarat
 
นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้Aon Onuma
 
บทที่8การผลิตสื่อกราฟฟิกเพื่อการเรียนการสอน
บทที่8การผลิตสื่อกราฟฟิกเพื่อการเรียนการสอนบทที่8การผลิตสื่อกราฟฟิกเพื่อการเรียนการสอน
บทที่8การผลิตสื่อกราฟฟิกเพื่อการเรียนการสอนThamonwan Kottapan
 
Chapter7 นวัตกรรมทางการศึกษา
Chapter7 นวัตกรรมทางการศึกษาChapter7 นวัตกรรมทางการศึกษา
Chapter7 นวัตกรรมทางการศึกษาPrakaidao Suebwong
 
ตัวอย่างนวัตกรรม
ตัวอย่างนวัตกรรมตัวอย่างนวัตกรรม
ตัวอย่างนวัตกรรมsomdetpittayakom school
 

Viewers also liked (13)

บทที่7นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่7นวัตกรรมทางการศึกษาบทที่7นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่7นวัตกรรมทางการศึกษา
 
บทที่7นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่7นวัตกรรมทางการศึกษาบทที่7นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่7นวัตกรรมทางการศึกษา
 
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
 
บทที่ 7 นวัตกรรมการศึกษา
บทที่ 7 นวัตกรรมการศึกษาบทที่ 7 นวัตกรรมการศึกษา
บทที่ 7 นวัตกรรมการศึกษา
 
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
 
นวัตกรรมการศึกษา 7 ประเภท
นวัตกรรมการศึกษา 7 ประเภทนวัตกรรมการศึกษา 7 ประเภท
นวัตกรรมการศึกษา 7 ประเภท
 
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
 
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษาบทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
 
Chapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
Chapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษาChapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
Chapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
 
นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
 
บทที่8การผลิตสื่อกราฟฟิกเพื่อการเรียนการสอน
บทที่8การผลิตสื่อกราฟฟิกเพื่อการเรียนการสอนบทที่8การผลิตสื่อกราฟฟิกเพื่อการเรียนการสอน
บทที่8การผลิตสื่อกราฟฟิกเพื่อการเรียนการสอน
 
Chapter7 นวัตกรรมทางการศึกษา
Chapter7 นวัตกรรมทางการศึกษาChapter7 นวัตกรรมทางการศึกษา
Chapter7 นวัตกรรมทางการศึกษา
 
ตัวอย่างนวัตกรรม
ตัวอย่างนวัตกรรมตัวอย่างนวัตกรรม
ตัวอย่างนวัตกรรม
 

Similar to บทที่7 นวัตกรรมทางการศึกษา

Chapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
Chapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษาChapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
Chapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษาTeerasak Nantasan
 
งานนำเสนอ Chapter 7
งานนำเสนอ Chapter 7งานนำเสนอ Chapter 7
งานนำเสนอ Chapter 7Markker Promma
 
งานกลุ่ม Chapter 7
งานกลุ่ม Chapter 7งานกลุ่ม Chapter 7
งานกลุ่ม Chapter 7Pronsawan Petklub
 
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษาบทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษาKanatip Sriwarom
 
บทที่7 นวัตกรรมการศึกษา
บทที่7 นวัตกรรมการศึกษาบทที่7 นวัตกรรมการศึกษา
บทที่7 นวัตกรรมการศึกษาSattakamon
 
นวัตกรรมบทที่ 7
นวัตกรรมบทที่ 7นวัตกรรมบทที่ 7
นวัตกรรมบทที่ 7Setthawut Ruangbun
 
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษาบทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษาSasitorn Seajew
 
นวัตกรรมบทที่ 7
นวัตกรรมบทที่ 7นวัตกรรมบทที่ 7
นวัตกรรมบทที่ 7Setthawut Ruangbun
 
นวัตกรรมบทที่ 7
นวัตกรรมบทที่ 7นวัตกรรมบทที่ 7
นวัตกรรมบทที่ 7Setthawut Ruangbun
 
Chapter 7 by โจโจ้ซัง
Chapter 7 by โจโจ้ซังChapter 7 by โจโจ้ซัง
Chapter 7 by โจโจ้ซังTannoi Tesprasit
 

Similar to บทที่7 นวัตกรรมทางการศึกษา (20)

1413315061 chapter7
1413315061 chapter71413315061 chapter7
1413315061 chapter7
 
Charpter7miii
Charpter7miiiCharpter7miii
Charpter7miii
 
Chapter 7
Chapter 7Chapter 7
Chapter 7
 
Chapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
Chapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษาChapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
Chapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
 
งานนำเสนอ Chapter 7
งานนำเสนอ Chapter 7งานนำเสนอ Chapter 7
งานนำเสนอ Chapter 7
 
งานกลุ่ม Chapter 7
งานกลุ่ม Chapter 7งานกลุ่ม Chapter 7
งานกลุ่ม Chapter 7
 
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษาบทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
 
บทท 7
บทท  7บทท  7
บทท 7
 
บทที่7 นวัตกรรมการศึกษา
บทที่7 นวัตกรรมการศึกษาบทที่7 นวัตกรรมการศึกษา
บทที่7 นวัตกรรมการศึกษา
 
นวัตกรรมบทที่ 7
นวัตกรรมบทที่ 7นวัตกรรมบทที่ 7
นวัตกรรมบทที่ 7
 
Chapter7
Chapter7 Chapter7
Chapter7
 
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษาบทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
 
นวัตกรรมบทที่ 7
นวัตกรรมบทที่ 7นวัตกรรมบทที่ 7
นวัตกรรมบทที่ 7
 
Innovation chapter 7 p
Innovation chapter 7 pInnovation chapter 7 p
Innovation chapter 7 p
 
นวัตกรรมบทที่ 7
นวัตกรรมบทที่ 7นวัตกรรมบทที่ 7
นวัตกรรมบทที่ 7
 
Chapter 7
Chapter 7Chapter 7
Chapter 7
 
Chapter 7 by โจโจ้ซัง
Chapter 7 by โจโจ้ซังChapter 7 by โจโจ้ซัง
Chapter 7 by โจโจ้ซัง
 
Chapter7
Chapter7Chapter7
Chapter7
 
Inno present chapt7
Inno present chapt7Inno present chapt7
Inno present chapt7
 
Chap.7 (problem)
Chap.7 (problem)Chap.7 (problem)
Chap.7 (problem)
 

More from AomJi Math-ed

การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไร
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไรการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไร
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไรAomJi Math-ed
 
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไร
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไรการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไร
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไรAomJi Math-ed
 
บทที่10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
บทที่10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้บทที่10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
บทที่10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้AomJi Math-ed
 
บทที่9 การเลืกใช้สื่อแลัวิธีการจัดการเรียนรู้
บทที่9 การเลืกใช้สื่อแลัวิธีการจัดการเรียนรู้บทที่9 การเลืกใช้สื่อแลัวิธีการจัดการเรียนรู้
บทที่9 การเลืกใช้สื่อแลัวิธีการจัดการเรียนรู้AomJi Math-ed
 
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไร
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไรการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไร
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไรAomJi Math-ed
 
Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาChapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาAomJi Math-ed
 
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้AomJi Math-ed
 
Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้AomJi Math-ed
 
สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้AomJi Math-ed
 
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษาAomJi Math-ed
 
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษาการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษาAomJi Math-ed
 
สรุปความคิดเพื่อน
สรุปความคิดเพื่อนสรุปความคิดเพื่อน
สรุปความคิดเพื่อนAomJi Math-ed
 
เทคโนโลยีนวัตกรรมและการสื่อสาร
เทคโนโลยีนวัตกรรมและการสื่อสารเทคโนโลยีนวัตกรรมและการสื่อสาร
เทคโนโลยีนวัตกรรมและการสื่อสารAomJi Math-ed
 

More from AomJi Math-ed (14)

การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไร
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไรการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไร
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไร
 
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไร
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไรการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไร
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไร
 
บทที่10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
บทที่10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้บทที่10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
บทที่10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
 
บทที่9 การเลืกใช้สื่อแลัวิธีการจัดการเรียนรู้
บทที่9 การเลืกใช้สื่อแลัวิธีการจัดการเรียนรู้บทที่9 การเลืกใช้สื่อแลัวิธีการจัดการเรียนรู้
บทที่9 การเลืกใช้สื่อแลัวิธีการจัดการเรียนรู้
 
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไร
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไรการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไร
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไร
 
Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาChapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
 
Chapter 6
Chapter 6Chapter 6
Chapter 6
 
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
 
Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
 
สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้
 
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
 
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษาการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
 
สรุปความคิดเพื่อน
สรุปความคิดเพื่อนสรุปความคิดเพื่อน
สรุปความคิดเพื่อน
 
เทคโนโลยีนวัตกรรมและการสื่อสาร
เทคโนโลยีนวัตกรรมและการสื่อสารเทคโนโลยีนวัตกรรมและการสื่อสาร
เทคโนโลยีนวัตกรรมและการสื่อสาร
 

บทที่7 นวัตกรรมทางการศึกษา

  • 2. สถานการณ์ปัญหา กระทรวงศึกษาธิการต้องการให้ท่านเลือกและสร้างนวัตกรรมการเรียนรู้ ให้เหมาะสม กับบริบทของโรงเรียนทั้ง 3 แห่งคือ โรงเรียนเปรมสวัสดิ์ โรงเรียนมหาชัย โรงเรียนเทศบาลวัดธาตุ โรงเรียนเปรมสวัสดิ์ เป็นโรงเรียนที่อยู่ห่างไกลความเจริญ ไม่มีการเชื่อมโยงเครือข่าย อินเตอร์เน็ต แต่พอจะมีคอมพิวเตอร์ใช้บ้าง ซึ่งเป็นห้องคอมพิวเตอร์สำหรับนักเรียน ความต้องการ ของโรงเรียนคืออยากจะได้สื่อที่มาแก้ปัญหาการเรียนการสอนที่ช่วยกระตุ้นให้เด็กมีความสนใจใน การเรียนมากขึ้น สื่อนี้สามารถทำให้เด็กเห็นสภาพเสมือนจริง (Realistic) และเหมาะสมกับ การศึกษารายบุคคล โดยผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์กับสื่อโดยตรงอาจจะมี ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว เสียง หรือ วีดิทัศน์ ประกอบอยู่ในสื่อนั้น เพื่อสร้างความตื่นเต้นน่าสนใจ และสามารถย้อนทบทวนส่วนที่ ต้องการได้โดยไม่มีข้อจำกัด มีการประเมินเพื่อแก้ไขข้อบกพร่องของตนเองได้ อาจจะออกแบบมา ในลักษณะของเกม หรือลักษณะที่กระตุ้นให้ผู้เรียนให้มีความกระตือรือร้นมากขึ้นทั้งนี้ก็สอดแทรก เนื้อหาวิชาการเข้าไว้อย่างเหมาะสม
  • 3. โรงเรียนมหาชัย ต้องการนวัตกรรมที่สามารถแก้ไขข้อจำกัดด้านสถานที่ และเวลา โดย ประยุกต์ใช้คุณสมบัติ เวิล์ด ไวด์ เว็บ ที่โรงเรียนมีอยู่ ในการจัดสภาพแวดล้อมและสนับสนุนการเรียน การสอน สิ่งแรกที่ต้องมีคือการลงทะเบียนเพื่อขอรหัสผ่านเข้าเรียน หลังจากนั้นผู้เรียนศึกษาเนื้อหาอาจ เป็นการอ่านบนจอหรือโหลดเนื้อหาลงมาที่เครื่องของตน หรือสั่งพิมพ์ทางเครื่องพิมพ์เพื่อศึกษา ภายหลังก็ได้ ผู้เรียนสามารถกำหนดการเรียนได้ด้วยตนเอง (Self-directed) เปิดโอกาสให้เลือกเรียนได้ ตามสะดวก สามารถ กำหนดกรอบเวลาในการเรียนรู้ได้เหมาะสมกับความสามารถในการเรียนรู้ของ ตนเอง คลอบคลุมทั้งการเรียนแบบประสานเวลา (Synchronous Learning) และไม่ประสานเวลา (Asynchronous Learning) และสามารถถามคำถาม ทำแบบฝึกหัด ทำรายงานกลุ่ม อภิปรายแลกเปลี่ยน ความคิดเห็นแก่ผู้เรียนคนอื่น ๆ ได้ และยังสามารถเข้าถึงเนื้อหาได้ทุกที่ ทุกเวลา ทุกสถานที่ โรงเรียนเทศบาลวัดธาตุ ต้องการออกแบบนวัตกรรมการเรียนรู้ที่เน้นให้ผู้เรียนสามารถ สร้างความรู้ด้วยตนเอง โดยการเผชิญสถานการณ์ปัญหา มีแหล่งเรียนรู้ให้ผู้เรียนได้สืบค้น เมื่อไม่ สามารถแก้ปัญหาได้ก็มีฐานความช่วยเหลือ พร้อมทั้งมีเครื่องมือที่สนับสนุนการร่วมมือกันแก้ปัญหา สามารถแลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่างกันได้ตลอดเวลา นอกจากนี้นวัตกรรมที่พัฒนาขึ้นต้องสามารถ นำมาใช้ได้ในหลายบริบทเนื่องจากผู้เรียนมีความแตกต่างกัน บางกลุ่มชอบที่จะเรียนบนเครือข่าย บาง กลุ่มชอบที่จะเรียนแบบมัลติมีเดีย และบางกลุ่มชอบที่จะสามารถนำไปใช้เรียนได้ทุกสถานที่ไม่ว่าจะ เป็นใต้ร่มไม้ หรือสถานที่ที่ไม่มีคอมพิวเตอร์ก็สามารถใช้เรียนรู้เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพได้
  • 4. ภารกิจ 1. อธิบายความหมายและจำแนกประเภทของสิ่งแวดล้อมทางการ เรียนรู้ 2. วิเคราะห์เลือกใช้นวัตกรรมการเรียนรู้ ให้สอดคล้องกับบริบทของ โรงเรียนทั้ง 3 แห่งนี้ 3. จากประเภทของนวัตกรรมการเรียนรู้ในบทที่ 7 ให้นักศึกษาเสนอ นวัตกรรมการเรียนรู้ที่สอดคลองกับลักษณะวิชาเอกที่นักศึกษาจะ ปฏิบัติหน้าที่สอน พร้อมทั้งอธิบายเหตุผล
  • 5. ภารกิจที่ 1 อธิบายความหมายและจำแนกประเภทของสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้เป็นการออกแบบโดยนำทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์มา เป็นพื้นฐานที่ประสานรวมกันระหว่าง “สื่อ (Media)” กับ “วิธีการ (Methods)” สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ คือ การเน้นการที่ผู้เรียนสร้างความรู้โดยตนเอง โดย ผ่านการปฏิบัติลงมือกระทำด้วยตนเอง การพัฒนาศักยภาพทางการคิด ตลอดจนการ แสวงหาความรู้ด้วยตนเอง ซึ่งเป็นการเปิดโอกาสให้ผู้เรียน วางแผน ดำเนินการและการ ประเมินตนเอง และมีปฏิสัมพันธ์กับแหล่งการเรียนรู้ต่างๆ ได้แก่ ครู เทคโนโลยี พ่อแม่ ภูมิปัญญาท้องถิ่น และบุคคลอื่น ๆ ตลอดจน สื่อต่างๆ เพื่อที่จะนำมาสู่การสร้างความรู้ โดยการเชื่อมโยงความรู้เดิมกับความรู้ใหม่ เพื่อขยายโครงข่ายทางปัญญา
  • 6. จำแนกประเภทของสิ่งแวดล้อมทางการ เรียนรู้ตามบริบทของสื่อและคุณลักษณะของ สื่อได้3 ลักษณะ ได้แก่ 1) สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้บนเครือข่ายตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ เป็นโนด(Node) ของความรู้ที่เชื่อมโยงกัน(Link) เป็นเครือข่ายทั่ว โลก ซึ่งแต่ละโหนดความรู้จะสนับสนุนผู้เรียนในการเชื่อมโยงปูพื้นฐานความรู้ที่ ช่วยในการสร้างความรู้ตลอดจนคุณลักษะด้านการสื่อสารที่สามารถใช้แลกเปลี่ยน ความรู้ แนวคิด และขยายมุมมองระหว่างกันได้ตลอดเวลาที่จะสนับสนุนการขยาย โครงสร้างทางปัญญาของผู้เรียน
  • 7. 3) ชุดสร้างความรู้ เป็นการนำทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์มาเป็นพื้นฐานในการออกแบบ โดย ประสานร่วมกับการนำสื่อประเภทต่างๆ เช่น สื่อสิ่งพิมพ์ หนังสือ วีดิทัศน์ มีหลักการและองค์ประกอบที่สำคัญได้แก่ สถานการณ์ปัญหา แหล่งการ เรียนรู้ ฐานความช่วยเหลือ การร่วมมือกันแก้ปัญหาและการโค้ช 2) มัลติมีเดียตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ เป็นการนำทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์มาเป็นพื้นฐานในการออกแบบ โดย ประสานร่วมกับคุณลักษณะของมัลติมีเดียที่นาเสนอทั้งข้อความ ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว และเสียง รวมทั้งการเชื่อมโยงหลายมิติ(Hyperlink) มีหลักการที่สำคัญคือ สถานการณ์ปัญหา แหล่งการเรียนรู้ ฐานความ ช่วยเหลือ ผู้ฝึกสอน และการร่วมมือกันแก้ปัญหา
  • 8. ภารกิจที่ 2 วิเคราะห์เลือกใช้นวัตกรรมการเรียนรู้ ให้สอดคล้องกับบริบทของ โรงเรียนทั้ง 3 แห่งนี้ โรงเรียนเปรมสวัสดิ มัลติมีเดีย -สามารถนำเสนอได้ทั้งเสียง ข้อความ ภาพเคลื่อนไหว ดนตรี กราฟิก ภาพถ่าย วัสดุ ตีพิมพ์ ภาพยนตร์ และวีดิทัศน์ -ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้ด้วยตนเองแบบเชิงรุก ทำให้นักเรียนได้รับประสบการณ์ ตรง -สนองต่อรูปแบบของการเรียนของนักเรียนที่แตกต่างกัน -สามารถนำเสนอความรู้ได้หลายสื่อและเสมือนจริง -อาจเรียนหรือฝึกซํ้าได้
  • 9. โรงเรียนเทศบาลวัดธาตุ สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ -เน้นการสร้างความรู้ด้วยตนเอง โดยการลงมือกระทำและมีการเชื่อมโยงความรู้เดิมกับ ความรู้ใหม่เพื่อสร้างโครงสร้างทางปัญญา -สามารถแยกตามบริบทของสื่อและคุณลักษณะของสื่อ เพื่อตอบสนองต่อความ หลากหลายทางการเรียนรู้ ดังนี้ (1) สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้บนเครือข่ายตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ (2) มัลติมีเดียตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ (3) ชุดสร้างความรู้ -หลักสำคัญสำหรับการออกแบบ ได้แก่ (1) สถานการณ์ปัญหา ทำให้ผู้เรียนสามารถสร้างความรู้ใหม่ขึ้นมาได้ (2) แหล่งเรียนรู้ เป็นแหล่งที่ผู้เรียนจะใช้ในการแสวงหาและค้นพบคำตอบ (3) ฐานความช่วยเหลือ เป็นคำแนะนำ แนวทางต่างๆในการแก้ปัญหา (4) การโค้ช ครูจะให้ความรู้แก่ผู้เรียนในเชิงการให้การรู้คิดและการสร้าง ปัญญา การร่วมมือกันแก้ปัญหา สนับสนุนผู้เรียนได้แลกเปลี่ยนประสบการณ์กับผู้อื่น
  • 10. โรงเรียนมหาชัย E-Learning -ผู้เรียนเข้าเว็บได้ทุกเวลา และเป็นผู้กำหนดลำดับการเข้าเว็บนั้นหรือตามลำดับ ที่ผู้ออกแบบได้ให้แนวทางไว้ -มีการเรียนรู้อย่างมีปฏิสัมพันธ์และเรียนรู้ร่วมกัน -การเรียนดำเนินไปโดยไม่จำกัดเวลาและสถานที่
  • 11. ภารกิจที่ 3 จากประเภทของนวัตกรรมการเรียนรู้ในบทที่ 7 ให้นักศึกษาเสนอ นวัตกรรมการเรียนรู้ที่สอดคลองกับลักษณะวิชาเอกที่นักศึกษาจะ ปฏิบัติหน้าที่สอน พร้อมทั้งอธิบายเหตุผล เนื่องจากวิชาคณิตศาสตร์เป็นวิชาที่สามารถคิดหาคำตอบได้มากมายหลายวิธี และ สามารถแลกเปลี่ยนวิธีการคิดซึ่งกันและกันเพื่อพัฒนาให้เป็นวิธีที่น่าสนใจและประยุกต์ใช้ได้ จริงในสังคมแบบสมบูรณ์ที่สุด ดังนั้น นวัตกรรมการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับวิชาคณิตศาสตร์ คือ E –learning เพราะเป็นการเรียนที่ใช้เทคโนโลยีอสมวาร (Asynchronous Technologies) เป็น เทคโนโลยีที่ทำให้มีการเรียนดำเนินไปโดยไม่จำกัดเวลาและสถานที่หรือเป็นการเรียนที่ไม่ พร้อมกันหมายถึงวิธีการใดก็ตามที่ช่วยให้มีการเรียนรู้อย่างมีปฎิสัมพันธ์ (Interactive Learning) และการเรียนรู้ร่วมกัน (Collaborative Learning) โดยใช้แหล่งทรัพยากรที่อยู่ห่างไกล (Remote Resource) ที่สามารถเข้าถึงได้ตามเวลาและสถานที่ที่ผู้เรียนมีความสะดวกหรือต้องการ เกี่ยวข้อง กับการใช้เทคโนโลยีการสื่อสารทางไกล เพื่อขยายการเรียนการสอนออกไปนอกเหนือจากชั้น เรียนหรือในห้องเรียนและการเรียนที่เป็นการพบกันโดยตรง
  • 12. สมาชิก นางสาวพรพิมล จันทร์สว่าง 563050111-3 นางสาวรติยากร คชา 563050126-0 นางสาวศินารักษ์ สุขโต 563050140-6 นางสาวนิดาวรรณ เพียสุพรรณ 563050370-9