SlideShare a Scribd company logo
1 of 39
Download to read offline
การพัฒนาหลักสูตรและการสอน
     ทฤษฎีและหลักการ


            โดย
     นายธวัชชัย บุญช่วย
     นายโตมร เข็มมงคล

                            1
ทฤษฎีหลักสูตร

      ความหมายของทฤษฎี ตามพจนานุกรมภาษาไทย หมายถึง
ความเห็น การเห็น การเห็นด้วยใจ ลักษณะที่คิดคาด เอาตามหลักวิชา
เพื่อเสริมเหตุผลและรากฐานให้แก่ปรากฏการณ์ หรือข้อมูลใน
ภาคปฏิบัติ ซึ่งเกิดขึ้นอย่างมีระเบียบ




                                                                2
ความหมายของทฤษฎี ตามพจนานุกรมภาษาอังกฤษ คือ การ
อธิบายเกี่ยวกับหลักการทั่วไปทั้งทางศิลปะและวิทยาศาสตร์ (ตรงกันข้าม
กับการปฏิบัติ) ทฤษฎีเป็นการให้เหตุผลประกอบการอธิบายความจริงหรือ
ข้อเท็จจริง หรือเหตุการณ์ต่างๆ เช่นทฤษฎีวิวัฒนาการของดาร์วิน และ
ทฤษฎีเป็นความคิดที่ไม่จาเป็นต้องมีเหตุผลก็ได้ เช่น ทฤษฎีว่าการสวม
หมวกทาให้ผู้ชายหัวล้าน



                                                                     3
 บางความหมายมีว่า ทฤษฎีเป็นมุมมองด้านจิตใจ เป็นความคิดหรือการว่าง
  แผนอยู่ในใจเกี่ยวกับวิธีทาอะไรหรือทาสิ่งใดสิ่งหนึ่ง อาจเป็นระบบ
  ข้อความหรือของหลักการต่างๆ ที่รวบรวมเข้าไว้ด้วยการ

 ทฤษฎีเป็นความคิดใดความคิดหนึ่งหรือรูปแบบความคิดหลายความคิด
  รวมกัน ทั้งนี้เพื่อตั้งใจอธิบายเกี่ยวกับบางสิ่งบางอย่าง ทฤษฎีมีรากฐานมา
  จากความจริง และการให้เหตุผลเชิงพินิจพิเคราะห์ แต่ถึงอย่างไรทฤษฎีก็
  ยังไม่ได้รับการพิสูจน์อย่างสมบูรณ์

                                                                        4
องค์ประกอบของทฤษฎี
ทฤษฎีมีองค์กระกอบ 3 มิติดังนี้
   1. สิ่งทีรู้แล้ว (Events of Known Dimensions)
             ่
   2. สิ่งที่สมมติหรือคาดคะเนว่ารู้ (Events of Assumed Dimensions)
   3. สิ่งที่ยังไม่รู้ (Events of Unknown Dimensions)

                            1

                 2                          3
                                                                     5
สรุปความหมายของทฤษฎี

     ทฤษฎี เป็นแนวทางการปฏิบัติงานอย่างมีกฎเกณฑ์ ระเบียบแบบ
แผนเพื่อให้งานมีประสิทธิภาพ และพร้อมกันนั้น การปฏิบัติยังนาไปสู่
ทฤษฎีได้อีกด้วย ถ้าการปฏิบัตินั้นได้ผลสม่าเสมอ ทฤษฎีจึงเป็นสากล
เพราะพิสูจน์ ทดลอง หาเหตุผลได้ สอดคล้องกับที่ แพนกราซิ และดาสต์
(Pangrazi and Darst. 1985:31) กล่าวว่า ทฤษฎี คือรูปแบบที่แสดงถึง
ความสัมพันธ์ระหว่างกันของความคิด (Ideas) หรือความคิดรวบยอด
(Concepts) ที่มีการอธิบายเกี่ยวกับวิชานั้นๆไว้อย่างมีระบบระเบียบ


                                                                   6
ความสัมพันธ์ระหว่างทฤษฎีกับการปฏิบัติ

 การปฏิบัติ

 การปฏิบัติ            ทฤษฎี                      การปฏิบัติ

 การปฏิบัติ
                                                 การปฏิบัติ
                           ทฤษฎี                 การปฏิบัติ
กฎเกณฑ์                                          การปฏิบัติ
                                   การวิจัย
                    สูตร
                                                               7
ทฤษฎีการสอน
 ทฤษฎีหลักสูตร (Curriculum Theory) คือ สิ่งที่ใช้เป็นพื้นฐานสาหรับการตัดสินใจ
  เกี่ยวกับจุดมุ่งหมาย เนื้อหา โครงสร้าง ผลผลิต (การจัดลาดับ) และการประเมินผล
  เกี่ยวกับการว่างแผนหลักสูตร (Bain.1978)
           ทฤษฎีหลักสูตรยังช่วยให้ผู้วางแผนหลักสูตรพลศึกษาเกิดความคิดหรือแนวคิด
  เกี่ยวกับการคัดเลือกและจัดเนื้อหาวิชาต่างๆ ช่วยในการคาดคะเน เกี่ยวกับ
  ความสัมพันธ์ระหว่างกันของเนื้อหาและกระบวนการสอน
 ทฤษฎีการสอน (Instructional Theory) แตกต่างจากทฤษฎีหลักสูตรตรงที่มุ่งเน้น
  เฉพาะองค์ประกอบของกระบวนการเรียนการสอน(teaching-learning process)
  เกี่ยวข้องกับการที่ว่าทาอย่างไรจึงจะให้องค์ประกอบของการสอนมีผลต่อการเรียนรู้ของ
  ผู้เรียน (Pangrazi and Darst.1985)

สรุป ทั้งทฤษฎีหลักสูตร และทฤษฎีการสอน จะไม่แยกออกจากกันต้องทาควบคู่กันไป
   เสมอ

                                                                                 8
ประโยชน์ของทฤษฎี
  1. เกิดความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลกับข้อมูลซึ่งเป็นข้อเท็จจริงได้
  2. เกิดการแบ่งแยกหรือแบ่งชั้น(classification) หรือเกิดความคิดรวบยอด
         (concept)ในสิ่งใดสิ่งหนึ่งขึ้นมา
  3. คาดคะเนข้อมูลหรือข้อเท็จจริงได้
  4. ทาให้มีการวิจัยค้นคว้าต่อเนื่อง
  5. ใช้เป็นเหตุผลประกอบการอธิบายปรากฏการณ์ต่างๆได้
  6. เป็นแนวทางปฏิบัติให้เกิดผลต่อไป


                                                                    9
(Conception of Curriculum)
                ตามรากศัพท์มาจากภาษาลาตินว่า currere หมายถึง
                Running course หรือเส้นทางที่ใช้ในการวิ่ง


ต่อมาเมือใช้กับการศึกษา จึงหมายถึง running sequence of courses
          ่
or learning experience เปรียบหลักสูตรเหมือนสนามหรือลู่วิ่งให้
ผู้เรียนฟันฝ่าความยากของวิชาหรือประสบการณ์การเรียนรู้ต่างๆ
ที่กาหนดไว้ในหลักสูตร
ตามอักษรย่อ SOPEA
1. Curriculum as Subject and Subject Matter
       หลักสูตร คือ รายวิชาหรือเนื้อหาที่เรียน
2. Curriculum as Objectives
       หลักสูตร คือ จุดมุ่งหมายที่ผู้เรียนพึงบรรลุ
3. Curriculum as Plan
       หลักสูตร คือ แผนสาหรับจัดโอกาสการเรียนรู้หรือประสบการณ์ทคาดหวังแก่ผู้เรียน
                                                                 ี่
4. Curriculum as Learners Experiences
       หลักสูตร คือ ประสบการณ์ทั้งปวงของผู้เรียนที่จดโดยโรงเรียน
                                                    ั
5. Curriculum as Educational Activities
      หลักสูตร คือ กิจกรรมทางการศึกษาที่จัดให้กับผู้เรียน
ตามอักษรย่อ SOPEA
1. Curriculum as Subject and Subject Matter
           หลักสูตร คือ รายวิชาหรือเนือหาที่เรียน
                                          ้
หลักสูตรเป็นรายวิชาหรือเนื้อหาทีเ่ ตรียมให้ผู้เรียนในระดับการศึกษาต่างๆ
นักการศึกษาที่ให้ความหมายหลักสูตรในลักษณะนี้ คือ
Boobbitt (1918, p. 72) “หลักสูตร หมายถึง รายการที่สร้างประสบการณ์
ในทุกอย่างที่เด็กและเยาวชนจะต้องทาและจะต้องประสบ ทาให้เกิดการ
พัฒนาความสามารถเพื่อจะทาสิ่งต่างๆ ให้ดีขึ้นและเหมาะสมสาหรับดารง
ชีวิตในวัยผู้ใหญ่
Good (1973, p. 154) “หลักสูตร คือ กลุ่มรายวิชาที่จัดไว้อย่างมีระบบหรือ
ลาดับวิชาที่บังคับ สาหรับการจบการศึกษาหรือเพือรับประกาศนียบัตรใน
                                                    ่
วิชาหลักๆ”
2. Curriculum as Objectives
                 หลักสูตร คือ จุดมุ่งหมายที่ผเู้ รียนพึงบรรลุ
หลักสูตรในความหมายนี้ หมายถึง             สิ่งที่ผู้เรียนต้องเรียนทั้งในและ
นอกห้องเรียน เพื่อให้บรรลุจุดหมายและจุดประสงค์ที่ได้กาหนดไว้
นักการศึกษาที่ให้ความหมายนี้ ได้แก่
Lavatelli and others (1972, p.1-2) “หลักสูตรเป็นชุดของการเรียนและ
ประสบการณ์สาหรับเด็ก ซึ่งโรงเรียนวางแผนไว้เพื่อให้เด็กบรรลุถึง
จุดหมายของการศึกษา”
Johnson ((1970, p.25) “หลักสูตรเกี่ยวข้องกับสิ่งที่ผู้เรียนต้องเรียนรู้หรือ
สามารถทาได้ หลักสูตรคือ ผลทีออกมาไม่ใช่สิ่งที่เกิดขึ้น เป็นความคาดหวัง
                             ่
หรือความตั้งใจ”
3. Curriculum as Plan
    หลักสูตร คือ แผนสาหรับจัดโอกาสการเรียนรูหรือประสบการณ์
                                            ้
                    ที่คาดหวังแก่ผู้เรียน
หลักสูตรในความหมายนี้ เน้นการแสดงเกียวกับจุดหมายหรือวัตถุประสงค์
                                        ่
การออกแบบหลักสูตร การนาหลักสูตรไปใช้ และการประเมินผล เพือเป็น       ่
แนวทางให้ผทเี่ กียวข้องได้ปฏิบติ โดยมุงให้ผเู้ รียนมีความรูความสามารถและ
            ู้ ่                ั     ่                    ้
พฤติกรรมตามทีกาหนดในหลักสูตร นักการศึกษาทีให้ความหมายนี้คอ
                ่                                   ่             ื
            Saylor & Alexander (1974, p. 6) “หลักสูตรเป็นแผนสาหรับจัดโอกาส
การเรียนรูให้แก่บคคลกลุมใดกลุมหนึ่ง เพื่อบรรลุเป้าหมายหรือจุดหมายที่
          ้       ุ     ่         ่
วางไว้ โดยมีโรงเรียนเป็นผูรบผิดชอบ
                             ้ั
            Taba (1962, p. 10-11) หลักสูตร คือ แผนการเรียนรูทประกอบด้วย
                                                                      ้ ี่
จุดประสงค์และจุดหมายเฉพาะการเลือกและการจัดเนื้อหา วิธการจัดการเรียน
                                                             ี
การสอนและการประเมินผล
4. Curriculum as Learners Experiences
หลักสูตร คือ ประสบการณ์ทงปวงของผู้เรียนที่จดโดยโรงเรียน
                        ั้                 ั

  มุมมองของหลักสูตรในความหมายนี้ คือ เน้นความสาคัญที่ประสบการณ์ ที่จัดให้ผู้เรียน
  โดยโรงเรียนเป็นผูรับผิดชอบ
                   ้
              wheeler (1974, p. 11) “หลักสูตรเป็นประสบการณ์ที่นักเรียน
  ได้รับทั้งภายในและภายนอกโรงเรียน เพื่อให้นักเรียนมีการพัฒนาด้านร่างกาย
  สังคม ปัญญา และจิตใจ
5. Curriculum as Educational Activities
           หลักสูตร คือ กิจกรรมทางการศึกษาที่จัดให้กับผู้เรียน
หลักสูตรในความหมายนี้ เป็นกิจกรรมการเรียนการสอนทีจดให้ผู้เรียนได้มีความรู้
                                                  ่ั
ประสบการณ์ และคุณลักษณะทีพึงประสงค์ตามที่กาหนดไว้
                          ่

         Trump and Miller “หลักสูตร คือ กิจกรรมการเรียน
การสอนวิชาต่างๆ ทีเ่ ตรียมการไว้และจัดให้แก่นกเรียนโดยโรงเรียน หรือระบบ
                                             ั
โรงเรียน
ความหมายของหลักสูตร
ตามทัศนะนักการศึกษาไทย
ดร.ธารง บัวศรี “หลักสูตร หมายถึง ประสบการณ์ทกๆ อย่างที่
                                             ุ
 โรงเรียนจัดให้แก่เด็ก”
„ ดร.เอกวิทย์ ณ ถลาง “หลักสูตร หมายถึง ประมวลประสบการณ์
  ทั้งหมดทีจัดให้กับเด็กได้เรียนเนื้อหาวิชา ทัศนคติ แบบพฤติกรรม
           ่
  กิจวัตร สิ่งแวดล้อมต่างๆ ฯลฯ เมือประมวลกันเข้าแล้วก็จะเป็น
                                         ่
  ประสบการณ์ทผ่านเข้าไปในการรับรูของเด็กๆ”
                ี่                     ้
หลักสูตร คือ เอกสารทีกาหนดโครงการศึกษาของผู้เรียน
                     ่
หลักสูตร คือ รายวิชาทั้งหมดทีโรงเรียนหรือสถาบันการศึกษาจัดให้เรียน
                             ่
หลักสูตร คือ ประสบการณ์ทุกอย่างที่นกเรียนหรือนักศึกษาพึงได้รบภายใต้การแนะแนว
                                    ั                       ั
                ของโรงเรียนหรือสถาบันการศึกษา
หลักสูตร คือ ประสบการณ์ทุกอย่างที่นกเรียนหรือนักศึกษาพึงได้รบโดยไม่จากัดว่าเมื่อไร
                                      ั                       ั
                และอย่างไร
แบ่งเป็น 2 กลุม
                                                                         ่
กลุ่มที่ 1 : หลักสูตร หมายถึง แผน ประสบการณ์การเรียน มองหลักสูตร
               ในลักษณะทีเ่ ป็นเอกสารหรือโครงการศึกษาที่สถาบันการศึกษา
                        ได้จัดวางแผนไว้เพื่อให้ผู้เรียนได้ศึกษาตามแผน หรือโครงการ
               ที่กาหนดไว้ ซึ่งรวมถึงรายวิชา เนื้อหาวิชา กิจกรรมการเรียน
               การสอนและการประเมินผล
กลุ่มที่ 2 : หลักสูตร หมายถึง ประสบการณ์การเรียนของผูเ้ รียน         ที่
              สถาบันการศึกษาจัดให้ ซึ่งรวมถึงแผนประสบการณ์การเรียน
              การนาหลักสูตรไปใช้ หลักสูตรประกอบด้วยเป้าหมาย และ
              จุดมุ่งหมายเฉพาะ ซึ่งบ่งถึงการเลือก การจัดเนื้อหาและแสดง
              ถึงการเรียนการสอน รวมทั้งการประเมินผลด้วย
1. วิทยาการที่สร้างเสริมประสบการณ์ชีวิต เป็นสิ่งที่อานวยความรู้และ
      ประสบการณ์ต่างๆ ที่มนุษย์จาเป็นต้องรับรู้เพื่อการดาเนินชีวิตอยู่ใน
      สังคมนั้น
2. ประมวลทักษะต่างๆ เป็นสิ่งที่จาเป็นสาหรับที่จะทาให้ผู้เรียนได้นา
      ไปใช้ในการแสวงหาความรู้เพิ่มเติมในการดาเนินชีวิตของตนต่อไป
3. กระบวนการสาหรับสร้างคุณค่าของชีวิต ค่านิยมและการตัดสินใจ
      เป็นการเน้นบทบาทของแต่ละบุคคลในฐานะที่เป็นสมาชิกของสังคม
4. กระบวนการทางสติปัญญา              เป็นการสร้างความสามารถในการแก้ปัญหา
      ให้กับผู้เรียน ทาให้สามารถขจัดความขัดแย้งหรือทาให้เกิด
      ความสามารถในการเปรียบเทียบในการอนุมานจากข้อเท็จจริงต่างๆ
5. ประสบการณ์ด้านสุนทรียภาพ เป็นการสร้างด้านศิลปะ ดนตรี และ
      นาฎศิลป์ เป็นการรักษามรดกและวัฒนธรรมของชาติ
6. กระบวนการปฏิบัติการณ์ เป็นการฝึกให้ผู้เรียนได้รู้จักใช้ความคิดสร้างงานฝึก
      ทักษะในงานและอาชีพอันเป็นสิงสาคัญในการดารงชีวิต
                                   ่

 สรุป
หลักสูตร คือ ประมวลประสบการณ์ทุกชนิดที่ครูสร้างสรรค์ให้กับผู้เรียน
             เพื่อให้ผู้เรียนพัฒนาตนเองให้สามารถดารงชีวิตอยู่ได้ใน
             สังคมอย่างมีความสุขและเจริญงอกงาม
บทบาทสาคัญของหลักสูตร

                        ทุกระดับของการศึกษา
หลักสูตร ระบุสิ่งที่คาดหวังให้เกิดขึ้นกับผู้เรียน และแนวทางจัดให้ผู้เรียนได้รับ
         ประสบการณ์

หลักสูตร เปรียบเสมือนพิมพ์เขียวในการสร้างบ้าน ส่วนการสอนเป็นกระบวนการ
         หรือวิธีการ

หลักสูตร ระบุสิ่งที่จะสอนในโรงเรียน ระบุสิ่งที่ผู้เรียนควรจะเรียนรู้
การกาหนดประเภทของหลักสูตรขึ้นอยู่กับการตอบสนอง
ผลสัมฤทธิ์ทางการจัดการเรียนการสอน และสถานการณ์ต่างๆ ที่
เหมาะสม การจะเลือกใช้หลักสูตรประเภทใด ขึ้นอยูกับสถานการณ์
                                             ่
จุดหมายปลายทางของการจัดการศึกษาแต่ละประเภทและระดับ
การศึกษาเป็นสาคัญ แบ่งได้ดังนี้
    1. หลักสูตรที่ยึดเอาสาขาวิชาและเนื้อหาวิชาเป็นหลัก
    2. หลักสูตรที่ยึดเอาผู้เรียนเป็นหลัก
    3. หลักสูตรที่ยึดเอากระบวนการทางทักษะเป็นหลัก
1. หลักสูตรประเภทที่ยึดเอาสาขาวิชาและเนื้อหาวิชาเป็นหลัก

 • หลักสูตรแยกรายวิชาหรื อเนือหาวิชา
                             ้
              จะแบ่งแยกรายวิชาออกเป็ นส่วนๆ เพื่อให้ เห็น
 รายวิชาและเนื ้อหาสาระเฉพาะอย่าง เป็ น หลักสูตร
 ที่ผ้ เู รี ยนได้ รับความรู้เพียงอย่างเดียว และความรู้นน
                                                        ั้
 เกิดจาก การท่องจาเป็ นสาคัญ ผู้เรี ยนจะนาไป
 วิเคราะห์หรื อนาไปใช้ ประโยชน์ได้ น้อย เพราะไม่มี
 เวลาฝึ กฝนทางด้ านอื่นๆ นอกจากการท่องจา
   หลักสูตรประเภทนี ้ใช้ มาเป็ นเวลานาน บางแห่งก็
1. หลักสูตรประเภทที่ยึดเอาสาขาวิชาและเนื้อหาวิชาเป็นหลัก

 หลักสูตรสหพันธ์หรือหลักสูตรสัมพันธ์วิชา
    เป็ นหลักสูตรทีพฒนาจากหลักสูตรแยกรายวิชาด้วยการรวมเอาส่วน
                   ่ ั
  ทีเหมือนกันทังในด้านลักษณะของวิชา คุณค่าและความสาคัญของ
    ่            ้
  วิชาและในส่วนทีมความสัมพันธ์และเกียวข้องมาไว้ดวยกัน
                    ่ ี             ่           ้
1. หลักสูตรประเภทที่ยึดเอาสาขาวิชาและเนื้อหาวิชาเป็นหลัก

 หลักสูตรหลอมรวมวิชา
   เป็ นหลักสูตรทีนาเอาวิชาทีมความใกล้เคียงกันมาหลอมรวมกัน
                   ่         ่ ี
  แล้วจัดขึนเป็นรายวิชาใหม่ เช่น วิชาสัตว์ศาสตร์กบวิชาพืชศาสตร์
           ้                                     ั
  หลอมรวมกันแล้วเป็ นวิชาชีววิทยา หลักสูตรการหลอมรวมวิชาจะมี
  ความคล่องตัวและความยืดหยุน ผูเรียนได้มโอกาสเรียนรูพนฐาน
                               ่ ้          ี          ้ ้ื
  ความรูต่างๆ ทีเหมาะสมและตามความต้องการของผูเรียน
         ้       ่                                 ้
1. หลักสูตรประเภทที่ยึดเอาสาขาวิชาและเนื้อหาวิชาเป็นหลัก

 หลักสูตรแกนวิชา
      เป็ นหลักสูตรทีจดขึนเพือการรวบรวมเนื้อหาความรูและ
                     ่ั ้ ่                           ้
  ประสบการณ์
  ให้มความสัมพันธ์และผสมผสานกัน แต่มวชาใดวิชาหนึ่งเป็ นวิชาหลัก
        ี                                   ีิ
  หรือวิชาแกน วิชาหลักนันเป็ นวิชาทีผเู้ รียนมีความจาเป็ นทีจะต้องรู้
                            ้        ่                      ่
  เพือ
    ่
  การเรียนรูพนฐานวิชาต่างๆ อันเป็ นประโยชน์ต่อชีวตของตนเอง
              ้ ้ื                                  ิ
2. หลักสูตรที่ยึดผู้เรียนเป็นหลัก
 หลักสูตรที่ใช้ผเรียนเป็ นศูนย์กลาง
                 ู้
       เป็ นหลักสูตรทีวาด้วยหลักการทีวา มนุษย์ทุกคนจะมีความแตกต่าง
                      ่่             ่่
  กัน ดังนันในการจัดทาหลักสูตร จึงกาหนดให้คานึงถึงความต้องการและ
            ้
  ความสนใจของผูเรียนเป็ นสาคัญในหนึ่งวิชาอาจจะมีหลักสูตรทีแตกต่าง
                   ้                                       ่
  กันออกไปทังในด้านเนื้อหา และกิจกรรมการเรียน คือ หลักสูตร จะมีการ
               ้
  จัดเนื้อหา การจัดกิจกรรม หรือสือการเรียนหลายชนิด รวมทังครูผสอน
                                 ่                       ้ ู้
2. หลักสูตรที่ยึดผู้เรียนเป็นหลัก
 หลักสูตรประสบการณ์
  ใช้กนมากในการจัดหลักสูตรระดับประถมศึกษา หลักสูตรประเภทนี้อยู่
        ั
  บนพืนฐานทีประสบการณ์ทผเรียนได้รบมา ซึงเป็ นบ่อเกิดของการเรียนรู้
           ้  ่                ่ี ู้     ั   ่
  ทีมประสิทธิภาพ และสามารถเปลียนแปลงพฤติกรรมของผูเรียนได้
    ่ ี                              ่                 ้
  การจัดการหลักสูตรจึงเป็ นการจัดเพือเสริมสร้างประสบการณ์การเรียนรู้
                                       ่
          ั ้                    ้ั        ั
  ให้กบผูเรียน และให้ผเู้ รียนรูจกการแก้ปญหา




                                                                 29
2. หลักสูตรที่ยึดผู้เรียนเป็นหลัก
 หลักสูตรบูรณาการ
      เป็ นหลักสูตรทีนกพัฒนา ได้นามาใช้ในหลักสูตรประถมศึกษาด้วยการ
                     ่ ั
  มุงหวังว่าประสบการณ์ทจดไว้ในหลักสูตร เป็ นการทาให้ผเรียนได้
    ่                       ่ี ั                       ู้
  นาไปใช้ในการดารงชีวต การจัดประสบการณ์ในการเรียนรูทเี่ ห็นสมควร
                          ิ                               ้
  ให้ผเรียนได้เกิดการเรียนรูและสร้างเสริมประสบการณ์ให้มากยิงขึน
          ู้                     ้                          ่ ้




                                                                30
หลักสูตรที่ยึดเอากระบวนการทางทักษะเป็นหลัก
 หลักสูตรประเภทนี้มุ่งเน้นการพัฒนาทักษะของกระบวนการเรียน ซึ่งมีความสาคัญ
  ต่อการพัฒนาความรู้ของผู้เรียนอย่างมีระบบ เช่น การจัดหลักสูตรทักษะทาง
  คณิตศาสตร์ และหลักสูตรทักษะทางวิทยาศาสตร์ ยึดการฝึกทักษะให้กับผู้เรียน
  ด้วยการให้ผู้เรียนได้คิดค้นคว้าความรู้ และฝึกปฏิบัติจนเกิดเป็นทักษะ การกาหนด
  หลักการและความรู้ให้กับผู้เรียนจะเป็นเพียงการเสนอแนวทางเท่านั้น ส่วนผลการ
  ปฏิบัติและการฝึกฝนจะทาให้ผู้เรียนได้เรียนรูและค้นพบสิ่งใหม่ๆ เอง ดังนั้นหลักสูตร
                                               ้
  กระบวนการทางทักษะจึงเป็นประโยชน์ต่อผู้เรียนที่มทักษะในการเรียนและสามารถ
                                                      ี
  ควบคุมตนเองได้
ความรู้เกี่ยวกับทฤษฎีการบริหารการศึกษา

         การบริหารถือว่าเป็นทั้งศาสตร์และศิลป์ที่มทฤษฎีการบริหารกากับอยู่จานวนมาก
                                                  ี
เพราะนักบริหารได้กาหนดทฤษฎีที่เป็นสิ่งที่ได้ค้นคว้าทดลองมา จนกระทั่งรวบรวม
นามาใช้ในการบริหารงาน ในบางครั้งนักการศึกษาคิดว่าการบริหารการศึกษา
เป็นเรืองที่เกิดขึ้นด้วยการใช้ประสบการณ์ในการทางานที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาและนา
       ่
ประสบการณ์นนมาบริหารการศึกษา
                ั้
ความรู้เกี่ยวกับจิตวิทยาการเรียนรู้
        จิตวิทยาที่เกี่ยวข้องกับการเรียนรูของมนุษย์ นักจิตวิทยาได้คดค้นขึ้นมาใช้กับ
                                          ้                        ิ
การจัดการศึกษา จิตวิทยาการเรียนรู้เหล่านั้นได้ถูกทดลองทั้งกับสัตว์ และมนุษย์
(เด็ก, ผู้ใหญ่) หลายรูปแบบจนกระทั่งเกิดความไม่แน่ใจว่าเป็นสิ่งที่ถูกต้องแน่นอนแล้ว
นักจิตวิทยาจึงได้นามาใช้กับการจัดการเรียนการสอนในแต่ละระดับการศึกษา
ความรู้เกี่ยวกับทฤษฎีการวิจยการศึกษา
                           ั
     การวิจัยเป็นเรืองหนึ่งที่นักพัฒนาหลักสูตรต้องนามาใช้เพื่อการจัดทาหลักสูตร
                    ่
ผลการวิจัยที่นามาใช้ในการจัดทาหลักสูตรจะมาจากรากฐานทฤษฎีการวิจัย 3 ประเภท
          1. การวิจัยทีเ่ กี่ยวข้องกับการบริหารการศึกษา
          2. การวิจัยทีเ่ กี่ยวข้องกับสังคมวิทยาและสังคมศาสตร์
          3. การวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการเศรษฐกิจของสังคม
ความรู้เกี่ยวกับทฤษฎีหลักสูตร
      นักการศึกษาหลายท่านได้ให้คานิยามเกี่ยวกับทฤษฎีไว้ดังนี้
เฮอร์เบอร์ท ไฟเจล (Herbert Feigl) ทฤษฎีคือ “การกาหนดข้อสันนิษฐานซึ่งได้
รับมาจากวิธีการของตรรกวิทยาคณิตศาสตร์ ทาให้เกิดกฎเกณฑ์ที่ได้มาจากการทดลองและ
การทดลองมิใช่เกิดจากการเรียนรูจากที่ใด”
                              ้
โลแกน และโอลม สเตด (Logan and Olmstead) “ทฤษฎี หมายถึง
ข้อความหนึ่งข้อความใดที่กาหนดไว้อย่างมีเหตุผล เชื่อถือได้ และได้มีการถกเถียงกันมา
ก่อนก่อนทีจะลงความเห็นว่าสมควรทีจะกาหนดเรียนว่า “ทฤษฎี”
           ่                     ่
เฟรด เคสลินเกอร์ (Fred N. Keslinger) “ทฤษฎี คือ การผสมผสานของ
ความคิดรวบยอดที่แสดงให้เห็นถึงปรากฏการณ์ทมีระบบ และเกิดความจริงจน
                                            ี่
สามารถพิสจน์ได้”
             ู
                                                                              35
ความรู้เกี่ยวกับทฤษฎีหลักสูตร
       ทฤษฎีหลักสูตร เป็นแนวคิดใหม่ที่มนักพัฒนาหลักสูตรได้นามาใช้ ทฤษฎีหลักสูตรเป็น
                                       ี
การผสมผสานทฤษฎีต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาเข้ามาไว้ด้วยกัน กาหนดขึ้นเพือการ
                                                                          ่
นามาใช้ในการพัฒนาหลักสูตร ทฤษฎีหลักสูตรจึงเป็นการพิจารณานาเอาพัฒนาการ
ของมนุษย์นาเข้ามาใช้ เป็นการจัดและแยกประเภทของเหตุการณ์ต่างๆ และโยง
ความสัมพันธ์กับเหตุการณ์นั้น นาเอามาใช้และพิจารณาโครงสร้างและเนือหาวิชาที่เหมาะสม
                                                                  ้
นามาบรรจุไว้ในหลักสูตรด้วยการคานึงถึงความสอดคล้องตามสภาพการณ์ต่างๆ ทั้งในส่วน
ของผู้เรียนและในส่วนของสังคม การนาทฤษฎีหลักสูตรไปใช้จะประกอบด้วยการจัดประเภท
การวางแผนการประเมินค่าและการปฏิบัติ
มิติของการพัฒนาหลักสูตร
1. การวางแผนจัดทาหรือยกร่างหลักสูตร
   (Curriculum Planning)
2. การใช้หลักสูตร
   (Curriculum Implementation)
3. การประเมินหลักสูตร
      (Curriculum Evaluation)
วิเคราะห์ข้อมูลพื ้นฐาน
 การวาง                      กาหนดจุดมุ่งหมาย
                             กาหนดเนื ้อหาและประสบกา
 แผนพัฒนา                    กาหนดการวัดและประเมินผล
การผลิตและใช้ สื่อการเรี ยนการสอน
 หลักสูตร ยม
         การเตรี
        การบริ หารหลักสูตร
         บุคลากร                     การใช้
       การสอนตามหลักสูตร หลักสูตร
                             เอกสารหลักสูตร
  การประเมิน                 การใช้ หลักสูตร
                             สัมฤทธิผลของหลักสูตร
 หลักสูตร                    หลักสูตรทังระบบ
                                        ้
จบการนาเสนอ




              39

More Related Content

What's hot

การวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจการวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจkhuwawa2513
 
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์krupornpana55
 
ความหมาย ความสำคัญของหลักสูตร
ความหมาย ความสำคัญของหลักสูตรความหมาย ความสำคัญของหลักสูตร
ความหมาย ความสำคัญของหลักสูตรmaturos1984
 
แนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัย
แนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัยแนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัย
แนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัยkhanidthakpt
 
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาChowwalit Chookhampaeng
 
แบบฝึกหัดเรื่องไฟฟ้าเคมี
แบบฝึกหัดเรื่องไฟฟ้าเคมีแบบฝึกหัดเรื่องไฟฟ้าเคมี
แบบฝึกหัดเรื่องไฟฟ้าเคมีApinya Phuadsing
 
อาหารและสารอาหาร
อาหารและสารอาหารอาหารและสารอาหาร
อาหารและสารอาหารMutita Eamtip
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)Napadon Yingyongsakul
 
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรงการศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรงKru Tew Suetrong
 
วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1
วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1
วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1Niwat Yod
 
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียงWareerut Hunter
 
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการProud N. Boonrak
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1suchinmam
 
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์Aomiko Wipaporn
 
บทที่ 1 ความรู้เกี่ยวกับพลังงาน (2)
บทที่  1 ความรู้เกี่ยวกับพลังงาน (2)บทที่  1 ความรู้เกี่ยวกับพลังงาน (2)
บทที่ 1 ความรู้เกี่ยวกับพลังงาน (2)อัจฉรา นาคอ้าย
 
จิตวิทยาพัฒนาการ
จิตวิทยาพัฒนาการจิตวิทยาพัฒนาการ
จิตวิทยาพัฒนาการRukvicha Jitsumrawy
 

What's hot (20)

การวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจการวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจ
 
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
 
แผนBioม.4 1
แผนBioม.4 1แผนBioม.4 1
แผนBioม.4 1
 
ใบงาน อเมริกาเหนือ
ใบงาน อเมริกาเหนือใบงาน อเมริกาเหนือ
ใบงาน อเมริกาเหนือ
 
ความหมาย ความสำคัญของหลักสูตร
ความหมาย ความสำคัญของหลักสูตรความหมาย ความสำคัญของหลักสูตร
ความหมาย ความสำคัญของหลักสูตร
 
แนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัย
แนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัยแนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัย
แนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัย
 
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา
 
แบบฝึกหัดเรื่องไฟฟ้าเคมี
แบบฝึกหัดเรื่องไฟฟ้าเคมีแบบฝึกหัดเรื่องไฟฟ้าเคมี
แบบฝึกหัดเรื่องไฟฟ้าเคมี
 
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
 
อาหารและสารอาหาร
อาหารและสารอาหารอาหารและสารอาหาร
อาหารและสารอาหาร
 
แบบทดสอบ บทที่ 1
แบบทดสอบ บทที่ 1แบบทดสอบ บทที่ 1
แบบทดสอบ บทที่ 1
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
 
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรงการศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
 
วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1
วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1
วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1
 
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
 
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
 
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
 
บทที่ 1 ความรู้เกี่ยวกับพลังงาน (2)
บทที่  1 ความรู้เกี่ยวกับพลังงาน (2)บทที่  1 ความรู้เกี่ยวกับพลังงาน (2)
บทที่ 1 ความรู้เกี่ยวกับพลังงาน (2)
 
จิตวิทยาพัฒนาการ
จิตวิทยาพัฒนาการจิตวิทยาพัฒนาการ
จิตวิทยาพัฒนาการ
 

Viewers also liked

รูปแบบการพัฒนาหลักสูตร
รูปแบบการพัฒนาหลักสูตรรูปแบบการพัฒนาหลักสูตร
รูปแบบการพัฒนาหลักสูตรBigbic Thanyarat
 
ทฤ.หลักสูตร
ทฤ.หลักสูตรทฤ.หลักสูตร
ทฤ.หลักสูตรTawatchai Bunchuay
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับหลักสูตร
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับหลักสูตรความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับหลักสูตร
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับหลักสูตรtanongsak
 
การพัฒนาหลักสูตร
การพัฒนาหลักสูตรการพัฒนาหลักสูตร
การพัฒนาหลักสูตรJiraprapa Suwannajak
 
กระบวนการพัฒนาหลักสูตร
กระบวนการพัฒนาหลักสูตรกระบวนการพัฒนาหลักสูตร
กระบวนการพัฒนาหลักสูตรNoawanit Songkram
 
คำอธิบายรายวิชาและวิเคราห็ผลการเรียนรู้ วิชาทฤษฎีความรู้ Tok ครูกอบวิทย์
คำอธิบายรายวิชาและวิเคราห็ผลการเรียนรู้ วิชาทฤษฎีความรู้ Tok ครูกอบวิทย์คำอธิบายรายวิชาและวิเคราห็ผลการเรียนรู้ วิชาทฤษฎีความรู้ Tok ครูกอบวิทย์
คำอธิบายรายวิชาและวิเคราห็ผลการเรียนรู้ วิชาทฤษฎีความรู้ Tok ครูกอบวิทย์Kobwit Piriyawat
 
การพัฒนาหลักสูตร
การพัฒนาหลักสูตรการพัฒนาหลักสูตร
การพัฒนาหลักสูตรRissa Byk
 
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐานการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐานkruthai40
 
หลักสูตรwin win1
หลักสูตรwin win1หลักสูตรwin win1
หลักสูตรwin win1kruthailand
 
สรุปเนื้อหาวิชาการพัฒนาหลักสูตรก่อนสอบระหว่างภาค
สรุปเนื้อหาวิชาการพัฒนาหลักสูตรก่อนสอบระหว่างภาคสรุปเนื้อหาวิชาการพัฒนาหลักสูตรก่อนสอบระหว่างภาค
สรุปเนื้อหาวิชาการพัฒนาหลักสูตรก่อนสอบระหว่างภาคkruskru
 
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการสาระทฤษฎีความรู้ (Tok) กลุ่มสาระฯวิทยาศาสตร์ นายก...
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการสาระทฤษฎีความรู้ (Tok) กลุ่มสาระฯวิทยาศาสตร์ นายก...แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการสาระทฤษฎีความรู้ (Tok) กลุ่มสาระฯวิทยาศาสตร์ นายก...
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการสาระทฤษฎีความรู้ (Tok) กลุ่มสาระฯวิทยาศาสตร์ นายก...Kobwit Piriyawat
 
เอกสารประกอบการเรียนการสอนทฤษฎีความรู้ Tok วิทยาศาสตร์ ม.1 ขึ้นเว็บไซต์
เอกสารประกอบการเรียนการสอนทฤษฎีความรู้ Tok วิทยาศาสตร์ ม.1 ขึ้นเว็บไซต์เอกสารประกอบการเรียนการสอนทฤษฎีความรู้ Tok วิทยาศาสตร์ ม.1 ขึ้นเว็บไซต์
เอกสารประกอบการเรียนการสอนทฤษฎีความรู้ Tok วิทยาศาสตร์ ม.1 ขึ้นเว็บไซต์Kobwit Piriyawat
 
การจัดการชั้นเรียน ดร.ไพรภ
การจัดการชั้นเรียน ดร.ไพรภการจัดการชั้นเรียน ดร.ไพรภ
การจัดการชั้นเรียน ดร.ไพรภpairop
 

Viewers also liked (14)

รูปแบบการพัฒนาหลักสูตร
รูปแบบการพัฒนาหลักสูตรรูปแบบการพัฒนาหลักสูตร
รูปแบบการพัฒนาหลักสูตร
 
ทฤ.หลักสูตร
ทฤ.หลักสูตรทฤ.หลักสูตร
ทฤ.หลักสูตร
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับหลักสูตร
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับหลักสูตรความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับหลักสูตร
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับหลักสูตร
 
การพัฒนาหลักสูตร
การพัฒนาหลักสูตรการพัฒนาหลักสูตร
การพัฒนาหลักสูตร
 
กระบวนการพัฒนาหลักสูตร
กระบวนการพัฒนาหลักสูตรกระบวนการพัฒนาหลักสูตร
กระบวนการพัฒนาหลักสูตร
 
369511
369511369511
369511
 
คำอธิบายรายวิชาและวิเคราห็ผลการเรียนรู้ วิชาทฤษฎีความรู้ Tok ครูกอบวิทย์
คำอธิบายรายวิชาและวิเคราห็ผลการเรียนรู้ วิชาทฤษฎีความรู้ Tok ครูกอบวิทย์คำอธิบายรายวิชาและวิเคราห็ผลการเรียนรู้ วิชาทฤษฎีความรู้ Tok ครูกอบวิทย์
คำอธิบายรายวิชาและวิเคราห็ผลการเรียนรู้ วิชาทฤษฎีความรู้ Tok ครูกอบวิทย์
 
การพัฒนาหลักสูตร
การพัฒนาหลักสูตรการพัฒนาหลักสูตร
การพัฒนาหลักสูตร
 
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐานการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
 
หลักสูตรwin win1
หลักสูตรwin win1หลักสูตรwin win1
หลักสูตรwin win1
 
สรุปเนื้อหาวิชาการพัฒนาหลักสูตรก่อนสอบระหว่างภาค
สรุปเนื้อหาวิชาการพัฒนาหลักสูตรก่อนสอบระหว่างภาคสรุปเนื้อหาวิชาการพัฒนาหลักสูตรก่อนสอบระหว่างภาค
สรุปเนื้อหาวิชาการพัฒนาหลักสูตรก่อนสอบระหว่างภาค
 
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการสาระทฤษฎีความรู้ (Tok) กลุ่มสาระฯวิทยาศาสตร์ นายก...
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการสาระทฤษฎีความรู้ (Tok) กลุ่มสาระฯวิทยาศาสตร์ นายก...แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการสาระทฤษฎีความรู้ (Tok) กลุ่มสาระฯวิทยาศาสตร์ นายก...
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการสาระทฤษฎีความรู้ (Tok) กลุ่มสาระฯวิทยาศาสตร์ นายก...
 
เอกสารประกอบการเรียนการสอนทฤษฎีความรู้ Tok วิทยาศาสตร์ ม.1 ขึ้นเว็บไซต์
เอกสารประกอบการเรียนการสอนทฤษฎีความรู้ Tok วิทยาศาสตร์ ม.1 ขึ้นเว็บไซต์เอกสารประกอบการเรียนการสอนทฤษฎีความรู้ Tok วิทยาศาสตร์ ม.1 ขึ้นเว็บไซต์
เอกสารประกอบการเรียนการสอนทฤษฎีความรู้ Tok วิทยาศาสตร์ ม.1 ขึ้นเว็บไซต์
 
การจัดการชั้นเรียน ดร.ไพรภ
การจัดการชั้นเรียน ดร.ไพรภการจัดการชั้นเรียน ดร.ไพรภ
การจัดการชั้นเรียน ดร.ไพรภ
 

Similar to ทฤ.หลักสูตร

การออกแบบการจัดการการเรียนรู้อิงมาตรฐาน หลักสูตรแกนกลาง 2551 ...
การออกแบบการจัดการการเรียนรู้อิงมาตรฐาน   หลักสูตรแกนกลาง 2551               ...การออกแบบการจัดการการเรียนรู้อิงมาตรฐาน   หลักสูตรแกนกลาง 2551               ...
การออกแบบการจัดการการเรียนรู้อิงมาตรฐาน หลักสูตรแกนกลาง 2551 ...Weerachat Martluplao
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2nattawad147
 
2 170819173059
2 1708191730592 170819173059
2 170819173059gam030
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2benty2443
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2wanneemayss
 
ใบงาน2
ใบงาน2ใบงาน2
ใบงาน2powe1234
 
พัฒนาหลักสูตร
พัฒนาหลักสูตรพัฒนาหลักสูตร
พัฒนาหลักสูตรthana1989
 
รูปแบบการเรียนการสอน
รูปแบบการเรียนการสอนรูปแบบการเรียนการสอน
รูปแบบการเรียนการสอนwannaphakdee
 
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลางรูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลางIaon Srichiangsa
 
ปรัชญาและการพัฒนาหลักสูตร
ปรัชญาและการพัฒนาหลักสูตรปรัชญาและการพัฒนาหลักสูตร
ปรัชญาและการพัฒนาหลักสูตรPateemoh254
 

Similar to ทฤ.หลักสูตร (20)

การออกแบบการจัดการการเรียนรู้อิงมาตรฐาน หลักสูตรแกนกลาง 2551 ...
การออกแบบการจัดการการเรียนรู้อิงมาตรฐาน   หลักสูตรแกนกลาง 2551               ...การออกแบบการจัดการการเรียนรู้อิงมาตรฐาน   หลักสูตรแกนกลาง 2551               ...
การออกแบบการจัดการการเรียนรู้อิงมาตรฐาน หลักสูตรแกนกลาง 2551 ...
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
2 170819173059
2 1708191730592 170819173059
2 170819173059
 
2 170819173059
2 1708191730592 170819173059
2 170819173059
 
2 170819173059
2 1708191730592 170819173059
2 170819173059
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
2 170819173059
2 1708191730592 170819173059
2 170819173059
 
2 170819173059
2 1708191730592 170819173059
2 170819173059
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
2 170819173059
2 1708191730592 170819173059
2 170819173059
 
ใบงาน2
ใบงาน2ใบงาน2
ใบงาน2
 
พัฒนาหลักสูตร
พัฒนาหลักสูตรพัฒนาหลักสูตร
พัฒนาหลักสูตร
 
รูปแบบการเรียนการสอน
รูปแบบการเรียนการสอนรูปแบบการเรียนการสอน
รูปแบบการเรียนการสอน
 
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลางรูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
 
01 ตอนที่ 1 word
01 ตอนที่ 1 word01 ตอนที่ 1 word
01 ตอนที่ 1 word
 
Commm
CommmCommm
Commm
 
ปรัชญาและการพัฒนาหลักสูตร
ปรัชญาและการพัฒนาหลักสูตรปรัชญาและการพัฒนาหลักสูตร
ปรัชญาและการพัฒนาหลักสูตร
 

More from Tawatchai Bunchuay (9)

Calenda54 2012 09
Calenda54 2012 09Calenda54 2012 09
Calenda54 2012 09
 
Calenda54 2012 09
Calenda54 2012 09Calenda54 2012 09
Calenda54 2012 09
 
Tawatchai
TawatchaiTawatchai
Tawatchai
 
7d19c38f f284-dfe8
7d19c38f f284-dfe87d19c38f f284-dfe8
7d19c38f f284-dfe8
 
Compre2554
Compre2554Compre2554
Compre2554
 
Twitter
TwitterTwitter
Twitter
 
Google documents
Google documentsGoogle documents
Google documents
 
คำถาม สมศ
คำถาม สมศคำถาม สมศ
คำถาม สมศ
 
คำถาม สมศ
คำถาม สมศคำถาม สมศ
คำถาม สมศ
 

ทฤ.หลักสูตร

  • 1. การพัฒนาหลักสูตรและการสอน ทฤษฎีและหลักการ โดย นายธวัชชัย บุญช่วย นายโตมร เข็มมงคล 1
  • 2. ทฤษฎีหลักสูตร ความหมายของทฤษฎี ตามพจนานุกรมภาษาไทย หมายถึง ความเห็น การเห็น การเห็นด้วยใจ ลักษณะที่คิดคาด เอาตามหลักวิชา เพื่อเสริมเหตุผลและรากฐานให้แก่ปรากฏการณ์ หรือข้อมูลใน ภาคปฏิบัติ ซึ่งเกิดขึ้นอย่างมีระเบียบ 2
  • 3. ความหมายของทฤษฎี ตามพจนานุกรมภาษาอังกฤษ คือ การ อธิบายเกี่ยวกับหลักการทั่วไปทั้งทางศิลปะและวิทยาศาสตร์ (ตรงกันข้าม กับการปฏิบัติ) ทฤษฎีเป็นการให้เหตุผลประกอบการอธิบายความจริงหรือ ข้อเท็จจริง หรือเหตุการณ์ต่างๆ เช่นทฤษฎีวิวัฒนาการของดาร์วิน และ ทฤษฎีเป็นความคิดที่ไม่จาเป็นต้องมีเหตุผลก็ได้ เช่น ทฤษฎีว่าการสวม หมวกทาให้ผู้ชายหัวล้าน 3
  • 4.  บางความหมายมีว่า ทฤษฎีเป็นมุมมองด้านจิตใจ เป็นความคิดหรือการว่าง แผนอยู่ในใจเกี่ยวกับวิธีทาอะไรหรือทาสิ่งใดสิ่งหนึ่ง อาจเป็นระบบ ข้อความหรือของหลักการต่างๆ ที่รวบรวมเข้าไว้ด้วยการ  ทฤษฎีเป็นความคิดใดความคิดหนึ่งหรือรูปแบบความคิดหลายความคิด รวมกัน ทั้งนี้เพื่อตั้งใจอธิบายเกี่ยวกับบางสิ่งบางอย่าง ทฤษฎีมีรากฐานมา จากความจริง และการให้เหตุผลเชิงพินิจพิเคราะห์ แต่ถึงอย่างไรทฤษฎีก็ ยังไม่ได้รับการพิสูจน์อย่างสมบูรณ์ 4
  • 5. องค์ประกอบของทฤษฎี ทฤษฎีมีองค์กระกอบ 3 มิติดังนี้ 1. สิ่งทีรู้แล้ว (Events of Known Dimensions) ่ 2. สิ่งที่สมมติหรือคาดคะเนว่ารู้ (Events of Assumed Dimensions) 3. สิ่งที่ยังไม่รู้ (Events of Unknown Dimensions) 1 2 3 5
  • 6. สรุปความหมายของทฤษฎี ทฤษฎี เป็นแนวทางการปฏิบัติงานอย่างมีกฎเกณฑ์ ระเบียบแบบ แผนเพื่อให้งานมีประสิทธิภาพ และพร้อมกันนั้น การปฏิบัติยังนาไปสู่ ทฤษฎีได้อีกด้วย ถ้าการปฏิบัตินั้นได้ผลสม่าเสมอ ทฤษฎีจึงเป็นสากล เพราะพิสูจน์ ทดลอง หาเหตุผลได้ สอดคล้องกับที่ แพนกราซิ และดาสต์ (Pangrazi and Darst. 1985:31) กล่าวว่า ทฤษฎี คือรูปแบบที่แสดงถึง ความสัมพันธ์ระหว่างกันของความคิด (Ideas) หรือความคิดรวบยอด (Concepts) ที่มีการอธิบายเกี่ยวกับวิชานั้นๆไว้อย่างมีระบบระเบียบ 6
  • 7. ความสัมพันธ์ระหว่างทฤษฎีกับการปฏิบัติ การปฏิบัติ การปฏิบัติ ทฤษฎี การปฏิบัติ การปฏิบัติ การปฏิบัติ ทฤษฎี การปฏิบัติ กฎเกณฑ์ การปฏิบัติ การวิจัย สูตร 7
  • 8. ทฤษฎีการสอน  ทฤษฎีหลักสูตร (Curriculum Theory) คือ สิ่งที่ใช้เป็นพื้นฐานสาหรับการตัดสินใจ เกี่ยวกับจุดมุ่งหมาย เนื้อหา โครงสร้าง ผลผลิต (การจัดลาดับ) และการประเมินผล เกี่ยวกับการว่างแผนหลักสูตร (Bain.1978) ทฤษฎีหลักสูตรยังช่วยให้ผู้วางแผนหลักสูตรพลศึกษาเกิดความคิดหรือแนวคิด เกี่ยวกับการคัดเลือกและจัดเนื้อหาวิชาต่างๆ ช่วยในการคาดคะเน เกี่ยวกับ ความสัมพันธ์ระหว่างกันของเนื้อหาและกระบวนการสอน  ทฤษฎีการสอน (Instructional Theory) แตกต่างจากทฤษฎีหลักสูตรตรงที่มุ่งเน้น เฉพาะองค์ประกอบของกระบวนการเรียนการสอน(teaching-learning process) เกี่ยวข้องกับการที่ว่าทาอย่างไรจึงจะให้องค์ประกอบของการสอนมีผลต่อการเรียนรู้ของ ผู้เรียน (Pangrazi and Darst.1985) สรุป ทั้งทฤษฎีหลักสูตร และทฤษฎีการสอน จะไม่แยกออกจากกันต้องทาควบคู่กันไป เสมอ 8
  • 9. ประโยชน์ของทฤษฎี 1. เกิดความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลกับข้อมูลซึ่งเป็นข้อเท็จจริงได้ 2. เกิดการแบ่งแยกหรือแบ่งชั้น(classification) หรือเกิดความคิดรวบยอด (concept)ในสิ่งใดสิ่งหนึ่งขึ้นมา 3. คาดคะเนข้อมูลหรือข้อเท็จจริงได้ 4. ทาให้มีการวิจัยค้นคว้าต่อเนื่อง 5. ใช้เป็นเหตุผลประกอบการอธิบายปรากฏการณ์ต่างๆได้ 6. เป็นแนวทางปฏิบัติให้เกิดผลต่อไป 9
  • 10. (Conception of Curriculum) ตามรากศัพท์มาจากภาษาลาตินว่า currere หมายถึง Running course หรือเส้นทางที่ใช้ในการวิ่ง ต่อมาเมือใช้กับการศึกษา จึงหมายถึง running sequence of courses ่ or learning experience เปรียบหลักสูตรเหมือนสนามหรือลู่วิ่งให้ ผู้เรียนฟันฝ่าความยากของวิชาหรือประสบการณ์การเรียนรู้ต่างๆ ที่กาหนดไว้ในหลักสูตร
  • 11. ตามอักษรย่อ SOPEA 1. Curriculum as Subject and Subject Matter หลักสูตร คือ รายวิชาหรือเนื้อหาที่เรียน 2. Curriculum as Objectives หลักสูตร คือ จุดมุ่งหมายที่ผู้เรียนพึงบรรลุ 3. Curriculum as Plan หลักสูตร คือ แผนสาหรับจัดโอกาสการเรียนรู้หรือประสบการณ์ทคาดหวังแก่ผู้เรียน ี่ 4. Curriculum as Learners Experiences หลักสูตร คือ ประสบการณ์ทั้งปวงของผู้เรียนที่จดโดยโรงเรียน ั 5. Curriculum as Educational Activities หลักสูตร คือ กิจกรรมทางการศึกษาที่จัดให้กับผู้เรียน
  • 12. ตามอักษรย่อ SOPEA 1. Curriculum as Subject and Subject Matter หลักสูตร คือ รายวิชาหรือเนือหาที่เรียน ้ หลักสูตรเป็นรายวิชาหรือเนื้อหาทีเ่ ตรียมให้ผู้เรียนในระดับการศึกษาต่างๆ นักการศึกษาที่ให้ความหมายหลักสูตรในลักษณะนี้ คือ Boobbitt (1918, p. 72) “หลักสูตร หมายถึง รายการที่สร้างประสบการณ์ ในทุกอย่างที่เด็กและเยาวชนจะต้องทาและจะต้องประสบ ทาให้เกิดการ พัฒนาความสามารถเพื่อจะทาสิ่งต่างๆ ให้ดีขึ้นและเหมาะสมสาหรับดารง ชีวิตในวัยผู้ใหญ่ Good (1973, p. 154) “หลักสูตร คือ กลุ่มรายวิชาที่จัดไว้อย่างมีระบบหรือ ลาดับวิชาที่บังคับ สาหรับการจบการศึกษาหรือเพือรับประกาศนียบัตรใน ่ วิชาหลักๆ”
  • 13. 2. Curriculum as Objectives หลักสูตร คือ จุดมุ่งหมายที่ผเู้ รียนพึงบรรลุ หลักสูตรในความหมายนี้ หมายถึง สิ่งที่ผู้เรียนต้องเรียนทั้งในและ นอกห้องเรียน เพื่อให้บรรลุจุดหมายและจุดประสงค์ที่ได้กาหนดไว้ นักการศึกษาที่ให้ความหมายนี้ ได้แก่ Lavatelli and others (1972, p.1-2) “หลักสูตรเป็นชุดของการเรียนและ ประสบการณ์สาหรับเด็ก ซึ่งโรงเรียนวางแผนไว้เพื่อให้เด็กบรรลุถึง จุดหมายของการศึกษา” Johnson ((1970, p.25) “หลักสูตรเกี่ยวข้องกับสิ่งที่ผู้เรียนต้องเรียนรู้หรือ สามารถทาได้ หลักสูตรคือ ผลทีออกมาไม่ใช่สิ่งที่เกิดขึ้น เป็นความคาดหวัง ่ หรือความตั้งใจ”
  • 14. 3. Curriculum as Plan หลักสูตร คือ แผนสาหรับจัดโอกาสการเรียนรูหรือประสบการณ์ ้ ที่คาดหวังแก่ผู้เรียน หลักสูตรในความหมายนี้ เน้นการแสดงเกียวกับจุดหมายหรือวัตถุประสงค์ ่ การออกแบบหลักสูตร การนาหลักสูตรไปใช้ และการประเมินผล เพือเป็น ่ แนวทางให้ผทเี่ กียวข้องได้ปฏิบติ โดยมุงให้ผเู้ รียนมีความรูความสามารถและ ู้ ่ ั ่ ้ พฤติกรรมตามทีกาหนดในหลักสูตร นักการศึกษาทีให้ความหมายนี้คอ ่ ่ ื Saylor & Alexander (1974, p. 6) “หลักสูตรเป็นแผนสาหรับจัดโอกาส การเรียนรูให้แก่บคคลกลุมใดกลุมหนึ่ง เพื่อบรรลุเป้าหมายหรือจุดหมายที่ ้ ุ ่ ่ วางไว้ โดยมีโรงเรียนเป็นผูรบผิดชอบ ้ั Taba (1962, p. 10-11) หลักสูตร คือ แผนการเรียนรูทประกอบด้วย ้ ี่ จุดประสงค์และจุดหมายเฉพาะการเลือกและการจัดเนื้อหา วิธการจัดการเรียน ี การสอนและการประเมินผล
  • 15. 4. Curriculum as Learners Experiences หลักสูตร คือ ประสบการณ์ทงปวงของผู้เรียนที่จดโดยโรงเรียน ั้ ั มุมมองของหลักสูตรในความหมายนี้ คือ เน้นความสาคัญที่ประสบการณ์ ที่จัดให้ผู้เรียน โดยโรงเรียนเป็นผูรับผิดชอบ ้ wheeler (1974, p. 11) “หลักสูตรเป็นประสบการณ์ที่นักเรียน ได้รับทั้งภายในและภายนอกโรงเรียน เพื่อให้นักเรียนมีการพัฒนาด้านร่างกาย สังคม ปัญญา และจิตใจ
  • 16. 5. Curriculum as Educational Activities หลักสูตร คือ กิจกรรมทางการศึกษาที่จัดให้กับผู้เรียน หลักสูตรในความหมายนี้ เป็นกิจกรรมการเรียนการสอนทีจดให้ผู้เรียนได้มีความรู้ ่ั ประสบการณ์ และคุณลักษณะทีพึงประสงค์ตามที่กาหนดไว้ ่ Trump and Miller “หลักสูตร คือ กิจกรรมการเรียน การสอนวิชาต่างๆ ทีเ่ ตรียมการไว้และจัดให้แก่นกเรียนโดยโรงเรียน หรือระบบ ั โรงเรียน
  • 17. ความหมายของหลักสูตร ตามทัศนะนักการศึกษาไทย ดร.ธารง บัวศรี “หลักสูตร หมายถึง ประสบการณ์ทกๆ อย่างที่ ุ โรงเรียนจัดให้แก่เด็ก” „ ดร.เอกวิทย์ ณ ถลาง “หลักสูตร หมายถึง ประมวลประสบการณ์ ทั้งหมดทีจัดให้กับเด็กได้เรียนเนื้อหาวิชา ทัศนคติ แบบพฤติกรรม ่ กิจวัตร สิ่งแวดล้อมต่างๆ ฯลฯ เมือประมวลกันเข้าแล้วก็จะเป็น ่ ประสบการณ์ทผ่านเข้าไปในการรับรูของเด็กๆ” ี่ ้
  • 18. หลักสูตร คือ เอกสารทีกาหนดโครงการศึกษาของผู้เรียน ่ หลักสูตร คือ รายวิชาทั้งหมดทีโรงเรียนหรือสถาบันการศึกษาจัดให้เรียน ่ หลักสูตร คือ ประสบการณ์ทุกอย่างที่นกเรียนหรือนักศึกษาพึงได้รบภายใต้การแนะแนว ั ั ของโรงเรียนหรือสถาบันการศึกษา หลักสูตร คือ ประสบการณ์ทุกอย่างที่นกเรียนหรือนักศึกษาพึงได้รบโดยไม่จากัดว่าเมื่อไร ั ั และอย่างไร
  • 19. แบ่งเป็น 2 กลุม ่ กลุ่มที่ 1 : หลักสูตร หมายถึง แผน ประสบการณ์การเรียน มองหลักสูตร ในลักษณะทีเ่ ป็นเอกสารหรือโครงการศึกษาที่สถาบันการศึกษา ได้จัดวางแผนไว้เพื่อให้ผู้เรียนได้ศึกษาตามแผน หรือโครงการ ที่กาหนดไว้ ซึ่งรวมถึงรายวิชา เนื้อหาวิชา กิจกรรมการเรียน การสอนและการประเมินผล กลุ่มที่ 2 : หลักสูตร หมายถึง ประสบการณ์การเรียนของผูเ้ รียน ที่ สถาบันการศึกษาจัดให้ ซึ่งรวมถึงแผนประสบการณ์การเรียน การนาหลักสูตรไปใช้ หลักสูตรประกอบด้วยเป้าหมาย และ จุดมุ่งหมายเฉพาะ ซึ่งบ่งถึงการเลือก การจัดเนื้อหาและแสดง ถึงการเรียนการสอน รวมทั้งการประเมินผลด้วย
  • 20. 1. วิทยาการที่สร้างเสริมประสบการณ์ชีวิต เป็นสิ่งที่อานวยความรู้และ ประสบการณ์ต่างๆ ที่มนุษย์จาเป็นต้องรับรู้เพื่อการดาเนินชีวิตอยู่ใน สังคมนั้น 2. ประมวลทักษะต่างๆ เป็นสิ่งที่จาเป็นสาหรับที่จะทาให้ผู้เรียนได้นา ไปใช้ในการแสวงหาความรู้เพิ่มเติมในการดาเนินชีวิตของตนต่อไป 3. กระบวนการสาหรับสร้างคุณค่าของชีวิต ค่านิยมและการตัดสินใจ เป็นการเน้นบทบาทของแต่ละบุคคลในฐานะที่เป็นสมาชิกของสังคม
  • 21. 4. กระบวนการทางสติปัญญา เป็นการสร้างความสามารถในการแก้ปัญหา ให้กับผู้เรียน ทาให้สามารถขจัดความขัดแย้งหรือทาให้เกิด ความสามารถในการเปรียบเทียบในการอนุมานจากข้อเท็จจริงต่างๆ 5. ประสบการณ์ด้านสุนทรียภาพ เป็นการสร้างด้านศิลปะ ดนตรี และ นาฎศิลป์ เป็นการรักษามรดกและวัฒนธรรมของชาติ 6. กระบวนการปฏิบัติการณ์ เป็นการฝึกให้ผู้เรียนได้รู้จักใช้ความคิดสร้างงานฝึก ทักษะในงานและอาชีพอันเป็นสิงสาคัญในการดารงชีวิต ่ สรุป หลักสูตร คือ ประมวลประสบการณ์ทุกชนิดที่ครูสร้างสรรค์ให้กับผู้เรียน เพื่อให้ผู้เรียนพัฒนาตนเองให้สามารถดารงชีวิตอยู่ได้ใน สังคมอย่างมีความสุขและเจริญงอกงาม
  • 22. บทบาทสาคัญของหลักสูตร ทุกระดับของการศึกษา หลักสูตร ระบุสิ่งที่คาดหวังให้เกิดขึ้นกับผู้เรียน และแนวทางจัดให้ผู้เรียนได้รับ ประสบการณ์ หลักสูตร เปรียบเสมือนพิมพ์เขียวในการสร้างบ้าน ส่วนการสอนเป็นกระบวนการ หรือวิธีการ หลักสูตร ระบุสิ่งที่จะสอนในโรงเรียน ระบุสิ่งที่ผู้เรียนควรจะเรียนรู้
  • 23. การกาหนดประเภทของหลักสูตรขึ้นอยู่กับการตอบสนอง ผลสัมฤทธิ์ทางการจัดการเรียนการสอน และสถานการณ์ต่างๆ ที่ เหมาะสม การจะเลือกใช้หลักสูตรประเภทใด ขึ้นอยูกับสถานการณ์ ่ จุดหมายปลายทางของการจัดการศึกษาแต่ละประเภทและระดับ การศึกษาเป็นสาคัญ แบ่งได้ดังนี้ 1. หลักสูตรที่ยึดเอาสาขาวิชาและเนื้อหาวิชาเป็นหลัก 2. หลักสูตรที่ยึดเอาผู้เรียนเป็นหลัก 3. หลักสูตรที่ยึดเอากระบวนการทางทักษะเป็นหลัก
  • 24. 1. หลักสูตรประเภทที่ยึดเอาสาขาวิชาและเนื้อหาวิชาเป็นหลัก • หลักสูตรแยกรายวิชาหรื อเนือหาวิชา ้ จะแบ่งแยกรายวิชาออกเป็ นส่วนๆ เพื่อให้ เห็น รายวิชาและเนื ้อหาสาระเฉพาะอย่าง เป็ น หลักสูตร ที่ผ้ เู รี ยนได้ รับความรู้เพียงอย่างเดียว และความรู้นน ั้ เกิดจาก การท่องจาเป็ นสาคัญ ผู้เรี ยนจะนาไป วิเคราะห์หรื อนาไปใช้ ประโยชน์ได้ น้อย เพราะไม่มี เวลาฝึ กฝนทางด้ านอื่นๆ นอกจากการท่องจา หลักสูตรประเภทนี ้ใช้ มาเป็ นเวลานาน บางแห่งก็
  • 25. 1. หลักสูตรประเภทที่ยึดเอาสาขาวิชาและเนื้อหาวิชาเป็นหลัก  หลักสูตรสหพันธ์หรือหลักสูตรสัมพันธ์วิชา เป็ นหลักสูตรทีพฒนาจากหลักสูตรแยกรายวิชาด้วยการรวมเอาส่วน ่ ั ทีเหมือนกันทังในด้านลักษณะของวิชา คุณค่าและความสาคัญของ ่ ้ วิชาและในส่วนทีมความสัมพันธ์และเกียวข้องมาไว้ดวยกัน ่ ี ่ ้
  • 26. 1. หลักสูตรประเภทที่ยึดเอาสาขาวิชาและเนื้อหาวิชาเป็นหลัก  หลักสูตรหลอมรวมวิชา เป็ นหลักสูตรทีนาเอาวิชาทีมความใกล้เคียงกันมาหลอมรวมกัน ่ ่ ี แล้วจัดขึนเป็นรายวิชาใหม่ เช่น วิชาสัตว์ศาสตร์กบวิชาพืชศาสตร์ ้ ั หลอมรวมกันแล้วเป็ นวิชาชีววิทยา หลักสูตรการหลอมรวมวิชาจะมี ความคล่องตัวและความยืดหยุน ผูเรียนได้มโอกาสเรียนรูพนฐาน ่ ้ ี ้ ้ื ความรูต่างๆ ทีเหมาะสมและตามความต้องการของผูเรียน ้ ่ ้
  • 27. 1. หลักสูตรประเภทที่ยึดเอาสาขาวิชาและเนื้อหาวิชาเป็นหลัก  หลักสูตรแกนวิชา เป็ นหลักสูตรทีจดขึนเพือการรวบรวมเนื้อหาความรูและ ่ั ้ ่ ้ ประสบการณ์ ให้มความสัมพันธ์และผสมผสานกัน แต่มวชาใดวิชาหนึ่งเป็ นวิชาหลัก ี ีิ หรือวิชาแกน วิชาหลักนันเป็ นวิชาทีผเู้ รียนมีความจาเป็ นทีจะต้องรู้ ้ ่ ่ เพือ ่ การเรียนรูพนฐานวิชาต่างๆ อันเป็ นประโยชน์ต่อชีวตของตนเอง ้ ้ื ิ
  • 28. 2. หลักสูตรที่ยึดผู้เรียนเป็นหลัก  หลักสูตรที่ใช้ผเรียนเป็ นศูนย์กลาง ู้ เป็ นหลักสูตรทีวาด้วยหลักการทีวา มนุษย์ทุกคนจะมีความแตกต่าง ่่ ่่ กัน ดังนันในการจัดทาหลักสูตร จึงกาหนดให้คานึงถึงความต้องการและ ้ ความสนใจของผูเรียนเป็ นสาคัญในหนึ่งวิชาอาจจะมีหลักสูตรทีแตกต่าง ้ ่ กันออกไปทังในด้านเนื้อหา และกิจกรรมการเรียน คือ หลักสูตร จะมีการ ้ จัดเนื้อหา การจัดกิจกรรม หรือสือการเรียนหลายชนิด รวมทังครูผสอน ่ ้ ู้
  • 29. 2. หลักสูตรที่ยึดผู้เรียนเป็นหลัก  หลักสูตรประสบการณ์ ใช้กนมากในการจัดหลักสูตรระดับประถมศึกษา หลักสูตรประเภทนี้อยู่ ั บนพืนฐานทีประสบการณ์ทผเรียนได้รบมา ซึงเป็ นบ่อเกิดของการเรียนรู้ ้ ่ ่ี ู้ ั ่ ทีมประสิทธิภาพ และสามารถเปลียนแปลงพฤติกรรมของผูเรียนได้ ่ ี ่ ้ การจัดการหลักสูตรจึงเป็ นการจัดเพือเสริมสร้างประสบการณ์การเรียนรู้ ่ ั ้ ้ั ั ให้กบผูเรียน และให้ผเู้ รียนรูจกการแก้ปญหา 29
  • 30. 2. หลักสูตรที่ยึดผู้เรียนเป็นหลัก  หลักสูตรบูรณาการ เป็ นหลักสูตรทีนกพัฒนา ได้นามาใช้ในหลักสูตรประถมศึกษาด้วยการ ่ ั มุงหวังว่าประสบการณ์ทจดไว้ในหลักสูตร เป็ นการทาให้ผเรียนได้ ่ ่ี ั ู้ นาไปใช้ในการดารงชีวต การจัดประสบการณ์ในการเรียนรูทเี่ ห็นสมควร ิ ้ ให้ผเรียนได้เกิดการเรียนรูและสร้างเสริมประสบการณ์ให้มากยิงขึน ู้ ้ ่ ้ 30
  • 31. หลักสูตรที่ยึดเอากระบวนการทางทักษะเป็นหลัก  หลักสูตรประเภทนี้มุ่งเน้นการพัฒนาทักษะของกระบวนการเรียน ซึ่งมีความสาคัญ ต่อการพัฒนาความรู้ของผู้เรียนอย่างมีระบบ เช่น การจัดหลักสูตรทักษะทาง คณิตศาสตร์ และหลักสูตรทักษะทางวิทยาศาสตร์ ยึดการฝึกทักษะให้กับผู้เรียน ด้วยการให้ผู้เรียนได้คิดค้นคว้าความรู้ และฝึกปฏิบัติจนเกิดเป็นทักษะ การกาหนด หลักการและความรู้ให้กับผู้เรียนจะเป็นเพียงการเสนอแนวทางเท่านั้น ส่วนผลการ ปฏิบัติและการฝึกฝนจะทาให้ผู้เรียนได้เรียนรูและค้นพบสิ่งใหม่ๆ เอง ดังนั้นหลักสูตร ้ กระบวนการทางทักษะจึงเป็นประโยชน์ต่อผู้เรียนที่มทักษะในการเรียนและสามารถ ี ควบคุมตนเองได้
  • 32. ความรู้เกี่ยวกับทฤษฎีการบริหารการศึกษา การบริหารถือว่าเป็นทั้งศาสตร์และศิลป์ที่มทฤษฎีการบริหารกากับอยู่จานวนมาก ี เพราะนักบริหารได้กาหนดทฤษฎีที่เป็นสิ่งที่ได้ค้นคว้าทดลองมา จนกระทั่งรวบรวม นามาใช้ในการบริหารงาน ในบางครั้งนักการศึกษาคิดว่าการบริหารการศึกษา เป็นเรืองที่เกิดขึ้นด้วยการใช้ประสบการณ์ในการทางานที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาและนา ่ ประสบการณ์นนมาบริหารการศึกษา ั้
  • 33. ความรู้เกี่ยวกับจิตวิทยาการเรียนรู้ จิตวิทยาที่เกี่ยวข้องกับการเรียนรูของมนุษย์ นักจิตวิทยาได้คดค้นขึ้นมาใช้กับ ้ ิ การจัดการศึกษา จิตวิทยาการเรียนรู้เหล่านั้นได้ถูกทดลองทั้งกับสัตว์ และมนุษย์ (เด็ก, ผู้ใหญ่) หลายรูปแบบจนกระทั่งเกิดความไม่แน่ใจว่าเป็นสิ่งที่ถูกต้องแน่นอนแล้ว นักจิตวิทยาจึงได้นามาใช้กับการจัดการเรียนการสอนในแต่ละระดับการศึกษา
  • 34. ความรู้เกี่ยวกับทฤษฎีการวิจยการศึกษา ั การวิจัยเป็นเรืองหนึ่งที่นักพัฒนาหลักสูตรต้องนามาใช้เพื่อการจัดทาหลักสูตร ่ ผลการวิจัยที่นามาใช้ในการจัดทาหลักสูตรจะมาจากรากฐานทฤษฎีการวิจัย 3 ประเภท 1. การวิจัยทีเ่ กี่ยวข้องกับการบริหารการศึกษา 2. การวิจัยทีเ่ กี่ยวข้องกับสังคมวิทยาและสังคมศาสตร์ 3. การวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการเศรษฐกิจของสังคม
  • 35. ความรู้เกี่ยวกับทฤษฎีหลักสูตร นักการศึกษาหลายท่านได้ให้คานิยามเกี่ยวกับทฤษฎีไว้ดังนี้ เฮอร์เบอร์ท ไฟเจล (Herbert Feigl) ทฤษฎีคือ “การกาหนดข้อสันนิษฐานซึ่งได้ รับมาจากวิธีการของตรรกวิทยาคณิตศาสตร์ ทาให้เกิดกฎเกณฑ์ที่ได้มาจากการทดลองและ การทดลองมิใช่เกิดจากการเรียนรูจากที่ใด” ้ โลแกน และโอลม สเตด (Logan and Olmstead) “ทฤษฎี หมายถึง ข้อความหนึ่งข้อความใดที่กาหนดไว้อย่างมีเหตุผล เชื่อถือได้ และได้มีการถกเถียงกันมา ก่อนก่อนทีจะลงความเห็นว่าสมควรทีจะกาหนดเรียนว่า “ทฤษฎี” ่ ่ เฟรด เคสลินเกอร์ (Fred N. Keslinger) “ทฤษฎี คือ การผสมผสานของ ความคิดรวบยอดที่แสดงให้เห็นถึงปรากฏการณ์ทมีระบบ และเกิดความจริงจน ี่ สามารถพิสจน์ได้” ู 35
  • 36. ความรู้เกี่ยวกับทฤษฎีหลักสูตร ทฤษฎีหลักสูตร เป็นแนวคิดใหม่ที่มนักพัฒนาหลักสูตรได้นามาใช้ ทฤษฎีหลักสูตรเป็น ี การผสมผสานทฤษฎีต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาเข้ามาไว้ด้วยกัน กาหนดขึ้นเพือการ ่ นามาใช้ในการพัฒนาหลักสูตร ทฤษฎีหลักสูตรจึงเป็นการพิจารณานาเอาพัฒนาการ ของมนุษย์นาเข้ามาใช้ เป็นการจัดและแยกประเภทของเหตุการณ์ต่างๆ และโยง ความสัมพันธ์กับเหตุการณ์นั้น นาเอามาใช้และพิจารณาโครงสร้างและเนือหาวิชาที่เหมาะสม ้ นามาบรรจุไว้ในหลักสูตรด้วยการคานึงถึงความสอดคล้องตามสภาพการณ์ต่างๆ ทั้งในส่วน ของผู้เรียนและในส่วนของสังคม การนาทฤษฎีหลักสูตรไปใช้จะประกอบด้วยการจัดประเภท การวางแผนการประเมินค่าและการปฏิบัติ
  • 37. มิติของการพัฒนาหลักสูตร 1. การวางแผนจัดทาหรือยกร่างหลักสูตร (Curriculum Planning) 2. การใช้หลักสูตร (Curriculum Implementation) 3. การประเมินหลักสูตร (Curriculum Evaluation)
  • 38. วิเคราะห์ข้อมูลพื ้นฐาน การวาง กาหนดจุดมุ่งหมาย กาหนดเนื ้อหาและประสบกา แผนพัฒนา กาหนดการวัดและประเมินผล การผลิตและใช้ สื่อการเรี ยนการสอน หลักสูตร ยม การเตรี การบริ หารหลักสูตร บุคลากร การใช้ การสอนตามหลักสูตร หลักสูตร เอกสารหลักสูตร การประเมิน การใช้ หลักสูตร สัมฤทธิผลของหลักสูตร หลักสูตร หลักสูตรทังระบบ ้