SlideShare a Scribd company logo
1 of 15
Download to read offline
Chapter 7 :
นวัตกรรมทางการศึกษา
กระทรวงศึกษาธิการต้องการให้ท่านเลือกและสร้างนวัตกรรมการ
เรียนรู้ ให้เหมาะสมกับบริบทของโรงเรียนทั้ง 3 แห่งคือ โรงเรียนเปรมสวัสดิ์
โรงเรียนมหาชัย โรงเรียนเทศบาลวัดธาตุ
สถานการณ์ปัญหา(Problem-based learning)
• โรงเรียนเปรมสวัสดิ์ เป็นโรงเรียนที่อยู่ห่างไกลความเจริญ ไม่มีการเชื่อมโยง
เครือข่ายอินเตอร์เน็ต แต่พอจะมีคอมพิวเตอร์ใช้บ้าง ซึ่งเป็นห้องคอมพิวเตอร์
สาหรับนักเรียนความต้องการของโรงเรียนคืออยากจะได้สื่อที่มาแก้ปัญหาการเรียน
การสอนที่ช่วยกระตุ้นให้เด็กมีความสนใจในการเรียนมากขึ้น สื่อนี้สามารถทาให้
เด็กเห็นสภาพเสมือนจริง (Realistic) และเหมาะสมกับการศึกษารายบุคคล โดย
ผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์กับสื่อโดยตรง อาจจะมีภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว เสียง หรือวีดิ
ทัศน์ประกอบอยู่ในสื่อนั้น เพื่อสร้างความตื่นเต้น น่าสนใจ และสามารถย้อน
ทบทวนส่วนที่ต้องการได้โดยไม่มีข้อจากัด มีการประเมินเพื่อแก้ไขข้อบกพร่องของ
ตนเองได้ อาจจะออกแบบมาในลักษณะของเกม หรือลักษณะที่กระตุ้นให้ผู้เรียน
ให้มีความกระตือรือร้นมากขึ้นทั้งนี้ก็สอดแทรกเนื้อหาวิชาการเข้าไว้อย่างเหมาะสม
โรงเรียนมหาชัย ต้องการนวัตกรรมที่สามารถแก้ไขข้อจากัดด้านสถานที่ และ
เวลา โดยประยุกต์ใช้คุณสมบัติ เวิล์ด ไวด์ เว็บ ที่โรงเรียนมีอยู่ในการจัดสภาพแวดล้อม
และสนับสนุนการเรียนการสอน สิ่งแรกที่ต้องมี คือการลงทะเบียนเพื่อขอรหัสผ่านเข้า
เรียน หลังจากนั้นผู้เรียนศึกษาเนื้อหาอาจเป็นการอ่านบนจอหรือโหลดเนื้อหาลงมาที่
เครื่องของตนหรือสั่งพิมพ์ทางเครื่องพิมพ์เพื่อศึกษาภายหลังก็ได้ ผู้เรียนสามารถ
กาหนดการเรียนได้ด้วยตนเอง (Self-directed) เปิดโอกาสให้เลือกเรียนได้ตามสะดวก
สามารถกาหนดกรอบเวลาในการเรียนรู้ ได้เหมาะสมกับความสามารถในการเรียนรู้ ของ
ตนเอง คลอบคลุมทั้งการเรียนแบบประสานเวลา (Synchronous Learning) และไม่ประสาน
เวลา(Asynchronous Learning) และสามารถถามคาถาม ทาแบบฝึกหัด ทารายงานกลุ่ม
อภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็นแก่ผู้เรียนคนอื่นๆ ได้ และยังสามารถเข้าถึงเนื้อหาได้ทุก
ที่ ทุกเวลา ทุกสถานที่
โรงเรียนเทศบาลวัดธาตุ ต้องการออกแบบนวัตกรรมการเรียนรู้ที่เน้นให้ผู้เรียนสามารถ
สร้างความรู้ด้วยตนเอง โดยการเผชิญสถานการณ์ปัญหา มีแหล่งเรียนรู้ให้ผู้เรียนได้สืบค้น เมื่อไม่
สามารถแก้ปัญหาได้ก็มีฐานความช่วยเหลือ พร้อมทั้งมีเครื่องมือที่สนับสนุนการร่วมมือกันแก้ปัญหา
สามารถแลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่างกันได้ตลอดเวลา นอกจากนี้นวัตกรรมที่พัฒนาขึ้นต้อง
สามารถนามาใช้ ได้ในหลายบริบทเนื่องจากผู้เรียนมีความแตกต่างกัน บางกลุ่มชอบที่จะเรียนบน
เครือข่าย บางกลุ่มชอบที่จะเรียนแบบมัลติมีเดีย และบางกลุ่มชอบที่จะสามารถนาไปใช้เรียนได้ทุก
สถานที่ไม่ว่าจะเป็นใต้ร่มไม้ หรือสถานที่ที่ไม่มีคอมพิวเตอร์ก็สามารถใช้เรียนรู้ เพื่อให้เกิด
ประสิทธิภาพได้
อธิบายความหมายและจาแนกประเภทของสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้
ภารกิจที่ 1
ความหมายของสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้
สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ที่พัฒนาตามแนวคอน
สตรัคติวิสต์ เป็นการออกแบบที่ประสานร่วมกันระหว่าง
“สื่อ (Media)” กับ “วิธีการ (Methods)” โดยการนาทฤษฎี
คอนสตรัคติวิสต์ มาเป็นพื้นฐานในการออกแบบร่วมกับ
สื่อ ซึ่งมีคุณลักษณะของสื่อ
และระบบสัญลักษณ์ของสื่อที่สนับสนุนการสร้างความรู้
ของผู้เรียน
ประเภทของสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้
สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ตามแนว
คอนสตรัคติวิสต์ สามารถแยกตามบริบทของ
สื่อและคุณลักษณะของสื่อได้ 3 ลักษณะ คือ
(1) สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้บนเครือข่ายตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
(2) มัลติมีเดียตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
(3) ชุดสร้างความรู้
วิเคราะห์เลือกใช้นวัตกรรมการเรียนรู้ ให้สอดคล้องกับบริบทของ
โรงเรียนทั้ง 3 แห่งนี้
ภารกิจที่ 2
โรงเรียนเปรมสวัสดิ์
คอมพิวเตอร์ช่วยสอน มัลติมีเดีย
- สามารถทาให้ เด็กเห็นสภาพเสมือนจริง (Realistic)
- ผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์กับสื่อโดยตรง อาจจะมีภาพนิ่ง
ภาพเคลื่อนไหว เสียง หรือวีดิทัศน์ประกอบอยู่ในสื่อนั้น
- มีการประเมินเพื่อแก้ไขข้อบกพร่องของตนเองได้
- อาจจะออกแบบมาในลักษณะของเกม
- สอดแทรกเนื้อหาวิชาการเข้าไว้อย่างเหมาะสม
โรงเรียนมหาชัย
การเรียนรู้บนเครือข่าย E-Learning
- ผู้เรียนสามารถกาหนดการเรียนได้ด้วย
ตนเอง
- สามารถถามคาถาม ทาแบบฝึกหัด ทา
รายงานกลุ่ม อภิปรายแลกเปลี่ยนความ
คิดเห็นแก่ผู้เรียนคนอื่นๆ ได้
- สามารถเข้าถึงเนื้อหาได้ทุกที่ ทุกเวลา ทุก
สถานที่
- ประยุกต์ใช้คุณสมบัติ เวิล์ด ไวด์ เว็บ
- บทเรียนที่นาเสนอผ่านเครือข่าย
คอมพิวเตอร์
โรงเรียนเทศบาลวัดธาตุ
ชุดสร้างความรู้
มัลติมีเดียตามแนวคอน
สตรัคติวิสต์
สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้
บนเครือข่ายตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
- เน้นให้ผู้เรียนสามารถสร้างความรู้ด้วยตนเอง
- การเผชิญสถานการณ์ปัญหา
- มีแหล่งเรียนรู้ให้ผู้เรียนได้สืบค้น
- มีฐานความช่วยเหลือ
- มีเครื่องมือที่สนับสนุนการร่วมมือกันแก้ปัญหา
- สามารถแลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่างกันได้ตลอดเวลา
จากประเภทของนวัตกรรมการเรียนรู้ในบทที่ 7 ให้นักศึกษาเสนอ
นวัตกรรมการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับลักษณะวิชาเอกที่นักศึกษาจะปฏิบัติ
หน้าที่สอน พร้อมทั้งอธิบายเหตุผล
ภารกิจที่ 3
สาขาวิชาคณิตศาสตรศึกษา
Open Approach
สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ตามแนวคอน
สตรัคติวิสต์
เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง - เน้นการลงมือปฏิบัติด้วยตนเอง
- พัฒนาศักยภาพทางการคิด
- แสวงหาความรู้ด้วยตนเอง
หลักการ - สร้างสถานการณ์, แหล่งเรียนรู้,
ฐานความช่วยเหลือ, การร่วมมือกันแก้ปัญหา
1.นายธนัตถ์ พาสุข 553050077-6
2.นายศุภกร ศรีธรรมา 553050103-1
3.นายภวนันท์ชัย สวัสดิ์สละ 553050311-4
4.นายสุจินดา รัตนไพโรจน์ 553050323-7
สมาชิกภายในกลุ่ม

More Related Content

What's hot

CHAPTER 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
CHAPTER 7 นวัตกรรมทางการศึกษาCHAPTER 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
CHAPTER 7 นวัตกรรมทางการศึกษาAa-bb Sangwut
 
Chapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
Chapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษาChapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
Chapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษาWuth Chokcharoen
 
Chapter7 นวัตกรรมทางการศึกษา
Chapter7 นวัตกรรมทางการศึกษาChapter7 นวัตกรรมทางการศึกษา
Chapter7 นวัตกรรมทางการศึกษาPrakaidao Suebwong
 
บทที่7นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่7นวัตกรรมทางการศึกษาบทที่7นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่7นวัตกรรมทางการศึกษาThamonwan Kottapan
 
บทที่ึ7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ึ7 นวัตกรรมทางการศึกษาบทที่ึ7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ึ7 นวัตกรรมทางการศึกษาNoom Theerayut
 
Chapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
Chapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษาChapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
Chapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษาNidnoy Thanyarat
 

What's hot (13)

Inno present chapt7
Inno present chapt7Inno present chapt7
Inno present chapt7
 
Chapter 7
Chapter 7Chapter 7
Chapter 7
 
Chapter7
Chapter7Chapter7
Chapter7
 
Chap.7 (problem)
Chap.7 (problem)Chap.7 (problem)
Chap.7 (problem)
 
CHAPTER 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
CHAPTER 7 นวัตกรรมทางการศึกษาCHAPTER 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
CHAPTER 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
 
Chapter7
Chapter7Chapter7
Chapter7
 
Chapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
Chapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษาChapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
Chapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
 
Chapter7 นวัตกรรมทางการศึกษา
Chapter7 นวัตกรรมทางการศึกษาChapter7 นวัตกรรมทางการศึกษา
Chapter7 นวัตกรรมทางการศึกษา
 
บทที่7นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่7นวัตกรรมทางการศึกษาบทที่7นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่7นวัตกรรมทางการศึกษา
 
บทที่ึ7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ึ7 นวัตกรรมทางการศึกษาบทที่ึ7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ึ7 นวัตกรรมทางการศึกษา
 
Chapter7
Chapter7Chapter7
Chapter7
 
Chapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
Chapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษาChapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
Chapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
 
ภาระกิจ บทที่ 7
ภาระกิจ บทที่ 7ภาระกิจ บทที่ 7
ภาระกิจ บทที่ 7
 

Similar to Innovation chapter 7 p

บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษาบทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษาKanatip Sriwarom
 
บทที่7 นวัตกรรมการศึกษา
บทที่7 นวัตกรรมการศึกษาบทที่7 นวัตกรรมการศึกษา
บทที่7 นวัตกรรมการศึกษาSattakamon
 
งานนำเสนอ Chapter 7
งานนำเสนอ Chapter 7งานนำเสนอ Chapter 7
งานนำเสนอ Chapter 7Markker Promma
 
Chapter 7 by โจโจ้ซัง
Chapter 7 by โจโจ้ซังChapter 7 by โจโจ้ซัง
Chapter 7 by โจโจ้ซังTannoi Tesprasit
 
งานกลุ่ม Chapter 7
งานกลุ่ม Chapter 7งานกลุ่ม Chapter 7
งานกลุ่ม Chapter 7Pronsawan Petklub
 
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษาบทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษาpohn
 
บทท 7 นว_ตกรรมทางการศ_กษา
บทท  7 นว_ตกรรมทางการศ_กษาบทท  7 นว_ตกรรมทางการศ_กษา
บทท 7 นว_ตกรรมทางการศ_กษาsinarack
 
บทที่7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่7 นวัตกรรมทางการศึกษาบทที่7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่7 นวัตกรรมทางการศึกษาAomJi Math-ed
 
บทท 7 นว_ตกรรมทางการศ_กษา
บทท  7 นว_ตกรรมทางการศ_กษาบทท  7 นว_ตกรรมทางการศ_กษา
บทท 7 นว_ตกรรมทางการศ_กษาN'Fern White-Choc
 
งานที่ 7 นวัตกรรมการศึกษา
งานที่ 7 นวัตกรรมการศึกษางานที่ 7 นวัตกรรมการศึกษา
งานที่ 7 นวัตกรรมการศึกษาPui Chanisa Itkeat
 

Similar to Innovation chapter 7 p (18)

Chap.7 (problem)
Chap.7 (problem)Chap.7 (problem)
Chap.7 (problem)
 
Chap.7 (problem)
Chap.7 (problem)Chap.7 (problem)
Chap.7 (problem)
 
Chap.7 (problem)
Chap.7 (problem)Chap.7 (problem)
Chap.7 (problem)
 
Chapter 7
Chapter 7Chapter 7
Chapter 7
 
Chapter 7
Chapter 7Chapter 7
Chapter 7
 
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษาบทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
 
บทท 7
บทท  7บทท  7
บทท 7
 
บทที่7 นวัตกรรมการศึกษา
บทที่7 นวัตกรรมการศึกษาบทที่7 นวัตกรรมการศึกษา
บทที่7 นวัตกรรมการศึกษา
 
Charpter7miii
Charpter7miiiCharpter7miii
Charpter7miii
 
1413315061 chapter7
1413315061 chapter71413315061 chapter7
1413315061 chapter7
 
งานนำเสนอ Chapter 7
งานนำเสนอ Chapter 7งานนำเสนอ Chapter 7
งานนำเสนอ Chapter 7
 
Chapter 7 by โจโจ้ซัง
Chapter 7 by โจโจ้ซังChapter 7 by โจโจ้ซัง
Chapter 7 by โจโจ้ซัง
 
งานกลุ่ม Chapter 7
งานกลุ่ม Chapter 7งานกลุ่ม Chapter 7
งานกลุ่ม Chapter 7
 
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษาบทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
 
บทท 7 นว_ตกรรมทางการศ_กษา
บทท  7 นว_ตกรรมทางการศ_กษาบทท  7 นว_ตกรรมทางการศ_กษา
บทท 7 นว_ตกรรมทางการศ_กษา
 
บทที่7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่7 นวัตกรรมทางการศึกษาบทที่7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่7 นวัตกรรมทางการศึกษา
 
บทท 7 นว_ตกรรมทางการศ_กษา
บทท  7 นว_ตกรรมทางการศ_กษาบทท  7 นว_ตกรรมทางการศ_กษา
บทท 7 นว_ตกรรมทางการศ_กษา
 
งานที่ 7 นวัตกรรมการศึกษา
งานที่ 7 นวัตกรรมการศึกษางานที่ 7 นวัตกรรมการศึกษา
งานที่ 7 นวัตกรรมการศึกษา
 

More from Phavanunchai Sawadsala (11)

Innovation chapter 10
Innovation chapter 10Innovation chapter 10
Innovation chapter 10
 
Innovation chapter 9
Innovation chapter 9Innovation chapter 9
Innovation chapter 9
 
Innovation chapter 8
Innovation chapter 8Innovation chapter 8
Innovation chapter 8
 
Innovation chapter 6
Innovation chapter 6Innovation chapter 6
Innovation chapter 6
 
Innovation chapter 5
Innovation chapter 5Innovation chapter 5
Innovation chapter 5
 
Innovation chapter 4
Innovation chapter 4Innovation chapter 4
Innovation chapter 4
 
Innovation chapter 3
Innovation chapter 3Innovation chapter 3
Innovation chapter 3
 
Innovation make a plan
Innovation make a planInnovation make a plan
Innovation make a plan
 
Innovation chapter 2
Innovation chapter 2Innovation chapter 2
Innovation chapter 2
 
Innovation chapter 1 by P Net Nheng & Tle
Innovation chapter 1 by P Net Nheng & TleInnovation chapter 1 by P Net Nheng & Tle
Innovation chapter 1 by P Net Nheng & Tle
 
Innovation chapter 1 bymm
Innovation chapter 1 bymmInnovation chapter 1 bymm
Innovation chapter 1 bymm
 

Innovation chapter 7 p