SlideShare a Scribd company logo
1 of 15
นวัตกรรมการศึกษา 7 
ประเภท
หัวข้อที่ 4 สื่อการเรียนรู้ 
สื่อการเรียนรู้(ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน กรมวิชาการ 2544 หน้า 178) 
หมายถึง ทุกสิ่งทุกอย่างรอบตัวผู้เรียนที่จะช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ เน้นสื่อที่ใช้ 
สา หรับการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองทั้งผู้เรียนและผู้สอน ผู้เรียนและผู้สอนสามารถ 
จัดทา พัฒนาสื่อการเรียนรู้ขึ้นเอง หรือนา สื่อต่าง ๆ ที่มีอยู่รอบตัวมาใช้ในการเรียนรู้ 
เพื่อให้ผู้เรียนบรรลุวัตถุประสงค์การเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพ 
อาจกล่าวได้ว่า สื่อการเรียนรู้ ( Educational Material ) เทคโนโลยีการสอน ( 
Instructional Technology ) และ เทคโนโลยีการเรียนรู้ ( Learning Technology ) มี 
ความหมายใกล้เคียงกัน
สื่อการเรียนรู้สามารถจา แนกออกตามลักษณะได้เป็น 3 ประเภท คือ 
1. สื่อสิ่งพิมพ์หมายถึง หนังสือและเอกสารสิ่งพิมพ์ต่างๆ ที่แสดงหรือเรียบเรียงสาระ 
ความรู้ต่าง ๆ โดยใช้ตัวหนังสือ มีหลายชนิด ได้แก่ เอกสาร หนังสือเรียน หนังสือพิมพ์ 
นิตยสาร วารสาร บันทึก รายงาน ฯลฯ
2. สื่อเทคโนโลยีหมายถึง สื่อการเรียนรู้ที่ผลิตขึ้นใช้ควบคู่กับเครื่องมือโสตทัศนวัสดุ หรือ 
เป็นเทคโนโลยีใหม่ ๆ เช่น แถบบันทึกภาพพร้อมเสียง (วิดีทัศน์) แถบบันทึกเสียง ภาพนิ่ง 
สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน นอกจากนี้ยังหมายรวมถึงกระบวนการต่างๆ ที่นา เทคโนโลยีมา 
ประยุกต์ใช้ในการเรียนรู้ เช่น การใช้อินเทอร์เน็ตเพื่อการเรียนรู้ การศึกษาทางไกลผ่าน 
ดาวเทียม เป็นต้น
3. สื่ออื่น ๆ นอกเหนือจากสื่อ 2 ประเภทที่กล่าวไปแล้ว ยังมีสื่ออื่นๆ ที่ส่งเสริมการเรียนรู้ 
ของผู้เรียน ซึ่งมี ความสา คัญไม่ยิ่งหย่อนไปกว่าสื่อสิ่งพิมพ์และสื่อเทคโนโลยี
สื่อที่กล่าวนี้ ได้แก่ 
3.1 บุคคล หมายถึง บุคคลที่มีความรู้ ความสามารถ ความเชี่ยวชาญในสาขาต่าง ๆ 
ซึ่งสามารถถ่ายทอด สาระความรู้ แนวคิดและประสบการณ์ไปสู่บุคคลอื่น เช่น 
บุคลากรในท้องถิ่น แพทย์ ตา รวจ นักธุรกิจ เป็นต้น 
3.2 ธรรมชาตแิละสิ่งแวดล้อม หมายถึง สิ่งมีอยู่ตามธรรมชาติและสภาพแวดล้อมตัว 
ผู้เรียน เช่น พืชผักผลไม้ ปรากฏการณ์ ห้องปฏิบัติการ เป็นต้น
3.3 กิจกรรม / กระบวนการ หมายถึง กิจกรรมหรือกระบวนการที่ผู้สอนและผู้เรียน 
กา หนดขึ้นเพื่อสร้างเสริม ประสบการณ์การเรียนรู้ของผู้เรียน เช่น บทบาทสมมติ 
การสาธิต การจัดนิทรรศการ การทา โครงงาน เกม เพลง เป็นต้น 
3.4 วัสดุ เครื่องมือและอุปกรณ์หมายถึง วัสดุที่ประดิษฐ์ขึ้นใช้เพื่อประกอบการ 
เรียนรู้ เช่น หุ่นจา ลอง แผนภูมิ แผนที่ ตาราง สถิติ รวมถึงสื่อประเภทเครื่องมือและ 
อุปกรณ์ที่จา เป็นต้องใช้ในการปฏิบัติงานต่างๆ เช่น อุปกรณ์ทดลองวทิยาศาสตร์ 
เครื่องมือช่าง เป็นต้น
เปรียบเทียบข้อดี(จุดเด่น)และข้อจากัด(ข้อเสีย)ของสื่อเพื่อการเรียนรู้แต่ละประเภท 
1. สิ่งพิมพ์ต่างๆ เช่น หนังสือ ตา รา-เรียน คู่มือ ฯลฯ 
ข้อดี- เป็นวิธีการเรียนรู้ที่ดีที่สุดวิธีหนึ่ง 
- สามารถอ่านได้ตามอัตราความสามารถของแต่ละบุคคล 
- เหมาะสาหรับการอ้างอิงหรือทบทวน 
- เหมาะสา หรับการผลิตเป็นจา นวนมาก สะดวกในการแก้ไขปรับปรุงเนื้อหาใหม่ 
ข้อจากัด - ถ้าจะให้ได้สิ่งพิมพ์คุณภาพดี จา เป็นต้องใช้ต้นทุนในการผลิตสูง 
- บางครั้งต้องพิมพ์ใหม่เพื่อปรับปรุงข้อมูลที่ล้าสมัย 
- ผู้ที่ไม่รู้หนังสือไม่สามารถอ่านเข้าใจได้
2. สื่อเทคโนโลยี เช่น คอมพิวเตอร์ 
ข้อดี - ใช้งานได้หลายประเภท เช่น การคา นวณ จัดเก็บฐานข้อมูล การจัดหน้าสิ่งพิมพ์ 
ฯลฯ 
- ใช้แก้ปัญหาต่างๆ ที่ซับซ้อนได้ 
- เสนอข้อมูลได้หลายประเภททั้ง ตัวอักษร ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว และเสียง 
- มีการโต้ตอบกับผู้เรียนเพื่อให้ผลป้อนกลับด้วยความรวดเร็ว 
- สามารถบันทึกข้อมูลเก็บไว้ในหน่วยความจา ของเครื่องหรือในวัสดุบันทึกอื่น เช่น จาน 
บันทึกและเทปแม่เหล็กได้ 
ข้อจากัด – มีราคาสูงพอสมควร 
- ต้องมีการบา รุงรักษาตามระยะเวลา 
- ต้องใช้กับโปรแกรมซอฟต์แวร์ประเภทต่างๆ จึงจะใช้งานได้ 
- มีการเปลี่ยนแปลงด้านอุปกรณ์ เช่น ความเร็วในการทา งานการ์ดประเภทต่าง ๆ จนทา ให้ 
เครื่องที่มี อยู่ล้าสมัยได้เร็ว
3. สื่ออื่นๆ 
3.1 บุคคล 
ข้อดี - เป็นสื่อที่ทุกคนมีอยู่แล้ว ไม่ต้องสิ้นเปลืองในการซื้อสื่อแบบสื่ออื่น ๆ 
- ทา ให้ผู้พูดและฟังเห็นหน้าตา บุคลิก ลีลา ท่าทาง น้า เสียงประกอบการพูดซึ่งมีอิทธิพลในการชักจูง 
และเร้าความสนใจได้มากกว่า 
- เป็นการสื่อสารสองทาง ทั้งผู้พูดและผู้ฟังสามารถโต้ตอบกันได้ทันที 
- ผู้พูดสามารถปรับเนื้อหาให้เหมาะกับผู้ฟังได้ทันท่วงที 
- เหมาะกับการเผยแพร่เรื่องราวที่ไม่สลับซับซ้อนหรือติดต่อสัมพันธ์กันเป็นการส่วนตัว 
ข้อจากัด - ไม่มีความคงทนถาวร พูดแล้วก็ผ่านเลยไป 
- ไม่สามารถครอบคลุมผู้ฟังจา นวนมากๆได้ 
- หากผู้พูดขาดความสามารถในการพูดจูงใจ ก็จะทา ให้การพูดล้มเหลวได้ 
- เนื้อหาสาระที่นา มาพูดหากสลับซับซ้อนเกินไป ทา ให้ผู้ฟังไม่เข้าใจ ต้องมีอุปกรณ์ประกอบการพูด 
เช่น ภาพถ่าย ภาพสไลด์ ภาพยนตร์ 
- เป็นสื่อที่ไม่มีหลักฐานอ้างอิงที่ชัดเจน
3.2 ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 
ข้อดี - ใช้ต้นทุนการผลิตน้อย 
- มีอยู่รอบตัวสามารถเข้าถึงได้ง่าย 
ข้อจากัด - สื่อบางชนิดอาจเป็นอันตราย เช่น สัตว์มีพิษต่างๆ 
- ไม่สามารถอยู่ได้อย่างคงทน ถาวร
3.3 กิจกรรม/กระบวนการ เช่น การสาธิต 
ข้อดี - การนาเสนอการปฏิบัติและกรรมวิธีให้เห็นอย่างเป็นขั้นตอนได้ชัดเจน 
- ใช้สอนทักษะได้เป็นอย่างดี 
- สร้างประสบการณ์ให้ผู้เรียนมีการรับรู้ร่วมกัน 
- กระตุ้นให้มีการซักถามและปฏิบัติตามขั้นตอนได้ 
ข้อจากัด – ผู้สอนต้องมีทักษะความชา นาญในวิธีการสาธิตเป็นอย่างดีจึงจะสามารถ 
ดา เนินการได้อย่างราบรื่น 
- อาจเสียค่าใช้จ่ายสูง 
- อาจไม่สามารถหาสถานที่ที่เหมาะสมในการสาธิตได้
3.4 วัสดุ เครื่องมือและอุปกรณ์ เช่น ของจาลอง หุ่นจาลองขนาดเท่า หรือขยายของจริง 
ข้อดี- อยู่ในลักษณะ 3 มิติ 
- สามารถจับต้องและพิจารณา รายละเอียดได้ 
- เหมาะสา หรับการแสดงที่ไม่สามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า (เช่น ลักษณะของอวัยวะภายใน 
ร่างกาย) 
- สามารถใช้แสดงหน้าที่และลักษณะส่วนประกอบ 
- ช่วยในการเรียนรู้และการปฏิบัติทักษะชนิดต่าง ๆ 
- หุ่นบางอย่างสามารถผลิตได้ด้วยวัสดุท้องถิ่นที่หาได้ 
ข้อจากัด – ต้องอาศัยความชานาญในการผลิต 
- ส่วนมากราคาจะแพง 
- ปกติเหมาะสาหรับการแสดงต่อกลุ่มย่อย 
- ชารุดเสียหายได้ง่าย 
- ถ้าทา ได้ไม่เหมือนของจริงทุกประการ บางครั้งอาจทา ให้เกิดความเข้าใจผิดได้
แหล่งอ้างอิง 
http://www.thaiall.com/learningmedia/ 
http://phonake2504.wordpress.com/2008/11/17/สื่อการเรียนรู้- 
ตอนที่-2/ 
http://www.thaigoodview.com/node/133851
รายชื่อสมาชิกกลุ่ม 
1 นางสาวรัตนา พิสัยเลิศ 551116046 AA 
2 นางสาววิรัญชนา มาเยอะ 551116047 AA 
3 นางสาวปภาวดี ธิโนชัย 551116049 AA 
4 นางสาวกัญจนพร อภัยกาวี 551116057 AA 
5 นางสาวงามทิพย์ ภูชมศรี 551116070 AA 
6 นางสาววาริทร์ คาจา 551116073 AA 
7 นางสาวนิราวรรณ สุทธสม 551116082 AA 
8 นางสาววิภาพร พรมวงค์ 551116084 AA 
9 นางสาวทิวารินทร์ อินต๊ะต๋อม 551116009 AA 
10 นางสาวพิชชานันทร์ จาจา 551116017 AA 
11 นางสาวนวพร ไหมศรี 551116065 AA

More Related Content

What's hot

เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4Thanawut Rattanadon
 
แบบสอบถามความคิดเห็นสำหรับผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหาเกี่ยวกับ
แบบสอบถามความคิดเห็นสำหรับผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหาเกี่ยวกับแบบสอบถามความคิดเห็นสำหรับผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหาเกี่ยวกับ
แบบสอบถามความคิดเห็นสำหรับผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหาเกี่ยวกับบุญรักษา ของฉัน
 
ขออนุญาตให้บุคลากรในสังกัดเข้าร่วมเป็นคณะทำงานในการอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง ...
ขออนุญาตให้บุคลากรในสังกัดเข้าร่วมเป็นคณะทำงานในการอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง ...ขออนุญาตให้บุคลากรในสังกัดเข้าร่วมเป็นคณะทำงานในการอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง ...
ขออนุญาตให้บุคลากรในสังกัดเข้าร่วมเป็นคณะทำงานในการอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง ...chaiwat vichianchai
 
คำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิด
คำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิดคำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิด
คำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิดA-NKR Ning
 
การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21
การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21
การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21Anucha Somabut
 
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณีรูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณีParichart Ampon
 
ประวัติผู้วิจัย
ประวัติผู้วิจัยประวัติผู้วิจัย
ประวัติผู้วิจัยYanee Chaiwongsa
 
แบบประเมินชิ้นงาน
แบบประเมินชิ้นงานแบบประเมินชิ้นงาน
แบบประเมินชิ้นงานkrunueng1
 
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณีรูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณีParichart Ampon
 
เด็กไม่ส่งการบ้าน
เด็กไม่ส่งการบ้านเด็กไม่ส่งการบ้าน
เด็กไม่ส่งการบ้านaapiaa
 
เทคนิคการจัดการเรียนรู้ด้วยเกมมิฟิเคชั่น (Gamification)
เทคนิคการจัดการเรียนรู้ด้วยเกมมิฟิเคชั่น (Gamification)เทคนิคการจัดการเรียนรู้ด้วยเกมมิฟิเคชั่น (Gamification)
เทคนิคการจัดการเรียนรู้ด้วยเกมมิฟิเคชั่น (Gamification)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheetใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheetPrachoom Rangkasikorn
 
แบบประเมิน ความพึงพอใจ
แบบประเมิน ความพึงพอใจแบบประเมิน ความพึงพอใจ
แบบประเมิน ความพึงพอใจPawit Chamruang
 
ห้องสีขาว 1.1
ห้องสีขาว 1.1ห้องสีขาว 1.1
ห้องสีขาว 1.1peter dontoom
 
แบบประเมินโครงงาน1โดยอาจารย์ที่ปรึกษาก่อนpresent
แบบประเมินโครงงาน1โดยอาจารย์ที่ปรึกษาก่อนpresentแบบประเมินโครงงาน1โดยอาจารย์ที่ปรึกษาก่อนpresent
แบบประเมินโครงงาน1โดยอาจารย์ที่ปรึกษาก่อนpresentthanapat yeekhaday
 
ปัญหาการศึกษา
ปัญหาการศึกษาปัญหาการศึกษา
ปัญหาการศึกษาพัน พัน
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1KruKaiNui
 
mind map สื่อการเรียนรู้
mind map สื่อการเรียนรู้mind map สื่อการเรียนรู้
mind map สื่อการเรียนรู้Thunyalak Thumphila
 

What's hot (20)

เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
 
แบบสอบถามความคิดเห็นสำหรับผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหาเกี่ยวกับ
แบบสอบถามความคิดเห็นสำหรับผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหาเกี่ยวกับแบบสอบถามความคิดเห็นสำหรับผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหาเกี่ยวกับ
แบบสอบถามความคิดเห็นสำหรับผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหาเกี่ยวกับ
 
ขออนุญาตให้บุคลากรในสังกัดเข้าร่วมเป็นคณะทำงานในการอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง ...
ขออนุญาตให้บุคลากรในสังกัดเข้าร่วมเป็นคณะทำงานในการอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง ...ขออนุญาตให้บุคลากรในสังกัดเข้าร่วมเป็นคณะทำงานในการอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง ...
ขออนุญาตให้บุคลากรในสังกัดเข้าร่วมเป็นคณะทำงานในการอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง ...
 
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
 
คำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิด
คำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิดคำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิด
คำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิด
 
การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21
การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21
การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21
 
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณีรูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
 
ประวัติผู้วิจัย
ประวัติผู้วิจัยประวัติผู้วิจัย
ประวัติผู้วิจัย
 
แบบประเมินชิ้นงาน
แบบประเมินชิ้นงานแบบประเมินชิ้นงาน
แบบประเมินชิ้นงาน
 
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณีรูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
 
เด็กไม่ส่งการบ้าน
เด็กไม่ส่งการบ้านเด็กไม่ส่งการบ้าน
เด็กไม่ส่งการบ้าน
 
เทคนิคการจัดการเรียนรู้ด้วยเกมมิฟิเคชั่น (Gamification)
เทคนิคการจัดการเรียนรู้ด้วยเกมมิฟิเคชั่น (Gamification)เทคนิคการจัดการเรียนรู้ด้วยเกมมิฟิเคชั่น (Gamification)
เทคนิคการจัดการเรียนรู้ด้วยเกมมิฟิเคชั่น (Gamification)
 
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheetใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
 
แบบประเมิน ความพึงพอใจ
แบบประเมิน ความพึงพอใจแบบประเมิน ความพึงพอใจ
แบบประเมิน ความพึงพอใจ
 
ห้องสีขาว 1.1
ห้องสีขาว 1.1ห้องสีขาว 1.1
ห้องสีขาว 1.1
 
แบบประเมินโครงงาน1โดยอาจารย์ที่ปรึกษาก่อนpresent
แบบประเมินโครงงาน1โดยอาจารย์ที่ปรึกษาก่อนpresentแบบประเมินโครงงาน1โดยอาจารย์ที่ปรึกษาก่อนpresent
แบบประเมินโครงงาน1โดยอาจารย์ที่ปรึกษาก่อนpresent
 
ปัญหาการศึกษา
ปัญหาการศึกษาปัญหาการศึกษา
ปัญหาการศึกษา
 
ปกโครงร่างวิทยานิพนธ์
ปกโครงร่างวิทยานิพนธ์ปกโครงร่างวิทยานิพนธ์
ปกโครงร่างวิทยานิพนธ์
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
 
mind map สื่อการเรียนรู้
mind map สื่อการเรียนรู้mind map สื่อการเรียนรู้
mind map สื่อการเรียนรู้
 

Similar to นวัตกรรมการศึกษา 7 ประเภท

สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้Anny Hotelier
 
บทที่+7
บทที่+7บทที่+7
บทที่+7paynarumon
 
สื่อ
สื่อสื่อ
สื่อpoms0077
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้poms0077
 
สรุปบทที่ 7
สรุปบทที่ 7สรุปบทที่ 7
สรุปบทที่ 7Tsheej Thoj
 
Presentation3
Presentation3Presentation3
Presentation3noeynymon
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7pajyeeb
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7pajyeeb
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้Nat Thida
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้Nat Thida
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้Nat Thida
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้Nat Thida
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้Nat Thida
 
งานดอกเตอร์
งานดอกเตอร์งานดอกเตอร์
งานดอกเตอร์tuphung
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้.
สื่อและแหล่งการเรียนรู้.สื่อและแหล่งการเรียนรู้.
สื่อและแหล่งการเรียนรู้.Nkidsana
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้Sujitra ComEdu
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้Sujitra ComEdu
 

Similar to นวัตกรรมการศึกษา 7 ประเภท (20)

บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
 
บทที่+7
บทที่+7บทที่+7
บทที่+7
 
สื่อ
สื่อสื่อ
สื่อ
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
 
สรุปบทที่ 7
สรุปบทที่ 7สรุปบทที่ 7
สรุปบทที่ 7
 
Presentation3
Presentation3Presentation3
Presentation3
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
 
Chapter15630505256
Chapter15630505256Chapter15630505256
Chapter15630505256
 
งานดอกเตอร์
งานดอกเตอร์งานดอกเตอร์
งานดอกเตอร์
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้.
สื่อและแหล่งการเรียนรู้.สื่อและแหล่งการเรียนรู้.
สื่อและแหล่งการเรียนรู้.
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
 

นวัตกรรมการศึกษา 7 ประเภท

  • 2. หัวข้อที่ 4 สื่อการเรียนรู้ สื่อการเรียนรู้(ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน กรมวิชาการ 2544 หน้า 178) หมายถึง ทุกสิ่งทุกอย่างรอบตัวผู้เรียนที่จะช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ เน้นสื่อที่ใช้ สา หรับการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองทั้งผู้เรียนและผู้สอน ผู้เรียนและผู้สอนสามารถ จัดทา พัฒนาสื่อการเรียนรู้ขึ้นเอง หรือนา สื่อต่าง ๆ ที่มีอยู่รอบตัวมาใช้ในการเรียนรู้ เพื่อให้ผู้เรียนบรรลุวัตถุประสงค์การเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพ อาจกล่าวได้ว่า สื่อการเรียนรู้ ( Educational Material ) เทคโนโลยีการสอน ( Instructional Technology ) และ เทคโนโลยีการเรียนรู้ ( Learning Technology ) มี ความหมายใกล้เคียงกัน
  • 3. สื่อการเรียนรู้สามารถจา แนกออกตามลักษณะได้เป็น 3 ประเภท คือ 1. สื่อสิ่งพิมพ์หมายถึง หนังสือและเอกสารสิ่งพิมพ์ต่างๆ ที่แสดงหรือเรียบเรียงสาระ ความรู้ต่าง ๆ โดยใช้ตัวหนังสือ มีหลายชนิด ได้แก่ เอกสาร หนังสือเรียน หนังสือพิมพ์ นิตยสาร วารสาร บันทึก รายงาน ฯลฯ
  • 4. 2. สื่อเทคโนโลยีหมายถึง สื่อการเรียนรู้ที่ผลิตขึ้นใช้ควบคู่กับเครื่องมือโสตทัศนวัสดุ หรือ เป็นเทคโนโลยีใหม่ ๆ เช่น แถบบันทึกภาพพร้อมเสียง (วิดีทัศน์) แถบบันทึกเสียง ภาพนิ่ง สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน นอกจากนี้ยังหมายรวมถึงกระบวนการต่างๆ ที่นา เทคโนโลยีมา ประยุกต์ใช้ในการเรียนรู้ เช่น การใช้อินเทอร์เน็ตเพื่อการเรียนรู้ การศึกษาทางไกลผ่าน ดาวเทียม เป็นต้น
  • 5. 3. สื่ออื่น ๆ นอกเหนือจากสื่อ 2 ประเภทที่กล่าวไปแล้ว ยังมีสื่ออื่นๆ ที่ส่งเสริมการเรียนรู้ ของผู้เรียน ซึ่งมี ความสา คัญไม่ยิ่งหย่อนไปกว่าสื่อสิ่งพิมพ์และสื่อเทคโนโลยี
  • 6. สื่อที่กล่าวนี้ ได้แก่ 3.1 บุคคล หมายถึง บุคคลที่มีความรู้ ความสามารถ ความเชี่ยวชาญในสาขาต่าง ๆ ซึ่งสามารถถ่ายทอด สาระความรู้ แนวคิดและประสบการณ์ไปสู่บุคคลอื่น เช่น บุคลากรในท้องถิ่น แพทย์ ตา รวจ นักธุรกิจ เป็นต้น 3.2 ธรรมชาตแิละสิ่งแวดล้อม หมายถึง สิ่งมีอยู่ตามธรรมชาติและสภาพแวดล้อมตัว ผู้เรียน เช่น พืชผักผลไม้ ปรากฏการณ์ ห้องปฏิบัติการ เป็นต้น
  • 7. 3.3 กิจกรรม / กระบวนการ หมายถึง กิจกรรมหรือกระบวนการที่ผู้สอนและผู้เรียน กา หนดขึ้นเพื่อสร้างเสริม ประสบการณ์การเรียนรู้ของผู้เรียน เช่น บทบาทสมมติ การสาธิต การจัดนิทรรศการ การทา โครงงาน เกม เพลง เป็นต้น 3.4 วัสดุ เครื่องมือและอุปกรณ์หมายถึง วัสดุที่ประดิษฐ์ขึ้นใช้เพื่อประกอบการ เรียนรู้ เช่น หุ่นจา ลอง แผนภูมิ แผนที่ ตาราง สถิติ รวมถึงสื่อประเภทเครื่องมือและ อุปกรณ์ที่จา เป็นต้องใช้ในการปฏิบัติงานต่างๆ เช่น อุปกรณ์ทดลองวทิยาศาสตร์ เครื่องมือช่าง เป็นต้น
  • 8. เปรียบเทียบข้อดี(จุดเด่น)และข้อจากัด(ข้อเสีย)ของสื่อเพื่อการเรียนรู้แต่ละประเภท 1. สิ่งพิมพ์ต่างๆ เช่น หนังสือ ตา รา-เรียน คู่มือ ฯลฯ ข้อดี- เป็นวิธีการเรียนรู้ที่ดีที่สุดวิธีหนึ่ง - สามารถอ่านได้ตามอัตราความสามารถของแต่ละบุคคล - เหมาะสาหรับการอ้างอิงหรือทบทวน - เหมาะสา หรับการผลิตเป็นจา นวนมาก สะดวกในการแก้ไขปรับปรุงเนื้อหาใหม่ ข้อจากัด - ถ้าจะให้ได้สิ่งพิมพ์คุณภาพดี จา เป็นต้องใช้ต้นทุนในการผลิตสูง - บางครั้งต้องพิมพ์ใหม่เพื่อปรับปรุงข้อมูลที่ล้าสมัย - ผู้ที่ไม่รู้หนังสือไม่สามารถอ่านเข้าใจได้
  • 9. 2. สื่อเทคโนโลยี เช่น คอมพิวเตอร์ ข้อดี - ใช้งานได้หลายประเภท เช่น การคา นวณ จัดเก็บฐานข้อมูล การจัดหน้าสิ่งพิมพ์ ฯลฯ - ใช้แก้ปัญหาต่างๆ ที่ซับซ้อนได้ - เสนอข้อมูลได้หลายประเภททั้ง ตัวอักษร ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว และเสียง - มีการโต้ตอบกับผู้เรียนเพื่อให้ผลป้อนกลับด้วยความรวดเร็ว - สามารถบันทึกข้อมูลเก็บไว้ในหน่วยความจา ของเครื่องหรือในวัสดุบันทึกอื่น เช่น จาน บันทึกและเทปแม่เหล็กได้ ข้อจากัด – มีราคาสูงพอสมควร - ต้องมีการบา รุงรักษาตามระยะเวลา - ต้องใช้กับโปรแกรมซอฟต์แวร์ประเภทต่างๆ จึงจะใช้งานได้ - มีการเปลี่ยนแปลงด้านอุปกรณ์ เช่น ความเร็วในการทา งานการ์ดประเภทต่าง ๆ จนทา ให้ เครื่องที่มี อยู่ล้าสมัยได้เร็ว
  • 10. 3. สื่ออื่นๆ 3.1 บุคคล ข้อดี - เป็นสื่อที่ทุกคนมีอยู่แล้ว ไม่ต้องสิ้นเปลืองในการซื้อสื่อแบบสื่ออื่น ๆ - ทา ให้ผู้พูดและฟังเห็นหน้าตา บุคลิก ลีลา ท่าทาง น้า เสียงประกอบการพูดซึ่งมีอิทธิพลในการชักจูง และเร้าความสนใจได้มากกว่า - เป็นการสื่อสารสองทาง ทั้งผู้พูดและผู้ฟังสามารถโต้ตอบกันได้ทันที - ผู้พูดสามารถปรับเนื้อหาให้เหมาะกับผู้ฟังได้ทันท่วงที - เหมาะกับการเผยแพร่เรื่องราวที่ไม่สลับซับซ้อนหรือติดต่อสัมพันธ์กันเป็นการส่วนตัว ข้อจากัด - ไม่มีความคงทนถาวร พูดแล้วก็ผ่านเลยไป - ไม่สามารถครอบคลุมผู้ฟังจา นวนมากๆได้ - หากผู้พูดขาดความสามารถในการพูดจูงใจ ก็จะทา ให้การพูดล้มเหลวได้ - เนื้อหาสาระที่นา มาพูดหากสลับซับซ้อนเกินไป ทา ให้ผู้ฟังไม่เข้าใจ ต้องมีอุปกรณ์ประกอบการพูด เช่น ภาพถ่าย ภาพสไลด์ ภาพยนตร์ - เป็นสื่อที่ไม่มีหลักฐานอ้างอิงที่ชัดเจน
  • 11. 3.2 ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ข้อดี - ใช้ต้นทุนการผลิตน้อย - มีอยู่รอบตัวสามารถเข้าถึงได้ง่าย ข้อจากัด - สื่อบางชนิดอาจเป็นอันตราย เช่น สัตว์มีพิษต่างๆ - ไม่สามารถอยู่ได้อย่างคงทน ถาวร
  • 12. 3.3 กิจกรรม/กระบวนการ เช่น การสาธิต ข้อดี - การนาเสนอการปฏิบัติและกรรมวิธีให้เห็นอย่างเป็นขั้นตอนได้ชัดเจน - ใช้สอนทักษะได้เป็นอย่างดี - สร้างประสบการณ์ให้ผู้เรียนมีการรับรู้ร่วมกัน - กระตุ้นให้มีการซักถามและปฏิบัติตามขั้นตอนได้ ข้อจากัด – ผู้สอนต้องมีทักษะความชา นาญในวิธีการสาธิตเป็นอย่างดีจึงจะสามารถ ดา เนินการได้อย่างราบรื่น - อาจเสียค่าใช้จ่ายสูง - อาจไม่สามารถหาสถานที่ที่เหมาะสมในการสาธิตได้
  • 13. 3.4 วัสดุ เครื่องมือและอุปกรณ์ เช่น ของจาลอง หุ่นจาลองขนาดเท่า หรือขยายของจริง ข้อดี- อยู่ในลักษณะ 3 มิติ - สามารถจับต้องและพิจารณา รายละเอียดได้ - เหมาะสา หรับการแสดงที่ไม่สามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า (เช่น ลักษณะของอวัยวะภายใน ร่างกาย) - สามารถใช้แสดงหน้าที่และลักษณะส่วนประกอบ - ช่วยในการเรียนรู้และการปฏิบัติทักษะชนิดต่าง ๆ - หุ่นบางอย่างสามารถผลิตได้ด้วยวัสดุท้องถิ่นที่หาได้ ข้อจากัด – ต้องอาศัยความชานาญในการผลิต - ส่วนมากราคาจะแพง - ปกติเหมาะสาหรับการแสดงต่อกลุ่มย่อย - ชารุดเสียหายได้ง่าย - ถ้าทา ได้ไม่เหมือนของจริงทุกประการ บางครั้งอาจทา ให้เกิดความเข้าใจผิดได้
  • 15. รายชื่อสมาชิกกลุ่ม 1 นางสาวรัตนา พิสัยเลิศ 551116046 AA 2 นางสาววิรัญชนา มาเยอะ 551116047 AA 3 นางสาวปภาวดี ธิโนชัย 551116049 AA 4 นางสาวกัญจนพร อภัยกาวี 551116057 AA 5 นางสาวงามทิพย์ ภูชมศรี 551116070 AA 6 นางสาววาริทร์ คาจา 551116073 AA 7 นางสาวนิราวรรณ สุทธสม 551116082 AA 8 นางสาววิภาพร พรมวงค์ 551116084 AA 9 นางสาวทิวารินทร์ อินต๊ะต๋อม 551116009 AA 10 นางสาวพิชชานันทร์ จาจา 551116017 AA 11 นางสาวนวพร ไหมศรี 551116065 AA