SlideShare a Scribd company logo
1 of 5
Download to read offline
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้ 
1.ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ 
1.1ประวัติและพัฒนาการของคอมพิวเตอร์ 
1.2ส่วนประกอบและหลักการทางานของคอมพิวเตอร์ 
1.3ซอฟต์แวร์ที่ควรรู้ 
1.4ฮาร์ดแวร์ที่ควรรู้ 
2.คอมพิวเตอร์กับเครื่องมือทางปัญญา 
2.1เครื่องมือทางปัญญาคืออะไร 
2.2กรอบแนวคิดสาคัญของการใช้คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือทางปัญญา 
3.การใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนการสอน 
3.1การใช้คอมพิวเตอร์เป็นครู 
3.2การใช้คอมพิวเตอร์เป็นผู้ช่วย 
3.3การใช้คอมพิวเตอร์เป็นผู้เรียน 
1.ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ 
1.1 ประวัติและพัฒนาการของคอมพิวเตอร์ 
คอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์อิเลคทรอนิกส์ที่มีความสามารถในการคานวณอัตโนมัติตามคาสั่ง ส่วนที่ ใช้ประมวลผลเรียกว่าหน่วยประมวลผล ชุดของคาสั่งที่ระบุขั้นตอนการคานวณเรียกว่าโปรแกรม คอมพิวเตอร์ ผลลัพธ์ที่ได้ออกมานั้นอาจเป็นได้ทั้ง ตัวเลข ข้อความ รูปภาพ เสียง หรืออยู่ในรูปอื่น ๆ อีก มากมาย
เริ่มแรกมนุษย์ไม่มีการบันทึก จดบันทึกข้อมูลต่างๆ ลงบน clay tablets (คานวณโดยใช้ ลูกคิด) สร้างเครื่องกลสาหรับการคานวณชื่อ pascaline พัฒนา pascaline โดยสร้างเครื่องที่สามารถ บวก ลบ คูณ หาร และถอดรากได้ Chales Babbage ได้สร้างดิฟเฟอเรนซ์แอนจิน difference engine ที่มี ฟังก์ชันทางตรีโกณมิติต่างๆและคิดว่าจะสร้างแอนะลีติคอลเอนจิน (analytical engine ) ที่มีหลักคล้ายเครื่อง คอมพิวเตอร์ทั่วไปในปัจจุบันจึงได้รับการยกย่องว่าเป็นบิดาของคอมพิวเตอร์และเป็นผู้ริเริ่มวางรากฐาน 
2.2 ส่วนประกอบและหลักการทางานของคอมพิวเตอร์ 
ขั้นตอนการประมวลผลของคอมพิวเตอร์จะประกอบด้วย 
1. ส่วนนาเข้า (Input unit) เช่น ข้อความ ภาพ ฯลฯ 
2.ส่วนประมวลผลกลาง (Central processing unit) ประกอบด้วยหน่วยย่อย 3 หน่วย คือ 
1.หน่วยความจา (Memory) ทาหน้าที่เก็บข้อมูลจากการนาเข้าหรือจากการประมวลผลของ คอมพิวเตอร์ ซึ่งหน่วยความจาแบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ หน่วยความจาหลัก (Random Access Memory : RAM) สามารถบันทึกข้อมูลได้และลบข้อมูลได้ และROM (Read Only Memory) เป็นหน่วยความจาที่เก็บ ข้อมูลได้เพียงอย่างเดียวไม่สามารถบันทึกข้อมูลใหม่ได้ ส่วนใหญ่จะใช้เก็บโปรแกรมสาคัญหรือกราฟิก ต่างๆ 
2.หน่วยคานวณ (Arithmetic & Logic) ทาหน้าที่ประมวลผลทางคณิตศาสตร์และเหตุผล 
3.หน่วยควบคุม (Control Unit) ทาหน้าที่ในการควบคุมการทางานของคอมพิวเตอร์และทาหน้าที่ ประสานงานการทางานภายในและงานภายนอกของคอมพิวเตอร์ 
3.ส่วนแสดงผลข้อมูล (Output Unit) ทาหน้าที่ในการแสดงผลจากการประมวลผลแล้วไปยังสื่อที่แสดงผล ลัพธ์ ได้แก่ จอภาพ เครื่องพิมพ์ หรือเก็บไว้ที่หน่วยความจา 
1.3 ซอฟต์แวร์ที่ควรรู้ 
ซอฟต์แวร์ (Software) คือโปรแกรมหรือชุดของคาสั่งที่ถูกเขียนขึ้นเพื่อสั่งให้คอมพิวเตอร์ทางาน ซึ่งซอฟต์แวร์ที่ใช้กับคอมพิวเตอร์สามารถแบ่งได้เป็น 2 ประเภท คือ
-ซอฟต์แวร์ระบบ (System Software) เป็นชุดของคาสั่งที่เขียนไว้เป็นคาสั่งสาเร็จรูป คอยควบคุม การทางานของฮาร์ดแวร์ทุกอย่างและอานวยความสะดวกให้กับผู้ใช้งาน 
-ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application Software) คือซอฟต์แวร์หรือโปรแกรมที่ถูก เขียนขึ้นเพื่อการ ทางานเฉพาะอย่างที่เราต้องการ เช่นงานส่วนตัว งานทาด้านธุรกิจ นี้ซอฟต์แวร์ประยุกต์ยังมีอีกลักษณะที่ เรียกว่า ซอฟต์แวร์สาเร็จรูปที่มีผู้จัดทาไว้เพื่อใช้ในการทางานประเภทต่างๆโดยผู้ใช้คนอื่นๆ สามารถนา ซอฟต์แวร์ประเภทนี้ไปใช้กับข้อมูลของตนได้ แต่จะไม่สามารถทาการดัดแปลงหรือแก้ไขโปรแกรมได้ 
1.4 ฮาร์ดแวร์ที่ควรรู้ 
ฮาร์ดแวร์เป็นองค์ประกอบของตัวเครื่องที่สามารถจับต้องได้ ได้แก่ วงจรไฟฟ้า ตัวเครื่อง จอภาพ เครื่องพิมพ์ เป็นต้น ส่วนพื้นฐานของฮาร์ตแวร์แบ่งตามการทางานของอุปกรณ์คอมพิวเตอร์แบ่งได้เป็น 4 หน่วยสาคัญ ได้แก่ 
-เครื่องมือส่วนรับข้อมูล (Input device) ทาหน้าที่รับโปรแกรมและข้อมูลเข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์ 
-เครื่องมือส่วนแสดงผลข้อมูล (Output device) ทาหน้าที่ในการแสดงผลลัพธ์ที่ได้จากการ ประมวลผล 
-เครื่องมือส่วนจัดเก็บข้อมูล (Storage) เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ในการเก็บข้อมูลเมื่อผู้ใช้สั่งให้บันทึก ซึ่งมี สองประเภท คือ หน่วยเก็บข้อมูลหลักหรือความสาหลัก (Primary Storage หรือ Main Memory)ซึ่งจะ ประกอบด้วย ROM และRAM และหน่วยเก็บข้อมูลสารอง ( Secondary Storage 
-ระบบประมวลผลกลาง (CPU) 
2.คอมพิวเตอร์กับเครื่องมือทางปัญญา 
2.1 เครื่องมือทางปัญญาคืออะไร 
เป็นเครื่องมือที่เป็นเทคโนโลยีที่มีลักษณะที่เป็นเพื่อนทางปัญญา ที่สนับสนุน ส่งเสริมและแนะแนว รวมทั้งช่วยขยายฟังก์ชั่นการทางานกระบวนการรู้คิด (Cognitive processes) ของมนุษย์ ทั้งในขณะทาการคิด
แก้ปัญหา และการเรียนรู้ โดยผู้เรียนเป็นผู้ควบคุมและใช้เครื่องมือทางปัญญาในลักษณะการสร้างความรู้ มากกว่าการจดจาความรู้ 
2.2 กรอบแนวคิดสาคัญของการใช้คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือทางปัญญา 
เครื่องมือทางปัญญา เครื่องมือทางปัญญาเป็นการนาสมรรถนะของคอมพิวเตอร์เข้ามาช่วย เอื้ออานวยกระบวนการประมวลสารสนเทศของผู้เรียน มีการเสนอเครื่องมือทางปัญญาสาหรับการเรียนรู้ ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ 
กรอบแนวคิดของการออกแบบเครื่องมือทางปัญญาอาศัยพื้นฐานมาจากทฤษฎีประมวลสารสนเทศและ ทฤษฎีกลุ่มพุทธิปัญญาที่สาคัญ ดังเช่น ทฤษฎีความยืดหยุ่นทางปัญญา ทฤษฎี Cognitive load และทฤษฎี เมนทอลโมเดล และสรุปการใช้คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือทางปัญญา เป็น 3 กลุ่มใหญ่ๆ ประกอบด้วย 
1.เครื่องมือค้นพบ (Discovery tools) เป็นเครื่องมือที่สนับสนุนการเสาะแสวงหาสารสนเทศ การ ค้นหาข้อมูล เพื่อนามาซึ่งการค้นพบสารสนเทศหรือความรู้ที่ต้องการ 
2.เครื่องมือสร้างความรู้ (Knowledge creation tools) เป็นเครื่องมือที่สนับสนุนการสร้างความรู้ของ ผู้เรียน ที่เกิดขึ้นในความจาระยะสั้น (Short-term memory) เป็นระยะที่จะต้องประมวลผลสารสนเทศต่างๆที่ รับผ่านเข้ามาจากการบันทึกผัสสะ เพื่อจัดระเบียบ หมวดหมู สร้างความสัมพันธ์ ซึ่งในการสร้างความรู้นั้น ผู้เรียนจะต้องดึงความรู้และประสบการณ์ต่างๆมาใช้ในการสร้างความหมายของตนเอง และหากเรื่องที่ต้อง สร้างความรู้เป็นเรื่องที่ยุ่งยาก ซับซ้อน (Ill-structure) และไม่คุ้นเคย ก็จะต้องใช้ความพยายามคิด(Mental effort)อย่างมาก เป็นผลให้ใช้ค๊อกนิทีฟโหลด (Cognitive load) มาก จนอาจทาให้ไม่สามารถสร้างความรู้ได้ ดังนั้นเครื่องมือนี้จะไปสนับสนุนการสร้างความหมายของผู้เรียนและยังช่วยลด Cognitive load 
3.เครื่องมือการสื่อสาร (Communication tool) เป็นเครื่องมือที่ใช้สนับสนุนการสื่อสาร สนทนา แลกเปลี่ยนแนวความคิดระหว่างผู้เรียนด้วยกันเองและผู้สอน เพื่อสร้างชุมชนในการเรียนรู้และสังคมของ ผู้เรียน
3.การใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนการสอน 
3.1 การใช้คอมพิวเตอร์เป็นครู 
เป็นเครื่องมือในการถ่ายทอดและนาเสนอเนื้อหาการเรียนการสอนโดยตรงไปยังผู้เรียน ผู้เรียน สามารถมีปฏิสัมพันธ์กับบทเรียนได้ คือคอมพิวเตอร์ที่สามารถแสดงผลคาตอบ การเสริมแรง เฉลยแบบ ทันทีทันใด 
3.2 การใช้คอมพิวเตอร์เป็นผู้ช่วย 
จาแนกการใช้คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือช่วยผู้เรียนได้ดังนี้ การประมวลคา (Word processer) โปรแกรมงานกราฟิก โปรแกรมการนาเสนอ โปรแกรมการจัดทาฐานข้อมูล และเป็นเครื่องมือในการ สื่อสาร ซึ่งผู้เรียนสามารถเลือกใช้โปรแกรมเหล่านี้ในการช่วยสร้างผลงานให้สาเร็จตามเป้าหมายได้ 
3.3 การใช้คอมพิวเตอร์เป็นผู้เรียน 
บทบาทของผู้เรียนเป็นผู้สอนและบทบาทของคอมพิวเตอร์เป็นผู้เรียน ซึ่งการใช้คอมพิวเตอร์เป็น ผู้เรียนคือวิธีการแบบเปิด (Open-ended approach) ที่อาศัยความสามารถของผู้เรียนในการสร้างความเข้าใจ ของตนเองเกี่ยวกับเนื้อหาและวิธีการใช้คอมพิวเตอร์ วิธีการนี้ผู้สอนสามารถนาไปใช้ในชั้นเรียนของตนเอง ได้โดยให้ผู้เรียนได้เรียนรู้และสั่งการคอมพิวเตอร์ด้วยโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์อย่างง่าย

More Related Content

What's hot

บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้lalidawan
 
สื่อการสอน คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
สื่อการสอน คอมพิวเตอร์เบื้องต้นสื่อการสอน คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
สื่อการสอน คอมพิวเตอร์เบื้องต้นNoppakhun Suebloei
 
เครื่องมือที่ใช้วาดภาพในโปรแกรม Paint
เครื่องมือที่ใช้วาดภาพในโปรแกรม Paintเครื่องมือที่ใช้วาดภาพในโปรแกรม Paint
เครื่องมือที่ใช้วาดภาพในโปรแกรม PaintBenjapeon Jantakhot
 
คู่มือดำเนินงานดูแลผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังในชุมชน
คู่มือดำเนินงานดูแลผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังในชุมชนคู่มือดำเนินงานดูแลผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังในชุมชน
คู่มือดำเนินงานดูแลผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังในชุมชนUtai Sukviwatsirikul
 
คำศ พท เทคโนโลย_สารสนเทศ
คำศ พท เทคโนโลย_สารสนเทศคำศ พท เทคโนโลย_สารสนเทศ
คำศ พท เทคโนโลย_สารสนเทศItt Bandhudhara
 
การออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ
การออกกำลังกายเพื่อสุขภาพการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ
การออกกำลังกายเพื่อสุขภาพWinthai Booloo
 
เอกสารประกอบการเรียน โปรแกรม Microsoft Excel 2010
เอกสารประกอบการเรียน โปรแกรม Microsoft Excel 2010 เอกสารประกอบการเรียน โปรแกรม Microsoft Excel 2010
เอกสารประกอบการเรียน โปรแกรม Microsoft Excel 2010 kanidta vatanyoo
 
01 ความรู้เกี่ยวกับสารเสพติดเพื่อการบำบัดรักษา
01 ความรู้เกี่ยวกับสารเสพติดเพื่อการบำบัดรักษา01 ความรู้เกี่ยวกับสารเสพติดเพื่อการบำบัดรักษา
01 ความรู้เกี่ยวกับสารเสพติดเพื่อการบำบัดรักษาSambushi Kritsada
 
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตัวเอง constructivism
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตัวเอง constructivismทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตัวเอง constructivism
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตัวเอง constructivismคน ขี้เล่า
 
บทที่ 2 การเป็นผู้ประกอบการ
บทที่ 2 การเป็นผู้ประกอบการบทที่ 2 การเป็นผู้ประกอบการ
บทที่ 2 การเป็นผู้ประกอบการThamonwan Theerabunchorn
 
Operating System Chapter 3
Operating System Chapter 3Operating System Chapter 3
Operating System Chapter 3Nuth Otanasap
 
อาชีวอนามัยและความปลอดภัย
อาชีวอนามัยและความปลอดภัยอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
อาชีวอนามัยและความปลอดภัยtechno UCH
 
ใบความรู้ ที่ 2.1 เรื่อง ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับโปรแกรม microsoft excel 2010
ใบความรู้ ที่ 2.1  เรื่อง ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับโปรแกรม microsoft excel 2010ใบความรู้ ที่ 2.1  เรื่อง ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับโปรแกรม microsoft excel 2010
ใบความรู้ ที่ 2.1 เรื่อง ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับโปรแกรม microsoft excel 2010Nicharee Piwjan
 
ข้อมูลและสารสนเทศ ppt
ข้อมูลและสารสนเทศ pptข้อมูลและสารสนเทศ ppt
ข้อมูลและสารสนเทศ pptLatae Chutipas
 
ใบความรู้ที่ 5 ส่วนประกอบของโปรแกรม mit app inventor
ใบความรู้ที่ 5 ส่วนประกอบของโปรแกรม mit app inventorใบความรู้ที่ 5 ส่วนประกอบของโปรแกรม mit app inventor
ใบความรู้ที่ 5 ส่วนประกอบของโปรแกรม mit app inventorNattapon
 
Ch1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการ
Ch1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการCh1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการ
Ch1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการNittaya Intarat
 

What's hot (20)

2 p safety kanniga 60
2 p safety kanniga 602 p safety kanniga 60
2 p safety kanniga 60
 
บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
 
สื่อผังมโนทัศน์
สื่อผังมโนทัศน์สื่อผังมโนทัศน์
สื่อผังมโนทัศน์
 
สื่อการสอน คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
สื่อการสอน คอมพิวเตอร์เบื้องต้นสื่อการสอน คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
สื่อการสอน คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
Z y9hyp4sl8f20160214144302
Z y9hyp4sl8f20160214144302Z y9hyp4sl8f20160214144302
Z y9hyp4sl8f20160214144302
 
เครื่องมือที่ใช้วาดภาพในโปรแกรม Paint
เครื่องมือที่ใช้วาดภาพในโปรแกรม Paintเครื่องมือที่ใช้วาดภาพในโปรแกรม Paint
เครื่องมือที่ใช้วาดภาพในโปรแกรม Paint
 
คู่มือดำเนินงานดูแลผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังในชุมชน
คู่มือดำเนินงานดูแลผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังในชุมชนคู่มือดำเนินงานดูแลผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังในชุมชน
คู่มือดำเนินงานดูแลผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังในชุมชน
 
คำศ พท เทคโนโลย_สารสนเทศ
คำศ พท เทคโนโลย_สารสนเทศคำศ พท เทคโนโลย_สารสนเทศ
คำศ พท เทคโนโลย_สารสนเทศ
 
การออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ
การออกกำลังกายเพื่อสุขภาพการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ
การออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ
 
เอกสารประกอบการเรียน โปรแกรม Microsoft Excel 2010
เอกสารประกอบการเรียน โปรแกรม Microsoft Excel 2010 เอกสารประกอบการเรียน โปรแกรม Microsoft Excel 2010
เอกสารประกอบการเรียน โปรแกรม Microsoft Excel 2010
 
01 ความรู้เกี่ยวกับสารเสพติดเพื่อการบำบัดรักษา
01 ความรู้เกี่ยวกับสารเสพติดเพื่อการบำบัดรักษา01 ความรู้เกี่ยวกับสารเสพติดเพื่อการบำบัดรักษา
01 ความรู้เกี่ยวกับสารเสพติดเพื่อการบำบัดรักษา
 
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตัวเอง constructivism
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตัวเอง constructivismทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตัวเอง constructivism
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตัวเอง constructivism
 
บทที่ 2 การเป็นผู้ประกอบการ
บทที่ 2 การเป็นผู้ประกอบการบทที่ 2 การเป็นผู้ประกอบการ
บทที่ 2 การเป็นผู้ประกอบการ
 
บทที่ 4
บทที่ 4 บทที่ 4
บทที่ 4
 
Operating System Chapter 3
Operating System Chapter 3Operating System Chapter 3
Operating System Chapter 3
 
อาชีวอนามัยและความปลอดภัย
อาชีวอนามัยและความปลอดภัยอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
อาชีวอนามัยและความปลอดภัย
 
ใบความรู้ ที่ 2.1 เรื่อง ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับโปรแกรม microsoft excel 2010
ใบความรู้ ที่ 2.1  เรื่อง ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับโปรแกรม microsoft excel 2010ใบความรู้ ที่ 2.1  เรื่อง ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับโปรแกรม microsoft excel 2010
ใบความรู้ ที่ 2.1 เรื่อง ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับโปรแกรม microsoft excel 2010
 
ข้อมูลและสารสนเทศ ppt
ข้อมูลและสารสนเทศ pptข้อมูลและสารสนเทศ ppt
ข้อมูลและสารสนเทศ ppt
 
ใบความรู้ที่ 5 ส่วนประกอบของโปรแกรม mit app inventor
ใบความรู้ที่ 5 ส่วนประกอบของโปรแกรม mit app inventorใบความรู้ที่ 5 ส่วนประกอบของโปรแกรม mit app inventor
ใบความรู้ที่ 5 ส่วนประกอบของโปรแกรม mit app inventor
 
Ch1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการ
Ch1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการCh1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการ
Ch1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการ
 

Similar to คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้

ใบงานHardware
ใบงานHardwareใบงานHardware
ใบงานHardwarestandbyme mj
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ Radompon.com
 
Computer
ComputerComputer
Computernuting
 
Hardware&Utility
Hardware&UtilityHardware&Utility
Hardware&Utilityshadowrbac
 
คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีtee0533
 
Hardware2
Hardware2Hardware2
Hardware2Owat
 
Basiccom
BasiccomBasiccom
Basiccomkruniid
 
Basiccom
BasiccomBasiccom
Basiccomkruniid
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ThanThai Sangwong
 
ความรู้เบื้องต้นคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นคอมพิวเตอร์ความรู้เบื้องต้นคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นคอมพิวเตอร์jumphu9
 
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้นคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้นyenny3484
 

Similar to คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้ (20)

คอมพิวเตอร์เบื้องต้น ม.1
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น ม.1คอมพิวเตอร์เบื้องต้น ม.1
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น ม.1
 
ใบงานHardware
ใบงานHardwareใบงานHardware
ใบงานHardware
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 
Hardware&Utility
Hardware&UtilityHardware&Utility
Hardware&Utility
 
Lab
LabLab
Lab
 
Lab
LabLab
Lab
 
Chapter1
Chapter1Chapter1
Chapter1
 
คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
 
Lesson1 devenlopement-program
Lesson1 devenlopement-programLesson1 devenlopement-program
Lesson1 devenlopement-program
 
Hardware2
Hardware2Hardware2
Hardware2
 
Basiccom
BasiccomBasiccom
Basiccom
 
Basiccom
BasiccomBasiccom
Basiccom
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์
 
Com
ComCom
Com
 
ความรู้เบื้องต้นคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นคอมพิวเตอร์ความรู้เบื้องต้นคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นคอมพิวเตอร์
 
Intro to Comp
Intro to CompIntro to Comp
Intro to Comp
 
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้นคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 

More from AomJi Math-ed

การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไร
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไรการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไร
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไรAomJi Math-ed
 
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไร
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไรการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไร
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไรAomJi Math-ed
 
บทที่10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
บทที่10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้บทที่10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
บทที่10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้AomJi Math-ed
 
บทที่9 การเลืกใช้สื่อแลัวิธีการจัดการเรียนรู้
บทที่9 การเลืกใช้สื่อแลัวิธีการจัดการเรียนรู้บทที่9 การเลืกใช้สื่อแลัวิธีการจัดการเรียนรู้
บทที่9 การเลืกใช้สื่อแลัวิธีการจัดการเรียนรู้AomJi Math-ed
 
บทที่7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่7 นวัตกรรมทางการศึกษาบทที่7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่7 นวัตกรรมทางการศึกษาAomJi Math-ed
 
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไร
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไรการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไร
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไรAomJi Math-ed
 
Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้AomJi Math-ed
 
สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้AomJi Math-ed
 
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษาAomJi Math-ed
 
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษาการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษาAomJi Math-ed
 
สรุปความคิดเพื่อน
สรุปความคิดเพื่อนสรุปความคิดเพื่อน
สรุปความคิดเพื่อนAomJi Math-ed
 
เทคโนโลยีนวัตกรรมและการสื่อสาร
เทคโนโลยีนวัตกรรมและการสื่อสารเทคโนโลยีนวัตกรรมและการสื่อสาร
เทคโนโลยีนวัตกรรมและการสื่อสารAomJi Math-ed
 

More from AomJi Math-ed (13)

การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไร
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไรการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไร
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไร
 
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไร
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไรการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไร
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไร
 
บทที่10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
บทที่10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้บทที่10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
บทที่10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
 
บทที่9 การเลืกใช้สื่อแลัวิธีการจัดการเรียนรู้
บทที่9 การเลืกใช้สื่อแลัวิธีการจัดการเรียนรู้บทที่9 การเลืกใช้สื่อแลัวิธีการจัดการเรียนรู้
บทที่9 การเลืกใช้สื่อแลัวิธีการจัดการเรียนรู้
 
บทที่7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่7 นวัตกรรมทางการศึกษาบทที่7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่7 นวัตกรรมทางการศึกษา
 
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไร
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไรการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไร
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไร
 
Chapter 6
Chapter 6Chapter 6
Chapter 6
 
Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
 
สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้
 
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
 
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษาการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
 
สรุปความคิดเพื่อน
สรุปความคิดเพื่อนสรุปความคิดเพื่อน
สรุปความคิดเพื่อน
 
เทคโนโลยีนวัตกรรมและการสื่อสาร
เทคโนโลยีนวัตกรรมและการสื่อสารเทคโนโลยีนวัตกรรมและการสื่อสาร
เทคโนโลยีนวัตกรรมและการสื่อสาร
 

คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้

  • 1. คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้ 1.ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ 1.1ประวัติและพัฒนาการของคอมพิวเตอร์ 1.2ส่วนประกอบและหลักการทางานของคอมพิวเตอร์ 1.3ซอฟต์แวร์ที่ควรรู้ 1.4ฮาร์ดแวร์ที่ควรรู้ 2.คอมพิวเตอร์กับเครื่องมือทางปัญญา 2.1เครื่องมือทางปัญญาคืออะไร 2.2กรอบแนวคิดสาคัญของการใช้คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือทางปัญญา 3.การใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนการสอน 3.1การใช้คอมพิวเตอร์เป็นครู 3.2การใช้คอมพิวเตอร์เป็นผู้ช่วย 3.3การใช้คอมพิวเตอร์เป็นผู้เรียน 1.ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ 1.1 ประวัติและพัฒนาการของคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์อิเลคทรอนิกส์ที่มีความสามารถในการคานวณอัตโนมัติตามคาสั่ง ส่วนที่ ใช้ประมวลผลเรียกว่าหน่วยประมวลผล ชุดของคาสั่งที่ระบุขั้นตอนการคานวณเรียกว่าโปรแกรม คอมพิวเตอร์ ผลลัพธ์ที่ได้ออกมานั้นอาจเป็นได้ทั้ง ตัวเลข ข้อความ รูปภาพ เสียง หรืออยู่ในรูปอื่น ๆ อีก มากมาย
  • 2. เริ่มแรกมนุษย์ไม่มีการบันทึก จดบันทึกข้อมูลต่างๆ ลงบน clay tablets (คานวณโดยใช้ ลูกคิด) สร้างเครื่องกลสาหรับการคานวณชื่อ pascaline พัฒนา pascaline โดยสร้างเครื่องที่สามารถ บวก ลบ คูณ หาร และถอดรากได้ Chales Babbage ได้สร้างดิฟเฟอเรนซ์แอนจิน difference engine ที่มี ฟังก์ชันทางตรีโกณมิติต่างๆและคิดว่าจะสร้างแอนะลีติคอลเอนจิน (analytical engine ) ที่มีหลักคล้ายเครื่อง คอมพิวเตอร์ทั่วไปในปัจจุบันจึงได้รับการยกย่องว่าเป็นบิดาของคอมพิวเตอร์และเป็นผู้ริเริ่มวางรากฐาน 2.2 ส่วนประกอบและหลักการทางานของคอมพิวเตอร์ ขั้นตอนการประมวลผลของคอมพิวเตอร์จะประกอบด้วย 1. ส่วนนาเข้า (Input unit) เช่น ข้อความ ภาพ ฯลฯ 2.ส่วนประมวลผลกลาง (Central processing unit) ประกอบด้วยหน่วยย่อย 3 หน่วย คือ 1.หน่วยความจา (Memory) ทาหน้าที่เก็บข้อมูลจากการนาเข้าหรือจากการประมวลผลของ คอมพิวเตอร์ ซึ่งหน่วยความจาแบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ หน่วยความจาหลัก (Random Access Memory : RAM) สามารถบันทึกข้อมูลได้และลบข้อมูลได้ และROM (Read Only Memory) เป็นหน่วยความจาที่เก็บ ข้อมูลได้เพียงอย่างเดียวไม่สามารถบันทึกข้อมูลใหม่ได้ ส่วนใหญ่จะใช้เก็บโปรแกรมสาคัญหรือกราฟิก ต่างๆ 2.หน่วยคานวณ (Arithmetic & Logic) ทาหน้าที่ประมวลผลทางคณิตศาสตร์และเหตุผล 3.หน่วยควบคุม (Control Unit) ทาหน้าที่ในการควบคุมการทางานของคอมพิวเตอร์และทาหน้าที่ ประสานงานการทางานภายในและงานภายนอกของคอมพิวเตอร์ 3.ส่วนแสดงผลข้อมูล (Output Unit) ทาหน้าที่ในการแสดงผลจากการประมวลผลแล้วไปยังสื่อที่แสดงผล ลัพธ์ ได้แก่ จอภาพ เครื่องพิมพ์ หรือเก็บไว้ที่หน่วยความจา 1.3 ซอฟต์แวร์ที่ควรรู้ ซอฟต์แวร์ (Software) คือโปรแกรมหรือชุดของคาสั่งที่ถูกเขียนขึ้นเพื่อสั่งให้คอมพิวเตอร์ทางาน ซึ่งซอฟต์แวร์ที่ใช้กับคอมพิวเตอร์สามารถแบ่งได้เป็น 2 ประเภท คือ
  • 3. -ซอฟต์แวร์ระบบ (System Software) เป็นชุดของคาสั่งที่เขียนไว้เป็นคาสั่งสาเร็จรูป คอยควบคุม การทางานของฮาร์ดแวร์ทุกอย่างและอานวยความสะดวกให้กับผู้ใช้งาน -ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application Software) คือซอฟต์แวร์หรือโปรแกรมที่ถูก เขียนขึ้นเพื่อการ ทางานเฉพาะอย่างที่เราต้องการ เช่นงานส่วนตัว งานทาด้านธุรกิจ นี้ซอฟต์แวร์ประยุกต์ยังมีอีกลักษณะที่ เรียกว่า ซอฟต์แวร์สาเร็จรูปที่มีผู้จัดทาไว้เพื่อใช้ในการทางานประเภทต่างๆโดยผู้ใช้คนอื่นๆ สามารถนา ซอฟต์แวร์ประเภทนี้ไปใช้กับข้อมูลของตนได้ แต่จะไม่สามารถทาการดัดแปลงหรือแก้ไขโปรแกรมได้ 1.4 ฮาร์ดแวร์ที่ควรรู้ ฮาร์ดแวร์เป็นองค์ประกอบของตัวเครื่องที่สามารถจับต้องได้ ได้แก่ วงจรไฟฟ้า ตัวเครื่อง จอภาพ เครื่องพิมพ์ เป็นต้น ส่วนพื้นฐานของฮาร์ตแวร์แบ่งตามการทางานของอุปกรณ์คอมพิวเตอร์แบ่งได้เป็น 4 หน่วยสาคัญ ได้แก่ -เครื่องมือส่วนรับข้อมูล (Input device) ทาหน้าที่รับโปรแกรมและข้อมูลเข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์ -เครื่องมือส่วนแสดงผลข้อมูล (Output device) ทาหน้าที่ในการแสดงผลลัพธ์ที่ได้จากการ ประมวลผล -เครื่องมือส่วนจัดเก็บข้อมูล (Storage) เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ในการเก็บข้อมูลเมื่อผู้ใช้สั่งให้บันทึก ซึ่งมี สองประเภท คือ หน่วยเก็บข้อมูลหลักหรือความสาหลัก (Primary Storage หรือ Main Memory)ซึ่งจะ ประกอบด้วย ROM และRAM และหน่วยเก็บข้อมูลสารอง ( Secondary Storage -ระบบประมวลผลกลาง (CPU) 2.คอมพิวเตอร์กับเครื่องมือทางปัญญา 2.1 เครื่องมือทางปัญญาคืออะไร เป็นเครื่องมือที่เป็นเทคโนโลยีที่มีลักษณะที่เป็นเพื่อนทางปัญญา ที่สนับสนุน ส่งเสริมและแนะแนว รวมทั้งช่วยขยายฟังก์ชั่นการทางานกระบวนการรู้คิด (Cognitive processes) ของมนุษย์ ทั้งในขณะทาการคิด
  • 4. แก้ปัญหา และการเรียนรู้ โดยผู้เรียนเป็นผู้ควบคุมและใช้เครื่องมือทางปัญญาในลักษณะการสร้างความรู้ มากกว่าการจดจาความรู้ 2.2 กรอบแนวคิดสาคัญของการใช้คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือทางปัญญา เครื่องมือทางปัญญา เครื่องมือทางปัญญาเป็นการนาสมรรถนะของคอมพิวเตอร์เข้ามาช่วย เอื้ออานวยกระบวนการประมวลสารสนเทศของผู้เรียน มีการเสนอเครื่องมือทางปัญญาสาหรับการเรียนรู้ ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ กรอบแนวคิดของการออกแบบเครื่องมือทางปัญญาอาศัยพื้นฐานมาจากทฤษฎีประมวลสารสนเทศและ ทฤษฎีกลุ่มพุทธิปัญญาที่สาคัญ ดังเช่น ทฤษฎีความยืดหยุ่นทางปัญญา ทฤษฎี Cognitive load และทฤษฎี เมนทอลโมเดล และสรุปการใช้คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือทางปัญญา เป็น 3 กลุ่มใหญ่ๆ ประกอบด้วย 1.เครื่องมือค้นพบ (Discovery tools) เป็นเครื่องมือที่สนับสนุนการเสาะแสวงหาสารสนเทศ การ ค้นหาข้อมูล เพื่อนามาซึ่งการค้นพบสารสนเทศหรือความรู้ที่ต้องการ 2.เครื่องมือสร้างความรู้ (Knowledge creation tools) เป็นเครื่องมือที่สนับสนุนการสร้างความรู้ของ ผู้เรียน ที่เกิดขึ้นในความจาระยะสั้น (Short-term memory) เป็นระยะที่จะต้องประมวลผลสารสนเทศต่างๆที่ รับผ่านเข้ามาจากการบันทึกผัสสะ เพื่อจัดระเบียบ หมวดหมู สร้างความสัมพันธ์ ซึ่งในการสร้างความรู้นั้น ผู้เรียนจะต้องดึงความรู้และประสบการณ์ต่างๆมาใช้ในการสร้างความหมายของตนเอง และหากเรื่องที่ต้อง สร้างความรู้เป็นเรื่องที่ยุ่งยาก ซับซ้อน (Ill-structure) และไม่คุ้นเคย ก็จะต้องใช้ความพยายามคิด(Mental effort)อย่างมาก เป็นผลให้ใช้ค๊อกนิทีฟโหลด (Cognitive load) มาก จนอาจทาให้ไม่สามารถสร้างความรู้ได้ ดังนั้นเครื่องมือนี้จะไปสนับสนุนการสร้างความหมายของผู้เรียนและยังช่วยลด Cognitive load 3.เครื่องมือการสื่อสาร (Communication tool) เป็นเครื่องมือที่ใช้สนับสนุนการสื่อสาร สนทนา แลกเปลี่ยนแนวความคิดระหว่างผู้เรียนด้วยกันเองและผู้สอน เพื่อสร้างชุมชนในการเรียนรู้และสังคมของ ผู้เรียน
  • 5. 3.การใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนการสอน 3.1 การใช้คอมพิวเตอร์เป็นครู เป็นเครื่องมือในการถ่ายทอดและนาเสนอเนื้อหาการเรียนการสอนโดยตรงไปยังผู้เรียน ผู้เรียน สามารถมีปฏิสัมพันธ์กับบทเรียนได้ คือคอมพิวเตอร์ที่สามารถแสดงผลคาตอบ การเสริมแรง เฉลยแบบ ทันทีทันใด 3.2 การใช้คอมพิวเตอร์เป็นผู้ช่วย จาแนกการใช้คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือช่วยผู้เรียนได้ดังนี้ การประมวลคา (Word processer) โปรแกรมงานกราฟิก โปรแกรมการนาเสนอ โปรแกรมการจัดทาฐานข้อมูล และเป็นเครื่องมือในการ สื่อสาร ซึ่งผู้เรียนสามารถเลือกใช้โปรแกรมเหล่านี้ในการช่วยสร้างผลงานให้สาเร็จตามเป้าหมายได้ 3.3 การใช้คอมพิวเตอร์เป็นผู้เรียน บทบาทของผู้เรียนเป็นผู้สอนและบทบาทของคอมพิวเตอร์เป็นผู้เรียน ซึ่งการใช้คอมพิวเตอร์เป็น ผู้เรียนคือวิธีการแบบเปิด (Open-ended approach) ที่อาศัยความสามารถของผู้เรียนในการสร้างความเข้าใจ ของตนเองเกี่ยวกับเนื้อหาและวิธีการใช้คอมพิวเตอร์ วิธีการนี้ผู้สอนสามารถนาไปใช้ในชั้นเรียนของตนเอง ได้โดยให้ผู้เรียนได้เรียนรู้และสั่งการคอมพิวเตอร์ด้วยโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์อย่างง่าย