SlideShare a Scribd company logo
1 of 15
Chapter 7 
นวัตกรรมทางการศึกษา
สถานการณ์ปัญหา(Problem-based learning) 
กระทรวงศึกษาธิการต้องการให้ท่านเลอืกและสร้างนวตักรรมการเรียนรู้ ให้ เหมาะสมกับ 
บริบทของโรงเรียนทั้ง 3 แห่งคือ โรงเรียนเปรมสวัสดิ์ 
โรงเรียนมหาชัย โรงเรียนเทศบาลวดัธาตุ 
โรงเรียนเปรมสวัสดิ์ 
เป็นโรงเรียนที่อยู่ห่างไกลความเจริญ ไม่มีการเชื่อมโยง เครือข่าย 
อินเตอร์เน็ต แต่พอจะมีคอมพิวเตอร์ใช้บ้าง ซึ่งเป็นห้องคอมพิวเตอร์ สาหรับนักเรียน ความต้องการของ 
โรงเรียนคืออยากจะได้สื่อที่มาแก้ปัญหาการเรียน การสอนที่ช่วยกระตุ้นให้เด็กมีความสนใจในการเรียน 
มากขึ้น สื่อนี้สามารถทาให้เด็ก เห็นสภาพเสมือนจริง (Realistic) และเหมาะสมกับการศกึษา 
รายบุคคล โดย ผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์กับสื่อโดยตรงอาจจะมี ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว เสียง หรือ วีดิทัศน์ 
ประกอบอยู่ในสื่อนั้น เพื่อสร้างความตื่นเต้นน่าสนใจ และสามารถย้อนทบทวน ส่วนที่ต้องการได้โดยไม่มี 
ข้อจากัด มีการประเมินเพื่อแก้ไขข้อบกพร่องของตนเองได้ อาจจะออกแบบมาในลักษณะของเกม หรือ 
ลักษณะที่กระตุ้นให้ผู้เรียนให้มีความ กระตือรือร้นมากขึ้นทั้งนี้ก็สอดแทรกเนื้อหาวิชาการเข้าไวอ้ย่าง 
เหมาะสม
สถานการณ์ปัญหา (ต่อ) 
โรงเรียนมหาชัย ต้องการนวตักรรมที่สามารถแก้ไขข้อจากัดด้านสถานที่ และ เวลา โดย 
ประยุกต์ใช้คุณสมบัติ เวิล์ด ไวด์เว็บ ที่โรงเรียนมีอยู่ ในการจัดสภาพแวดล้อม และสนับสนุนการเรียนการ 
สอน สิ่งแรกที่ต้องมีคือการลงทะเบียนเพื่อขอรหัสผ่านเข้าเรียน หลังจากนั้นผู้เรียนศึกษาเนื้อหาอาจเป็นการ 
อ่านบนจอหรือโหลดเนื้อหาลงมาที่เครื่องของ ตน หรือสั่งพิมพ์ทางเครื่องพิมพ์เพื่อศึกษาภายหลังก็ได้ 
ผ้เูรียนสามารถกา หนดการเรียนได้ ด้วยตนเอง (Self-directed) เปิดโอกาสให้เลือกเรียนได้ตาม 
สะดวก สามารถ กา หนด กรอบเวลาในการเรียนรู้ได้เหมาะสมกับความสามารถในการเรียนรู้ของตนเอง คล 
อบคลุม ทงั้การเรียนแบบประสานเวลา (Synchronous Learning) และไม่ประสานเวลา 
(Asynchronous Learning) และสามารถถามคาถาม ทาแบบฝึกหัด ทารายงานกลุ่ม 
อภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็นแก่ผู้เรียนคนอื่น ๆ ได้ และยังสามารถเข้าถึงเนื้อหาได้ทุก ที่ ทุกเวลา ทุก 
สถานที่
สถานการณ์ปัญหา (ต่อ) 
โรงเรียนเทศบาลวดัธาตุ ต้องการออกแบบนวตักรรมการเรียนรู้ที่เน้นให้ ผู้เรียนสามารถ 
สร้างความรู้ด้วยตนเอง โดยการเผชิญสถานการณ์ปัญหา มีแหล่ง เรียนรู้ให้ผ้เูรียนได้สืบค้น เมื่อไม่ 
สามารถแก้ปัญหาได้ก็มีฐานความช่วยเหลือ พร้อม ทั้งมีเครื่องมือที่สนับสนุนการร่วมมือกันแก้ปัญหา 
สามารถแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ระหว่างกันได้ตลอดเวลา นอกจากนี้นวตักรรมที่พัฒนาข้นึต้อง 
สามารถนามาใช้ได้ใน หลายบริบทเนื่องจากผู้เรียนมีความแตกต่างกัน บางกลุ่มชอบที่จะเรียนบน 
เครือข่าย บางกลุ่มชอบที่จะเรียนแบบมัลติมีเดีย และบางกลุ่มชอบที่จะสามารถนาไปใช้เรียน ได้ทุก 
สถานที่ไม่ว่าจะเป็นใต้ร่มไม้ หรือสถานที่ที่ไม่มีคอมพิวเตอร์ก็สามารถใช้เรียนรู้ เพื่อให้เกิด 
ประสิทธิภาพได้ สถานที่ไม่ว่าจะเป็นใต้ร่มไม้ หรือสถานที่ที่ไม่มี คอมพิวเตอร์ก็สามารถใช้เรียนรู้ 
เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพได้
ภารกิจการเรียนรู้ที่ 
1 
อธิบายความหมายและจา แนกประเภท สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้
สิ่ง 
แวดล้อมทางการเรียนรู้ที่ 
พฒันาตามแนวคอนสตรคัติวิสต์ 
เป็นการ ออกแบบที่ประสานรวมกันระหว่าง “สื่อ (Media)” กับ “วิธีการ 
(Methods)” โดยการนาทฤษฎีคอนสตรัคตวิิสต์มาเป็นพื้นฐานในการออกแบบรวมกับสื่อ ซึ่ง 
มี คุณลักษณะของสื่อและระบบสัญลักษณ์ของสื่อที่สนับสนุนการสร้างความรู้ของ ผ้เูรียน ความหมาย 
ของสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ตามแนวคอนสตรัคตวิิสต์Chapter 7 นวตักรรมทางการศกึษา
หลักการที่ 
สาคัญในการออกแบบสิ่งแวดลอ้มทางการเรียนรู้ตาม 
แนวคอนสตรคัตวิิสต์ 
• สถานการณ์ ปัญหา (Problem Base) 
• แหล่งเรียนรู้ (Resource) 
• ฐานความช่วยเหลือ (Scaffolding) 
• การโค้ช (Coaching) 
• การร่วมมือกันแก้ปัญหา (Collaboration) Chapter 7 นวตักรรมทาง 
การศึกษา
ประเภทของสิ่ง 
แวดลอ้มทางการเรียนรู้ 
 1) สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้บนเครือข่ายตามแนวคอนสตรัคตวิิสต์ 
 2) มัลติมีเดียตามแนวคอนสตรัคตวิิสต์ 
 3) ชุดสร้างความรู้ Chapter 7 นวตักรรมทางการศกึษา
ภารกิจการเรียนรู้ที่ 
2 
วิเคราะห์เลือกใชน้วตักรรมการเรียนรู้ ให้สอดคล้องกับบริบทของ 
โรงเรียนทงั้ 3 แห่งนี้
โรงเรียนเปรมสวัสดิ์ 
นวตักรรมที่ควรใช้คือ มัลติมีเดีย เพราะสามารถที่จะนาเสนอได้ ทั้งเสียง ข้อความ 
ภาพเคลื่อนไหว ดนตรี กราฟิก ภาพถ่ายวสัดุตีพิมพ์ ภาพยนตร์และวีดิทัศน์ สามารถนาเสนอ 
ความรู้ได้หลายสื่อและเสมือน จริงประกอบกับสามารถที่จะจาลองภาพของการเรียนการสอนที่ 
ผ้เูรียน สามารถเรียนรู้ได้ด้วยตนเองแบบเชิงรุก กระต้นุให้ผ้เูรียนมีความ กระตือรือร้นมากขึ้น
โรงเรียนมหาชยั 
นวตักรรมที่ควรใช้คือ E-Learning เป็นเทคโนโลยีที่ทาให้มีการเรียนดาเนิน 
ไป โดยไม่จากัดเวลาและสถานที่ หรือเป็นการเรียนที่ไม่พร้อมกัน โดยใช้เครื่องมือสาคัญ ที่ 
มีอยู่ในอินเทอร์เน็ตและเว็บ และ นวตักรรม การเรียนร้บูนเครือข่าย เป็นบทเรียนที่นาเสนอ 
ผ่านเครือข่าย คอมพิวเตอร์ โดยอาศัยคุณลักษณะของสื่อที่สามารถนาเสนอบทเรียนแบบ 
ข้อความ หลายมิติ เชื่อมโยงเป็นเครือข่ายได้ทั่วโลกที่สามารถเรียนได้ทุกที่ทุกเวลา
โรงเรียนเทศบาลวัดธาตุ 
นวตักรรมที่ควรใช้ คือ สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ตามแนวคอนสตรัคตวิิสต์เพราะ 
เป็นการเน้นการสร้างความรู้ด้วยตนเองโดยการลงมือกระทาหรือปฏิบัติที่ผ่าน กระบวนการ 
คิด และอาศัยประสบการณ์เดิมหรือความรู้เดิมที่มีอยู่แล้วเชื่อมโยงกับ ประสบการณ์ใหม่หรอื 
ความรู้ใหม่ เพื่อขยายโครงสร้างทางปัญญา ซึ่งจะทาให้ผู้เรียน สามารถนาความรู้ที่เรียนมาไป 
ประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวนัได้ นอกจากนี้ ควรใช้นวตักรรมการเรียนร้บูนเครือข่าย ควบคไู่ป 
ด้วย เพราะเป็นเครือข่ายได้ทั่วโลกที่สามารถเรียนได้ทุกที่ทุกเวลา
ภารกิจการเรียนรู้ที่ 
3 
จากประเภทของนวตักรรมการเรียนรู้ในบทที่ 7 ให้นักศึกษา เสนอ 
นวตักรรมการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับลักษณะวิชาเอกที่ นักศึกษาจะปฏิบัติ 
หน้าที่สอน พร้อมทั้งอธิบายเหตุผล
คอมพิวเตอร์ช่วยสอน เพราะคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเป็นการเรียนการสอน แบบรายบุคคลที่นา 
เอาหลักการของบทเรียนโปรแกรมและเครื่องช่วยสอนมา ผสมผสานกัน โดยมีจุดมุ่งหมายที่จะ 
ตอบสนองในเรื่องความแตกต่างระหว่าง บุคคลของผู้เรียนเพื่อให้บรรลุวตัถุประสงค์ทางการศกึษาเป็น 
รายบุคคล Chapter 7 นวตักรรมทางการศกึษา 
คอมพิวเตอร์ช่วยสอนมีลักษณะการเรียนที่เป็นขั้นเป็นตอน ดังนี้ 
1. ขนั้นาเข้าสู่บทเรียน 
2. ขนั้การเสนอเนื้อหา 
3. ขนั้คาถามและคาตอบ 
4. ขนั้การตรวจคาตอบ 
5. ขนั้ของการปิดบทเรียน 
ซึ่งจะช่วยให้ผ้เูรียนสามารถเรียนได้ตามขนั้ตอนจากงา่ยไปยาก หรือเลือก บทเรียนได้และทาให้ผ้เูรียน 
ไม่เบื่อหน่ายการเรียน เพราะมีภาพ ภาพเคลื่อนไหว สี เสียง และที่สา คัญคือฝึกให้ผู้เรียนคิดอย่างมี 
เหตุผล ซึ่งก็เป็นหลักของวิชา คณิตศาสตร์ Chapter 7 นวตักรรมทางการศึกษา

More Related Content

What's hot

บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษาบทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษาB'nust Thaporn
 
นวัตกรรมบทที่ 7
นวัตกรรมบทที่ 7นวัตกรรมบทที่ 7
นวัตกรรมบทที่ 7Setthawut Ruangbun
 
Chapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
Chapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษาChapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
Chapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษาTeerasak Nantasan
 
นวัตกรรมบทที่ 7
นวัตกรรมบทที่ 7นวัตกรรมบทที่ 7
นวัตกรรมบทที่ 7Setthawut Ruangbun
 
บทท 7 นว_ตกรรมทางการศ_กษา
บทท  7 นว_ตกรรมทางการศ_กษาบทท  7 นว_ตกรรมทางการศ_กษา
บทท 7 นว_ตกรรมทางการศ_กษาsinarack
 
Chapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
Chapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษาChapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
Chapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษาWuth Chokcharoen
 
CHAPTER 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
CHAPTER 7 นวัตกรรมทางการศึกษาCHAPTER 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
CHAPTER 7 นวัตกรรมทางการศึกษาAa-bb Sangwut
 

What's hot (15)

บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษาบทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
 
Chapter7
Chapter7 Chapter7
Chapter7
 
Chapter7
Chapter7Chapter7
Chapter7
 
นวัตกรรมบทที่ 7
นวัตกรรมบทที่ 7นวัตกรรมบทที่ 7
นวัตกรรมบทที่ 7
 
Chapter 7
Chapter 7Chapter 7
Chapter 7
 
Chapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
Chapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษาChapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
Chapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
 
Chapter7
Chapter7Chapter7
Chapter7
 
นวัตกรรมบทที่ 7
นวัตกรรมบทที่ 7นวัตกรรมบทที่ 7
นวัตกรรมบทที่ 7
 
Chapter7
Chapter7Chapter7
Chapter7
 
บทท 7 นว_ตกรรมทางการศ_กษา
บทท  7 นว_ตกรรมทางการศ_กษาบทท  7 นว_ตกรรมทางการศ_กษา
บทท 7 นว_ตกรรมทางการศ_กษา
 
Chapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
Chapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษาChapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
Chapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
 
CHAPTER 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
CHAPTER 7 นวัตกรรมทางการศึกษาCHAPTER 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
CHAPTER 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
 
Innovation chapter 7 p
Innovation chapter 7 pInnovation chapter 7 p
Innovation chapter 7 p
 
Inno present chapt7
Inno present chapt7Inno present chapt7
Inno present chapt7
 
Chapter 7
Chapter 7Chapter 7
Chapter 7
 

Viewers also liked

PPT Book Review : 16-01 베끼려면 제대로 베껴라
PPT Book Review : 16-01 베끼려면 제대로 베껴라PPT Book Review : 16-01 베끼려면 제대로 베껴라
PPT Book Review : 16-01 베끼려면 제대로 베껴라Jung Soo Kim
 
Makers e aziende: prevenire è meglio che curare
Makers e aziende: prevenire è meglio che curareMakers e aziende: prevenire è meglio che curare
Makers e aziende: prevenire è meglio che curareAndrea Danielli
 
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา2
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา2เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา2
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา2Markker Promma
 
นว ตกรรมกล _ม chapter3 (1)
นว ตกรรมกล _ม chapter3 (1)นว ตกรรมกล _ม chapter3 (1)
นว ตกรรมกล _ม chapter3 (1)Markker Promma
 
ธีรุตม์ พรหมมา 563050100 8
ธีรุตม์  พรหมมา 563050100 8ธีรุตม์  พรหมมา 563050100 8
ธีรุตม์ พรหมมา 563050100 8Markker Promma
 
Book Review : 톰 피터스의 WOW 프로젝트 2
Book Review : 톰 피터스의 WOW 프로젝트 2Book Review : 톰 피터스의 WOW 프로젝트 2
Book Review : 톰 피터스의 WOW 프로젝트 2Jung Soo Kim
 
Auditoria informática copia
Auditoria informática   copiaAuditoria informática   copia
Auditoria informática copiaLoly Morante
 
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาเทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาMarkker Promma
 
Weekly Book Report 14-01 카네기 인간관계론
Weekly Book Report 14-01 카네기 인간관계론Weekly Book Report 14-01 카네기 인간관계론
Weekly Book Report 14-01 카네기 인간관계론Jung Soo Kim
 
Business Model You Study
Business Model You StudyBusiness Model You Study
Business Model You StudyJung Soo Kim
 
#이상한모임 연말정산
#이상한모임 연말정산#이상한모임 연말정산
#이상한모임 연말정산Mikyung Kang
 
사용자분석 @코더스하이세미나
사용자분석 @코더스하이세미나사용자분석 @코더스하이세미나
사용자분석 @코더스하이세미나Mikyung Kang
 
비즈니스 모델 캔버스의 이해
비즈니스 모델 캔버스의 이해비즈니스 모델 캔버스의 이해
비즈니스 모델 캔버스의 이해Jung Soo Kim
 
내 인생 설계도 (Business Model You)
내 인생 설계도 (Business Model You)내 인생 설계도 (Business Model You)
내 인생 설계도 (Business Model You)Jung Soo Kim
 

Viewers also liked (14)

PPT Book Review : 16-01 베끼려면 제대로 베껴라
PPT Book Review : 16-01 베끼려면 제대로 베껴라PPT Book Review : 16-01 베끼려면 제대로 베껴라
PPT Book Review : 16-01 베끼려면 제대로 베껴라
 
Makers e aziende: prevenire è meglio che curare
Makers e aziende: prevenire è meglio che curareMakers e aziende: prevenire è meglio che curare
Makers e aziende: prevenire è meglio che curare
 
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา2
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา2เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา2
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา2
 
นว ตกรรมกล _ม chapter3 (1)
นว ตกรรมกล _ม chapter3 (1)นว ตกรรมกล _ม chapter3 (1)
นว ตกรรมกล _ม chapter3 (1)
 
ธีรุตม์ พรหมมา 563050100 8
ธีรุตม์  พรหมมา 563050100 8ธีรุตม์  พรหมมา 563050100 8
ธีรุตม์ พรหมมา 563050100 8
 
Book Review : 톰 피터스의 WOW 프로젝트 2
Book Review : 톰 피터스의 WOW 프로젝트 2Book Review : 톰 피터스의 WOW 프로젝트 2
Book Review : 톰 피터스의 WOW 프로젝트 2
 
Auditoria informática copia
Auditoria informática   copiaAuditoria informática   copia
Auditoria informática copia
 
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาเทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
 
Weekly Book Report 14-01 카네기 인간관계론
Weekly Book Report 14-01 카네기 인간관계론Weekly Book Report 14-01 카네기 인간관계론
Weekly Book Report 14-01 카네기 인간관계론
 
Business Model You Study
Business Model You StudyBusiness Model You Study
Business Model You Study
 
#이상한모임 연말정산
#이상한모임 연말정산#이상한모임 연말정산
#이상한모임 연말정산
 
사용자분석 @코더스하이세미나
사용자분석 @코더스하이세미나사용자분석 @코더스하이세미나
사용자분석 @코더스하이세미나
 
비즈니스 모델 캔버스의 이해
비즈니스 모델 캔버스의 이해비즈니스 모델 캔버스의 이해
비즈니스 모델 캔버스의 이해
 
내 인생 설계도 (Business Model You)
내 인생 설계도 (Business Model You)내 인생 설계도 (Business Model You)
내 인생 설계도 (Business Model You)
 

Similar to งานนำเสนอ Chapter 7

บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษาบทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษาSasitorn Seajew
 
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษาบทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษาpohn
 
บทที่7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่7 นวัตกรรมทางการศึกษาบทที่7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่7 นวัตกรรมทางการศึกษาAomJi Math-ed
 
บทท 7 นว_ตกรรมทางการศ_กษา
บทท  7 นว_ตกรรมทางการศ_กษาบทท  7 นว_ตกรรมทางการศ_กษา
บทท 7 นว_ตกรรมทางการศ_กษาN'Fern White-Choc
 
บทที่ึ7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ึ7 นวัตกรรมทางการศึกษาบทที่ึ7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ึ7 นวัตกรรมทางการศึกษาNoom Theerayut
 
Chapter 7 by โจโจ้ซัง
Chapter 7 by โจโจ้ซังChapter 7 by โจโจ้ซัง
Chapter 7 by โจโจ้ซังTannoi Tesprasit
 
บทที่7นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่7นวัตกรรมทางการศึกษาบทที่7นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่7นวัตกรรมทางการศึกษาThamonwan Kottapan
 
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษาบทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษาKanatip Sriwarom
 
บทที่7 นวัตกรรมการศึกษา
บทที่7 นวัตกรรมการศึกษาบทที่7 นวัตกรรมการศึกษา
บทที่7 นวัตกรรมการศึกษาSattakamon
 
Chapter 7 กลุ่มหนูน้อยหมวกแดง
Chapter 7 กลุ่มหนูน้อยหมวกแดงChapter 7 กลุ่มหนูน้อยหมวกแดง
Chapter 7 กลุ่มหนูน้อยหมวกแดงFame Suraw
 

Similar to งานนำเสนอ Chapter 7 (20)

บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษาบทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
 
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษาบทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
 
บทที่7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่7 นวัตกรรมทางการศึกษาบทที่7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่7 นวัตกรรมทางการศึกษา
 
บทท 7 นว_ตกรรมทางการศ_กษา
บทท  7 นว_ตกรรมทางการศ_กษาบทท  7 นว_ตกรรมทางการศ_กษา
บทท 7 นว_ตกรรมทางการศ_กษา
 
บทที่ึ7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ึ7 นวัตกรรมทางการศึกษาบทที่ึ7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ึ7 นวัตกรรมทางการศึกษา
 
Chapter 7
Chapter 7Chapter 7
Chapter 7
 
Chapter 7
Chapter 7Chapter 7
Chapter 7
 
Chapter 7
Chapter 7Chapter 7
Chapter 7
 
Chap.7 (problem)
Chap.7 (problem)Chap.7 (problem)
Chap.7 (problem)
 
Chap.7 (problem)
Chap.7 (problem)Chap.7 (problem)
Chap.7 (problem)
 
Chap.7 (problem)
Chap.7 (problem)Chap.7 (problem)
Chap.7 (problem)
 
Chap.7 (problem)
Chap.7 (problem)Chap.7 (problem)
Chap.7 (problem)
 
Chapter 7 by โจโจ้ซัง
Chapter 7 by โจโจ้ซังChapter 7 by โจโจ้ซัง
Chapter 7 by โจโจ้ซัง
 
บทที่7นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่7นวัตกรรมทางการศึกษาบทที่7นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่7นวัตกรรมทางการศึกษา
 
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษาบทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
 
บทท 7
บทท  7บทท  7
บทท 7
 
บทที่7 นวัตกรรมการศึกษา
บทที่7 นวัตกรรมการศึกษาบทที่7 นวัตกรรมการศึกษา
บทที่7 นวัตกรรมการศึกษา
 
Chapter 7 กลุ่มหนูน้อยหมวกแดง
Chapter 7 กลุ่มหนูน้อยหมวกแดงChapter 7 กลุ่มหนูน้อยหมวกแดง
Chapter 7 กลุ่มหนูน้อยหมวกแดง
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
Chapter 7
Chapter 7Chapter 7
Chapter 7
 

งานนำเสนอ Chapter 7

  • 2.
  • 3. สถานการณ์ปัญหา(Problem-based learning) กระทรวงศึกษาธิการต้องการให้ท่านเลอืกและสร้างนวตักรรมการเรียนรู้ ให้ เหมาะสมกับ บริบทของโรงเรียนทั้ง 3 แห่งคือ โรงเรียนเปรมสวัสดิ์ โรงเรียนมหาชัย โรงเรียนเทศบาลวดัธาตุ โรงเรียนเปรมสวัสดิ์ เป็นโรงเรียนที่อยู่ห่างไกลความเจริญ ไม่มีการเชื่อมโยง เครือข่าย อินเตอร์เน็ต แต่พอจะมีคอมพิวเตอร์ใช้บ้าง ซึ่งเป็นห้องคอมพิวเตอร์ สาหรับนักเรียน ความต้องการของ โรงเรียนคืออยากจะได้สื่อที่มาแก้ปัญหาการเรียน การสอนที่ช่วยกระตุ้นให้เด็กมีความสนใจในการเรียน มากขึ้น สื่อนี้สามารถทาให้เด็ก เห็นสภาพเสมือนจริง (Realistic) และเหมาะสมกับการศกึษา รายบุคคล โดย ผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์กับสื่อโดยตรงอาจจะมี ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว เสียง หรือ วีดิทัศน์ ประกอบอยู่ในสื่อนั้น เพื่อสร้างความตื่นเต้นน่าสนใจ และสามารถย้อนทบทวน ส่วนที่ต้องการได้โดยไม่มี ข้อจากัด มีการประเมินเพื่อแก้ไขข้อบกพร่องของตนเองได้ อาจจะออกแบบมาในลักษณะของเกม หรือ ลักษณะที่กระตุ้นให้ผู้เรียนให้มีความ กระตือรือร้นมากขึ้นทั้งนี้ก็สอดแทรกเนื้อหาวิชาการเข้าไวอ้ย่าง เหมาะสม
  • 4. สถานการณ์ปัญหา (ต่อ) โรงเรียนมหาชัย ต้องการนวตักรรมที่สามารถแก้ไขข้อจากัดด้านสถานที่ และ เวลา โดย ประยุกต์ใช้คุณสมบัติ เวิล์ด ไวด์เว็บ ที่โรงเรียนมีอยู่ ในการจัดสภาพแวดล้อม และสนับสนุนการเรียนการ สอน สิ่งแรกที่ต้องมีคือการลงทะเบียนเพื่อขอรหัสผ่านเข้าเรียน หลังจากนั้นผู้เรียนศึกษาเนื้อหาอาจเป็นการ อ่านบนจอหรือโหลดเนื้อหาลงมาที่เครื่องของ ตน หรือสั่งพิมพ์ทางเครื่องพิมพ์เพื่อศึกษาภายหลังก็ได้ ผ้เูรียนสามารถกา หนดการเรียนได้ ด้วยตนเอง (Self-directed) เปิดโอกาสให้เลือกเรียนได้ตาม สะดวก สามารถ กา หนด กรอบเวลาในการเรียนรู้ได้เหมาะสมกับความสามารถในการเรียนรู้ของตนเอง คล อบคลุม ทงั้การเรียนแบบประสานเวลา (Synchronous Learning) และไม่ประสานเวลา (Asynchronous Learning) และสามารถถามคาถาม ทาแบบฝึกหัด ทารายงานกลุ่ม อภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็นแก่ผู้เรียนคนอื่น ๆ ได้ และยังสามารถเข้าถึงเนื้อหาได้ทุก ที่ ทุกเวลา ทุก สถานที่
  • 5. สถานการณ์ปัญหา (ต่อ) โรงเรียนเทศบาลวดัธาตุ ต้องการออกแบบนวตักรรมการเรียนรู้ที่เน้นให้ ผู้เรียนสามารถ สร้างความรู้ด้วยตนเอง โดยการเผชิญสถานการณ์ปัญหา มีแหล่ง เรียนรู้ให้ผ้เูรียนได้สืบค้น เมื่อไม่ สามารถแก้ปัญหาได้ก็มีฐานความช่วยเหลือ พร้อม ทั้งมีเครื่องมือที่สนับสนุนการร่วมมือกันแก้ปัญหา สามารถแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ระหว่างกันได้ตลอดเวลา นอกจากนี้นวตักรรมที่พัฒนาข้นึต้อง สามารถนามาใช้ได้ใน หลายบริบทเนื่องจากผู้เรียนมีความแตกต่างกัน บางกลุ่มชอบที่จะเรียนบน เครือข่าย บางกลุ่มชอบที่จะเรียนแบบมัลติมีเดีย และบางกลุ่มชอบที่จะสามารถนาไปใช้เรียน ได้ทุก สถานที่ไม่ว่าจะเป็นใต้ร่มไม้ หรือสถานที่ที่ไม่มีคอมพิวเตอร์ก็สามารถใช้เรียนรู้ เพื่อให้เกิด ประสิทธิภาพได้ สถานที่ไม่ว่าจะเป็นใต้ร่มไม้ หรือสถานที่ที่ไม่มี คอมพิวเตอร์ก็สามารถใช้เรียนรู้ เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพได้
  • 6. ภารกิจการเรียนรู้ที่ 1 อธิบายความหมายและจา แนกประเภท สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้
  • 7. สิ่ง แวดล้อมทางการเรียนรู้ที่ พฒันาตามแนวคอนสตรคัติวิสต์ เป็นการ ออกแบบที่ประสานรวมกันระหว่าง “สื่อ (Media)” กับ “วิธีการ (Methods)” โดยการนาทฤษฎีคอนสตรัคตวิิสต์มาเป็นพื้นฐานในการออกแบบรวมกับสื่อ ซึ่ง มี คุณลักษณะของสื่อและระบบสัญลักษณ์ของสื่อที่สนับสนุนการสร้างความรู้ของ ผ้เูรียน ความหมาย ของสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ตามแนวคอนสตรัคตวิิสต์Chapter 7 นวตักรรมทางการศกึษา
  • 8. หลักการที่ สาคัญในการออกแบบสิ่งแวดลอ้มทางการเรียนรู้ตาม แนวคอนสตรคัตวิิสต์ • สถานการณ์ ปัญหา (Problem Base) • แหล่งเรียนรู้ (Resource) • ฐานความช่วยเหลือ (Scaffolding) • การโค้ช (Coaching) • การร่วมมือกันแก้ปัญหา (Collaboration) Chapter 7 นวตักรรมทาง การศึกษา
  • 9. ประเภทของสิ่ง แวดลอ้มทางการเรียนรู้  1) สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้บนเครือข่ายตามแนวคอนสตรัคตวิิสต์  2) มัลติมีเดียตามแนวคอนสตรัคตวิิสต์  3) ชุดสร้างความรู้ Chapter 7 นวตักรรมทางการศกึษา
  • 10. ภารกิจการเรียนรู้ที่ 2 วิเคราะห์เลือกใชน้วตักรรมการเรียนรู้ ให้สอดคล้องกับบริบทของ โรงเรียนทงั้ 3 แห่งนี้
  • 11. โรงเรียนเปรมสวัสดิ์ นวตักรรมที่ควรใช้คือ มัลติมีเดีย เพราะสามารถที่จะนาเสนอได้ ทั้งเสียง ข้อความ ภาพเคลื่อนไหว ดนตรี กราฟิก ภาพถ่ายวสัดุตีพิมพ์ ภาพยนตร์และวีดิทัศน์ สามารถนาเสนอ ความรู้ได้หลายสื่อและเสมือน จริงประกอบกับสามารถที่จะจาลองภาพของการเรียนการสอนที่ ผ้เูรียน สามารถเรียนรู้ได้ด้วยตนเองแบบเชิงรุก กระต้นุให้ผ้เูรียนมีความ กระตือรือร้นมากขึ้น
  • 12. โรงเรียนมหาชยั นวตักรรมที่ควรใช้คือ E-Learning เป็นเทคโนโลยีที่ทาให้มีการเรียนดาเนิน ไป โดยไม่จากัดเวลาและสถานที่ หรือเป็นการเรียนที่ไม่พร้อมกัน โดยใช้เครื่องมือสาคัญ ที่ มีอยู่ในอินเทอร์เน็ตและเว็บ และ นวตักรรม การเรียนร้บูนเครือข่าย เป็นบทเรียนที่นาเสนอ ผ่านเครือข่าย คอมพิวเตอร์ โดยอาศัยคุณลักษณะของสื่อที่สามารถนาเสนอบทเรียนแบบ ข้อความ หลายมิติ เชื่อมโยงเป็นเครือข่ายได้ทั่วโลกที่สามารถเรียนได้ทุกที่ทุกเวลา
  • 13. โรงเรียนเทศบาลวัดธาตุ นวตักรรมที่ควรใช้ คือ สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ตามแนวคอนสตรัคตวิิสต์เพราะ เป็นการเน้นการสร้างความรู้ด้วยตนเองโดยการลงมือกระทาหรือปฏิบัติที่ผ่าน กระบวนการ คิด และอาศัยประสบการณ์เดิมหรือความรู้เดิมที่มีอยู่แล้วเชื่อมโยงกับ ประสบการณ์ใหม่หรอื ความรู้ใหม่ เพื่อขยายโครงสร้างทางปัญญา ซึ่งจะทาให้ผู้เรียน สามารถนาความรู้ที่เรียนมาไป ประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวนัได้ นอกจากนี้ ควรใช้นวตักรรมการเรียนร้บูนเครือข่าย ควบคไู่ป ด้วย เพราะเป็นเครือข่ายได้ทั่วโลกที่สามารถเรียนได้ทุกที่ทุกเวลา
  • 14. ภารกิจการเรียนรู้ที่ 3 จากประเภทของนวตักรรมการเรียนรู้ในบทที่ 7 ให้นักศึกษา เสนอ นวตักรรมการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับลักษณะวิชาเอกที่ นักศึกษาจะปฏิบัติ หน้าที่สอน พร้อมทั้งอธิบายเหตุผล
  • 15. คอมพิวเตอร์ช่วยสอน เพราะคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเป็นการเรียนการสอน แบบรายบุคคลที่นา เอาหลักการของบทเรียนโปรแกรมและเครื่องช่วยสอนมา ผสมผสานกัน โดยมีจุดมุ่งหมายที่จะ ตอบสนองในเรื่องความแตกต่างระหว่าง บุคคลของผู้เรียนเพื่อให้บรรลุวตัถุประสงค์ทางการศกึษาเป็น รายบุคคล Chapter 7 นวตักรรมทางการศกึษา คอมพิวเตอร์ช่วยสอนมีลักษณะการเรียนที่เป็นขั้นเป็นตอน ดังนี้ 1. ขนั้นาเข้าสู่บทเรียน 2. ขนั้การเสนอเนื้อหา 3. ขนั้คาถามและคาตอบ 4. ขนั้การตรวจคาตอบ 5. ขนั้ของการปิดบทเรียน ซึ่งจะช่วยให้ผ้เูรียนสามารถเรียนได้ตามขนั้ตอนจากงา่ยไปยาก หรือเลือก บทเรียนได้และทาให้ผ้เูรียน ไม่เบื่อหน่ายการเรียน เพราะมีภาพ ภาพเคลื่อนไหว สี เสียง และที่สา คัญคือฝึกให้ผู้เรียนคิดอย่างมี เหตุผล ซึ่งก็เป็นหลักของวิชา คณิตศาสตร์ Chapter 7 นวตักรรมทางการศึกษา