SlideShare a Scribd company logo
1 of 11
บทที่ 7 
นวัตกรรมทางการศึกษา
สถานการณ์ปัญหา 
(Problem-based learning) 
กระทรวงศึกษาธิการต้องการให้ท่านเลือก และสร้างนวัตกรรมการเรียนรู้ ให้เหมาะสมกับบริบทของ 
โรงเรียนทั้ง 3 แห่งคือ โรงเรียนเปรมสวัสด์ิ โรงเรียนมหาชัย โรงเรียนเทศบาลวัดธาตุ 
โรงเรียนเปรมสวัสด์ิเป็นโรงเรียนที่อยู่ห่างไกลความเจริญ ไม่มีการเชื่อมโยงเครือข่าย 
อินเตอร์เน็ต แต่พอจะมีคอมพิวเตอร์ใช้บ้าง ซึ่งเป็นห้องคอมพิวเตอร์ สา หรับนักเรียนความต้องการของ 
โรงเรียน คืออยากจะได้สื่อที่มาแก้ปัญหาการเรียนการสอนที่ช่วยกระตุ้นให้เด็กมีความสนใจในการ 
เรียนมากขึ้น สื่อนี้สามารถทา ให้เด็กเห็นสภาพเสมือนจริง (Realistic) และเหมาะสมกับการศึกษา 
รายบุคคล โดยผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์กับสื่อโดยตรงอาจจะมี ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว เสียง หรือ วีดิทัศน์ 
ประกอบอยู่ในสื่อนั้น เพื่อสร้างความตื่นเต้นน่าสนใจ และสามารถย้อนทบทวนส่วนที่ต้องการได้ โดย 
ไม่มีข้อจา กัด มีการประเมินเพื่อแก้ไขข้อบกพร่องของตนเองได้ อาจจะออกแบบมาในลักษณะของเกม 
หรือลักษณะที่กระตุ้นให้ผู้เรียนให้มีความกระตือรือร้นมากขึ้นทั้งนี้ก็สอดแทรกเนื้อหาวิชาการเข้าไว้ 
อย่างเหมาะสม
สถานการณ์ปัญหา 
(Problem-based learning) 
โรงเรียนมหาชัย ต้องการนวัตกรรมที่สามารถแก้ไขข้อจา กัดด้านสถานที่และเวลา โดย 
ประยุกต์ใช้คุณสมบัติเวิล์ดไวด์เว็บที่โรงเรียนมีอยู่ในการจัดสภาพแวดล้อมและสนับสนุนการเรียนการ 
สอน สิ่งแรกที่ต้องมีคือการลงทะเบียนเพื่อขอรหัสผ่านเข้าเรียน หลังจากนั้นผู้เรียนศึกษาเนื้อหาอาจ 
เป็นการอ่านบนจอหรือโหลดเนื้อหาลงมาที่เครื่องของตนหรือสั่งพิมพ์ทางเครื่องพิมพ์เพื่อศึกษา 
ภายหลังก็ได้ ผู้เรียนสามารถกา หนดการเรียนได้ด้วยตนเอง (Self-directed) เปิดโอกาสให้เลือกเรียนได้ 
ตามสะดวก สามารถกา หนดกรอบเวลาในการเรียนรู้ได้เหมาะสมกับความสามารถในการเรียนรู้ของ 
ตนเอง คลอบคลุมทั้งการเรียนแบบประสานเวลา (Synchronous Learning) และไม่ประสานเวลา 
(Asynchronous Learning) และสามารถถามคา ถาม ทา แบบฝึกหัด ทา รายงานกลุ่ม อภิปราย แลกเปลี่ยน 
ความคิดเห็นแก่ผู้เรียนคนอื่น ๆ ได้ และยังสามารถเข้าถึงเนื้อหาได้ทุกที่ทุกเวลาทุกสถานที่
สถานการณ์ปัญหา 
(Problem-based learning) 
โรงเรียนเทศบาลวัดธาตุ ต้องการออกแบบนวัตกรรมการเรียนรู้ ที่เน้นให้ผู้เรียนสามารถ 
สร้างความรู้ด้วยตนเอง โดยการเผชิญสถานการณ์ปัญหา มีแหล่งเรียนรู้ให้ผู้เรียนได้สืบค้น เมื่อไม่ 
สามารถแก้ปัญหาได้ก็มีฐานความช่วยเหลือ พร้อมทั้งมีเครื่องมือที่สนับสนุนการร่วมมือกันแก้ปัญหา 
สามารถแลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่างกันได้ตลอดเวลา นอกจากนี้นวัตกรรมที่พัฒนาขึ้นต้องสามารถ 
นา มาใช้ได้ ในหลายบริบทเนื่องจากผู้เรียนมีความแตกต่างกัน บางกลุ่มชอบที่จะเรียนบนเครือข่าย บาง 
กลุ่มชอบที่จะเรียนแบบมัลติมีเดีย และบางกลุ่มชอบที่จะสามารถนาไปใช้เรียนได้ทุกสถานที่ไม่ว่าจะ 
เป็นใต้ร่มไม้ หรือสถานที่ที่ไม่มีคอมพิวเตอร์ก็สามารถใช้เรียนรู้เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพได้
ภารกิจ 
1. อธิบายความหมายและจาแนกประเภทของสิ่งแวดล้อม 
ทางการเรียนรู้ 
ความหมายของสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ตามแนวคอนสตรัคตวิิสต์ 
สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ที่พัฒนาตามแนวคอนสตรัคติวิสต์เป็นการ 
ออกแบบที่ประสานรวมกันระหว่าง “สื่อ (Media)” กับ “วิธีการ (Methods)” 
โดยการนา ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์มาเป็นพื้นฐานในการออกแบบรวมกับสื่อ 
ซึ่งมีคุณลักษณะของสื่อและระบบสัญลักษณ์ของสื่อที่สนับสนุนการสร้าง 
ความรู้ของผู้เรียน
ภารกิจ 
ประเภทของสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ 
1) สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้บนเครือข่ายตามแนวคอนสตรัคตวิิสต์ 
2) มัลติมีเดียตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ 
3) ชุดสร้างความรู้
2. วิเคราะห์เลือกใช้นวัตกรรมการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับบริบท 
ของโรงเรียนท้งั 3 แห่งนี้ 
โรงเรียนเปรมสวัสด์ิ 
สื่อที่ควรใช้ คือ มัลติมีเดีย เพราะมัลติมีเดีย คือ ระบบการสื่อสาร 
ประกอบด้วย ข้อความ กราฟิก (Graphic) ภาพเคลื่อนไหว (Animation) เสียง 
(Sound) และวิดีทัศน์(Video) เป็นต้น การใช้มัลติมีเดียในลักษณะปฏิสัมพันธ์ก็ 
เพื่อช่วยให้ผู้ใช้สามารถเรียนรู้หรือทา กิจกรรม รวมถึงดูสื่อต่าง ๆ ด้วยตนเอง 
สื่อต่าง ๆ ที่นา มารวมไว้ในมัลติมีเดีย เช่น ภาพ เสียง วิดีทัศน์จะช่วยให้เกิด 
ความหลากหลาย น่าสนใจ และเร้าความสนใจ เพิ่มความสนุกสนานในการ 
เรียนรู้มากยิ่งขึ้น
โรงเรียนเทศบาลวัดธาตุ 
สื่อที่ควรใช้ คือ สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ 
เพราะเน้นการสร้างความรู้ด้วยตนเอง ด้วยการลงมือกระทา ที่ผ่านกระบวนการ 
คิด และอาศัยประสบการณ์เดิมเชื่อมโยงกับประสบการณ์ใหม่ เพื่อขยาย 
โครงสร้างทางปัญญา มีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ 
โรงเรียนมหาชัย 
สื่อที่ควรใช้คือ E-learning เพราะเป็นนวัตกรรมที่ใช้เทคโนโลยีที่ 
ก้าวหน้า เช่น อินเตอร์เน็ต ดาวเทียม การเรียนทางไกล การเรียนผ่านเว็บ
3. จากประเภทของนวัตกรรมการเรียนรู้ในบทที่ 7 ให้นักศึกษา 
เสนอนวัตกรรมการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับลักษณะวิชาเอกที่ 
นักศึกษาจะปฏิบัติหน้าทสี่อน พร้อมทั้งอธิบายเหตุผล 
คอมพิวเตอร์ช่วยสอน เพราะคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเป็นการเรียนการสอน 
แบบรายบุคคลที่นาเอาหลักการของบทเรียนโปรแกรมและเครื่องช่วยสอนมา 
ผสมผสานกัน โดยมีจุดมุ่งหมายที่จะตอบสนองในเรื่องความแตกต่างระหว่าง 
บุคคลของผู้เรียนเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ทางการศึกษาเป็นรายบุคคล
และคอมพิวเตอร์ช่วยสอนมีลักษณะการเรียนที่เป็นขั้นเป็นตอน ดังนี้ 
1. ขั้นนา เข้าสู่บทเรียน 
2. ขั้นการเสนอเนื้อหา 
3. ขั้นคา ถามและคา ตอบ 
4. ขั้นการตรวจคา ตอบ 
5. ขั้นของการปิดบทเรียน 
ซึ่งจะช่วยให้ผู้เรียนสามารถเรียนได้ตามขั้นตอนจากง่ายไป 
ยาก หรือเลือกบทเรียนได้ และทา ให้ผู้เรียนไม่เบื่อหน่ายการเรียน เพราะมีภาพ 
ภาพเคลื่อนไหว สี เสียง และที่สา คัญคือฝึกให้ผู้เรียนคิดอย่างมีเหตุผล ซึ่งก็เป็น 
หลักของวิชาคณิตศาสตร์
เสนอ 
อ.ดร.อนุชา โสมาบุตร 
จัดทาโดย 
นางสาวณัฐฐาพร บาอุ้ย 563050087-4 
นางสาวศศิธร แซ่จิว 563050139-1 
นายเสฏฐวุฒิ เรืองบุญ 563050152-9

More Related Content

What's hot

CHAPTER 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
CHAPTER 7 นวัตกรรมทางการศึกษาCHAPTER 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
CHAPTER 7 นวัตกรรมทางการศึกษาAa-bb Sangwut
 
บทที่7นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่7นวัตกรรมทางการศึกษาบทที่7นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่7นวัตกรรมทางการศึกษาWanlayaa
 
Chapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
Chapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษาChapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
Chapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษาWuth Chokcharoen
 
Chapter7 นวัตกรรมทางการศึกษา
Chapter7 นวัตกรรมทางการศึกษาChapter7 นวัตกรรมทางการศึกษา
Chapter7 นวัตกรรมทางการศึกษาPrakaidao Suebwong
 
Chapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
Chapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษาChapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
Chapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษาNidnoy Thanyarat
 
บทที่7นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่7นวัตกรรมทางการศึกษาบทที่7นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่7นวัตกรรมทางการศึกษาThamonwan Kottapan
 
งานที่ 7 นวัตกรรมการศึกษา
งานที่ 7 นวัตกรรมการศึกษางานที่ 7 นวัตกรรมการศึกษา
งานที่ 7 นวัตกรรมการศึกษาPui Chanisa Itkeat
 

What's hot (13)

CHAPTER 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
CHAPTER 7 นวัตกรรมทางการศึกษาCHAPTER 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
CHAPTER 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
 
Chapter7
Chapter7Chapter7
Chapter7
 
Inno present chapt7
Inno present chapt7Inno present chapt7
Inno present chapt7
 
Chapter 7
Chapter 7Chapter 7
Chapter 7
 
บทที่7นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่7นวัตกรรมทางการศึกษาบทที่7นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่7นวัตกรรมทางการศึกษา
 
Chapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
Chapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษาChapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
Chapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
 
Chapter7 นวัตกรรมทางการศึกษา
Chapter7 นวัตกรรมทางการศึกษาChapter7 นวัตกรรมทางการศึกษา
Chapter7 นวัตกรรมทางการศึกษา
 
Chapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
Chapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษาChapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
Chapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
 
Chapter7
Chapter7Chapter7
Chapter7
 
ภาระกิจ บทที่ 7
ภาระกิจ บทที่ 7ภาระกิจ บทที่ 7
ภาระกิจ บทที่ 7
 
Chapter7
Chapter7Chapter7
Chapter7
 
บทที่7นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่7นวัตกรรมทางการศึกษาบทที่7นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่7นวัตกรรมทางการศึกษา
 
งานที่ 7 นวัตกรรมการศึกษา
งานที่ 7 นวัตกรรมการศึกษางานที่ 7 นวัตกรรมการศึกษา
งานที่ 7 นวัตกรรมการศึกษา
 

Similar to บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา

บทที่ึ7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ึ7 นวัตกรรมทางการศึกษาบทที่ึ7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ึ7 นวัตกรรมทางการศึกษาNoom Theerayut
 
งานนำเสนอ Chapter 7
งานนำเสนอ Chapter 7งานนำเสนอ Chapter 7
งานนำเสนอ Chapter 7Markker Promma
 
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษาบทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษาKanatip Sriwarom
 
บทที่7 นวัตกรรมการศึกษา
บทที่7 นวัตกรรมการศึกษาบทที่7 นวัตกรรมการศึกษา
บทที่7 นวัตกรรมการศึกษาSattakamon
 
งานกลุ่ม Chapter 7
งานกลุ่ม Chapter 7งานกลุ่ม Chapter 7
งานกลุ่ม Chapter 7Pronsawan Petklub
 
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษาบทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษาpohn
 
บทท 7 นว_ตกรรมทางการศ_กษา
บทท  7 นว_ตกรรมทางการศ_กษาบทท  7 นว_ตกรรมทางการศ_กษา
บทท 7 นว_ตกรรมทางการศ_กษาsinarack
 
บทที่7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่7 นวัตกรรมทางการศึกษาบทที่7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่7 นวัตกรรมทางการศึกษาAomJi Math-ed
 
บทท 7 นว_ตกรรมทางการศ_กษา
บทท  7 นว_ตกรรมทางการศ_กษาบทท  7 นว_ตกรรมทางการศ_กษา
บทท 7 นว_ตกรรมทางการศ_กษาN'Fern White-Choc
 

Similar to บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา (19)

Chapter 7
Chapter 7Chapter 7
Chapter 7
 
Chapter 7
Chapter 7Chapter 7
Chapter 7
 
Chap.7 (problem)
Chap.7 (problem)Chap.7 (problem)
Chap.7 (problem)
 
Chap.7 (problem)
Chap.7 (problem)Chap.7 (problem)
Chap.7 (problem)
 
Chap.7 (problem)
Chap.7 (problem)Chap.7 (problem)
Chap.7 (problem)
 
1413315061 chapter7
1413315061 chapter71413315061 chapter7
1413315061 chapter7
 
Charpter7miii
Charpter7miiiCharpter7miii
Charpter7miii
 
บทที่ึ7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ึ7 นวัตกรรมทางการศึกษาบทที่ึ7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ึ7 นวัตกรรมทางการศึกษา
 
งานนำเสนอ Chapter 7
งานนำเสนอ Chapter 7งานนำเสนอ Chapter 7
งานนำเสนอ Chapter 7
 
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษาบทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
 
บทท 7
บทท  7บทท  7
บทท 7
 
บทที่7 นวัตกรรมการศึกษา
บทที่7 นวัตกรรมการศึกษาบทที่7 นวัตกรรมการศึกษา
บทที่7 นวัตกรรมการศึกษา
 
Chapter 7
Chapter 7Chapter 7
Chapter 7
 
งานกลุ่ม Chapter 7
งานกลุ่ม Chapter 7งานกลุ่ม Chapter 7
งานกลุ่ม Chapter 7
 
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษาบทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
 
บทท 7 นว_ตกรรมทางการศ_กษา
บทท  7 นว_ตกรรมทางการศ_กษาบทท  7 นว_ตกรรมทางการศ_กษา
บทท 7 นว_ตกรรมทางการศ_กษา
 
บทที่7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่7 นวัตกรรมทางการศึกษาบทที่7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่7 นวัตกรรมทางการศึกษา
 
บทท 7 นว_ตกรรมทางการศ_กษา
บทท  7 นว_ตกรรมทางการศ_กษาบทท  7 นว_ตกรรมทางการศ_กษา
บทท 7 นว_ตกรรมทางการศ_กษา
 
Chapter 7
Chapter 7Chapter 7
Chapter 7
 

บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา

  • 2. สถานการณ์ปัญหา (Problem-based learning) กระทรวงศึกษาธิการต้องการให้ท่านเลือก และสร้างนวัตกรรมการเรียนรู้ ให้เหมาะสมกับบริบทของ โรงเรียนทั้ง 3 แห่งคือ โรงเรียนเปรมสวัสด์ิ โรงเรียนมหาชัย โรงเรียนเทศบาลวัดธาตุ โรงเรียนเปรมสวัสด์ิเป็นโรงเรียนที่อยู่ห่างไกลความเจริญ ไม่มีการเชื่อมโยงเครือข่าย อินเตอร์เน็ต แต่พอจะมีคอมพิวเตอร์ใช้บ้าง ซึ่งเป็นห้องคอมพิวเตอร์ สา หรับนักเรียนความต้องการของ โรงเรียน คืออยากจะได้สื่อที่มาแก้ปัญหาการเรียนการสอนที่ช่วยกระตุ้นให้เด็กมีความสนใจในการ เรียนมากขึ้น สื่อนี้สามารถทา ให้เด็กเห็นสภาพเสมือนจริง (Realistic) และเหมาะสมกับการศึกษา รายบุคคล โดยผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์กับสื่อโดยตรงอาจจะมี ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว เสียง หรือ วีดิทัศน์ ประกอบอยู่ในสื่อนั้น เพื่อสร้างความตื่นเต้นน่าสนใจ และสามารถย้อนทบทวนส่วนที่ต้องการได้ โดย ไม่มีข้อจา กัด มีการประเมินเพื่อแก้ไขข้อบกพร่องของตนเองได้ อาจจะออกแบบมาในลักษณะของเกม หรือลักษณะที่กระตุ้นให้ผู้เรียนให้มีความกระตือรือร้นมากขึ้นทั้งนี้ก็สอดแทรกเนื้อหาวิชาการเข้าไว้ อย่างเหมาะสม
  • 3. สถานการณ์ปัญหา (Problem-based learning) โรงเรียนมหาชัย ต้องการนวัตกรรมที่สามารถแก้ไขข้อจา กัดด้านสถานที่และเวลา โดย ประยุกต์ใช้คุณสมบัติเวิล์ดไวด์เว็บที่โรงเรียนมีอยู่ในการจัดสภาพแวดล้อมและสนับสนุนการเรียนการ สอน สิ่งแรกที่ต้องมีคือการลงทะเบียนเพื่อขอรหัสผ่านเข้าเรียน หลังจากนั้นผู้เรียนศึกษาเนื้อหาอาจ เป็นการอ่านบนจอหรือโหลดเนื้อหาลงมาที่เครื่องของตนหรือสั่งพิมพ์ทางเครื่องพิมพ์เพื่อศึกษา ภายหลังก็ได้ ผู้เรียนสามารถกา หนดการเรียนได้ด้วยตนเอง (Self-directed) เปิดโอกาสให้เลือกเรียนได้ ตามสะดวก สามารถกา หนดกรอบเวลาในการเรียนรู้ได้เหมาะสมกับความสามารถในการเรียนรู้ของ ตนเอง คลอบคลุมทั้งการเรียนแบบประสานเวลา (Synchronous Learning) และไม่ประสานเวลา (Asynchronous Learning) และสามารถถามคา ถาม ทา แบบฝึกหัด ทา รายงานกลุ่ม อภิปราย แลกเปลี่ยน ความคิดเห็นแก่ผู้เรียนคนอื่น ๆ ได้ และยังสามารถเข้าถึงเนื้อหาได้ทุกที่ทุกเวลาทุกสถานที่
  • 4. สถานการณ์ปัญหา (Problem-based learning) โรงเรียนเทศบาลวัดธาตุ ต้องการออกแบบนวัตกรรมการเรียนรู้ ที่เน้นให้ผู้เรียนสามารถ สร้างความรู้ด้วยตนเอง โดยการเผชิญสถานการณ์ปัญหา มีแหล่งเรียนรู้ให้ผู้เรียนได้สืบค้น เมื่อไม่ สามารถแก้ปัญหาได้ก็มีฐานความช่วยเหลือ พร้อมทั้งมีเครื่องมือที่สนับสนุนการร่วมมือกันแก้ปัญหา สามารถแลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่างกันได้ตลอดเวลา นอกจากนี้นวัตกรรมที่พัฒนาขึ้นต้องสามารถ นา มาใช้ได้ ในหลายบริบทเนื่องจากผู้เรียนมีความแตกต่างกัน บางกลุ่มชอบที่จะเรียนบนเครือข่าย บาง กลุ่มชอบที่จะเรียนแบบมัลติมีเดีย และบางกลุ่มชอบที่จะสามารถนาไปใช้เรียนได้ทุกสถานที่ไม่ว่าจะ เป็นใต้ร่มไม้ หรือสถานที่ที่ไม่มีคอมพิวเตอร์ก็สามารถใช้เรียนรู้เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพได้
  • 5. ภารกิจ 1. อธิบายความหมายและจาแนกประเภทของสิ่งแวดล้อม ทางการเรียนรู้ ความหมายของสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ตามแนวคอนสตรัคตวิิสต์ สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ที่พัฒนาตามแนวคอนสตรัคติวิสต์เป็นการ ออกแบบที่ประสานรวมกันระหว่าง “สื่อ (Media)” กับ “วิธีการ (Methods)” โดยการนา ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์มาเป็นพื้นฐานในการออกแบบรวมกับสื่อ ซึ่งมีคุณลักษณะของสื่อและระบบสัญลักษณ์ของสื่อที่สนับสนุนการสร้าง ความรู้ของผู้เรียน
  • 6. ภารกิจ ประเภทของสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ 1) สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้บนเครือข่ายตามแนวคอนสตรัคตวิิสต์ 2) มัลติมีเดียตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ 3) ชุดสร้างความรู้
  • 7. 2. วิเคราะห์เลือกใช้นวัตกรรมการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับบริบท ของโรงเรียนท้งั 3 แห่งนี้ โรงเรียนเปรมสวัสด์ิ สื่อที่ควรใช้ คือ มัลติมีเดีย เพราะมัลติมีเดีย คือ ระบบการสื่อสาร ประกอบด้วย ข้อความ กราฟิก (Graphic) ภาพเคลื่อนไหว (Animation) เสียง (Sound) และวิดีทัศน์(Video) เป็นต้น การใช้มัลติมีเดียในลักษณะปฏิสัมพันธ์ก็ เพื่อช่วยให้ผู้ใช้สามารถเรียนรู้หรือทา กิจกรรม รวมถึงดูสื่อต่าง ๆ ด้วยตนเอง สื่อต่าง ๆ ที่นา มารวมไว้ในมัลติมีเดีย เช่น ภาพ เสียง วิดีทัศน์จะช่วยให้เกิด ความหลากหลาย น่าสนใจ และเร้าความสนใจ เพิ่มความสนุกสนานในการ เรียนรู้มากยิ่งขึ้น
  • 8. โรงเรียนเทศบาลวัดธาตุ สื่อที่ควรใช้ คือ สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ เพราะเน้นการสร้างความรู้ด้วยตนเอง ด้วยการลงมือกระทา ที่ผ่านกระบวนการ คิด และอาศัยประสบการณ์เดิมเชื่อมโยงกับประสบการณ์ใหม่ เพื่อขยาย โครงสร้างทางปัญญา มีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ โรงเรียนมหาชัย สื่อที่ควรใช้คือ E-learning เพราะเป็นนวัตกรรมที่ใช้เทคโนโลยีที่ ก้าวหน้า เช่น อินเตอร์เน็ต ดาวเทียม การเรียนทางไกล การเรียนผ่านเว็บ
  • 9. 3. จากประเภทของนวัตกรรมการเรียนรู้ในบทที่ 7 ให้นักศึกษา เสนอนวัตกรรมการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับลักษณะวิชาเอกที่ นักศึกษาจะปฏิบัติหน้าทสี่อน พร้อมทั้งอธิบายเหตุผล คอมพิวเตอร์ช่วยสอน เพราะคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเป็นการเรียนการสอน แบบรายบุคคลที่นาเอาหลักการของบทเรียนโปรแกรมและเครื่องช่วยสอนมา ผสมผสานกัน โดยมีจุดมุ่งหมายที่จะตอบสนองในเรื่องความแตกต่างระหว่าง บุคคลของผู้เรียนเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ทางการศึกษาเป็นรายบุคคล
  • 10. และคอมพิวเตอร์ช่วยสอนมีลักษณะการเรียนที่เป็นขั้นเป็นตอน ดังนี้ 1. ขั้นนา เข้าสู่บทเรียน 2. ขั้นการเสนอเนื้อหา 3. ขั้นคา ถามและคา ตอบ 4. ขั้นการตรวจคา ตอบ 5. ขั้นของการปิดบทเรียน ซึ่งจะช่วยให้ผู้เรียนสามารถเรียนได้ตามขั้นตอนจากง่ายไป ยาก หรือเลือกบทเรียนได้ และทา ให้ผู้เรียนไม่เบื่อหน่ายการเรียน เพราะมีภาพ ภาพเคลื่อนไหว สี เสียง และที่สา คัญคือฝึกให้ผู้เรียนคิดอย่างมีเหตุผล ซึ่งก็เป็น หลักของวิชาคณิตศาสตร์
  • 11. เสนอ อ.ดร.อนุชา โสมาบุตร จัดทาโดย นางสาวณัฐฐาพร บาอุ้ย 563050087-4 นางสาวศศิธร แซ่จิว 563050139-1 นายเสฏฐวุฒิ เรืองบุญ 563050152-9