SlideShare a Scribd company logo
1 of 16
Download to read offline
สถานการณ์ปัญหา 
กระทรวงศึกษาธิการต้องการให้ท่านเลือกและสร้างนวัตกรรมการเรียนรู้ ให้เหมาะสมกับบริบทของโรงเรียนทั้ง 3 แห่งคือ โรงเรียนเปรมสวัสดิ์ โรงเรียนมหาชัย โรงเรียนเทศบาลวัดธาตุ 
โรงเรียนเปรมสวัสดิ์ เป็นโรงเรียนที่อยู่ห่างไกลความเจริญ ไม่มีการเชื่อมโยง เครือข่ายอินเตอร์เน็ตแต่พอจะมีคอมพิวเตอร์ใช้บ้าง ซึ่งเป็นห้องคอมพิวเตอร์สาหรับ นักเรียน ความต้องการของโรงเรียนคืออยากจะได้สื่อที่มาแก้ปัญหาการเรียนการสอนที่ ช่วยกระตุ้นให้เด็กมีความสนใจในการเรียนมากขึ้น สื่อนี้สามารถทาให้เด็กเห็นสภาพ เสมือนจริง (Realistic) และเหมาะสมกับการศึกษารายบุคคล โดยผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์ กับสื่อโดยตรงอาจจะมี ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว เสียง หรือ วีดิทัศน์ ประกอบอยู่ในสื่อ นั้น เพื่อสร้างความตื่นเต้นน่าสนใจ และสามารถย้อนทบทวนส่วนที่ต้องการได้โดยไม่มี ข้อจากัด มีการประเมินเพื่อแก้ไขข้อบกพร่องของตนเองได้ อาจจะออกแบบมาใน ลักษณะของเกม หรือลักษณะที่กระตุ้นให้ผู้เรียนให้มีความกระตือรือร้นมากขึ้นทั้งนี้ก็ สอดแทรกเนื้อหาวิชาการเข้าไว้อย่างเหมาะสม
สถานการณ์ปัญหา (ต่อ) 
โรงเรียนมหาชัย ต้องการนวัตกรรมที่สามารถแก้ไขข้อจากัดด้านสถานที่ และ เวลา โดยประยุกต์ใช้คุณสมบัติ เวิล์ด ไวด์ เว็บ ที่โรงเรียนมีอยู่ ในการจัดสภาพแวดล้อม และสนับสนุนการเรียนการสอน สิ่งแรกที่ต้องมีคือการลงทะเบียนเพื่อขอรหัสผ่านเข้าเรียน หลังจากนั้นผู้เรียนศึกษาเนื้อหาอาจเป็นการอ่านบนจอหรือโหลดเนื้อหาลงมาที่เครื่องของ ตน หรือสั่งพิมพ์ทางเครื่องพิมพ์เพื่อศึกษาภายหลังก็ได้ ผู้เรียนสามารถกาหนดการเรียนได้ ด้วยตนเอง (Self-directed) เปิดโอกาสให้เลือกเรียนได้ตามสะดวก สามารถ กาหนด กรอบเวลาในการเรียนรู้ได้เหมาะสมกับความสามารถในการเรียนรู้ของตนเอง คลอบคลุม ทั้งการเรียนแบบประสานเวลา (Synchronous Learning) และไม่ประสานเวลา (Asynchronous Learning) และสามารถถามคาถาม ทาแบบฝึกหัด ทารายงานกลุ่ม อภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็นแก่ผู้เรียนคนอื่น ๆ ได้ และยังสามารถเข้าถึงเนื้อหาได้ทุก ที่ ทุกเวลา ทุกสถานที่
สถานการณ์ปัญหา (ต่อ) 
สถานการณ์ปัญหา (ต่อ) 
โรงเรียนเทศบาลวัดธาตุ ต้องการออกแบบนวัตกรรมการเรียนรู้ที่เน้นให้ ผู้เรียนสามารถสร้างความรู้ด้วยตนเอง โดยการเผชิญสถานการณ์ปัญหา มีแหล่ง เรียนรู้ให้ผู้เรียนได้สืบค้น เมื่อไม่สามารถแก้ปัญหาได้ก็มีฐานความช่วยเหลือ พร้อม ทั้งมีเครื่องมือที่สนับสนุนการร่วมมือกันแก้ปัญหา สามารถแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ระหว่างกันได้ตลอดเวลา นอกจากนี้นวัตกรรมที่พัฒนาขึ้นต้องสามารถนามาใช้ได้ใน หลายบริบทเนื่องจากผู้เรียนมีความแตกต่างกัน บางกลุ่มชอบที่จะเรียนบนเครือข่าย บางกลุ่มชอบที่จะเรียนแบบมัลติมีเดีย และบางกลุ่มชอบที่จะสามารถนาไปใช้เรียน ได้ทุกสถานที่ไม่ว่าจะเป็นใต้ร่มไม้ หรือสถานที่ที่ไม่มีคอมพิวเตอร์ก็สามารถใช้เรียนรู้ เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพได้ สถานที่ไม่ว่าจะเป็นใต้ร่มไม้ หรือสถานที่ที่ไม่มี คอมพิวเตอร์ก็สามารถใช้เรียนรู้เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพได้
ภารกิจ 
1.อธิบายความหมายและจาแนกประเภท 
สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้
สิ่งที่ผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์ในกระบวนการเรียนรู้ เช่น ครู เทคโนโลยี พ่อแม่ ภูมิปัญญาท้องถิ่น ตลอดจนสื่อต่างๆ ที่นักเรียนใช้ในการสร้าง ความรู้
ประเภทของ สิ่งแวดล้อม ทางการเรียนรู้ 
สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ บนเครือข่าย 
การใช้สื่อบนเครือข่ายในการสร้าง ความรู้หรือใช้ในการแลกเปลี่ยนมุมมอง แนวคิด 
มัลติมิเดีย 
การนาเสนอโดยใช้ข้อความ ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหวและเสียง 
ชุดสร้างความรู้ 
การใช้สื่อตั้งแต่2 ชนิดทางานร่วมกันใน การเรียนรู้ด้วยตนเองของผู้เรียน
ภารกิจ 
2. วิเคราะห์เลือกใช้นวัตกรรมการเรียนรู้ ให้สอดคล้องกับบริบทของโรงเรียนทั้ง 3 แห่งนี้
โรงเรียนเปรมสวัสดิ์ 
นวัตกรรมที่ควรใช้คือ มัลติมีเดีย เพราะสามารถที่จะนาเสนอได้ ทั้งเสียง ข้อความ ภาพเคลื่อนไหว ดนตรี กราฟิก ภาพถ่ายวัสดุตีพิมพ์ ภาพยนตร์และวีดิทัศน์ สามารถนาเสนอความรู้ได้หลายสื่อและเสมือน จริงประกอบกับสามารถที่จะจาลองภาพของการเรียนการสอนที่ผู้เรียน สามารถเรียนรู้ได้ด้วยตนเองแบบเชิงรุก กระตุ้นให้ผู้เรียนมีความ กระตือรือร้นมากขึ้น
โรงเรียนมหาชัย 
นวัตกรรมที่ควรใช้คือ E-Learning เป็นเทคโนโลยีที่ทาให้มีการเรียนดาเนินไป โดยไม่จากัดเวลาและสถานที่ หรือเป็นการเรียนที่ไม่พร้อมกัน โดยใช้เครื่องมือสาคัญ ที่ มีอยู่ในอินเทอร์เน็ตและเว็บ 
และ นวัตกรรม การเรียนรู้บนเครือข่าย เป็นบทเรียนที่นาเสนอผ่านเครือข่าย คอมพิวเตอร์ โดยอาศัยคุณลักษณะของสื่อที่สามารถนาเสนอบทเรียนแบบ ข้อความ หลายมิติ เชื่อมโยงเป็นเครือข่ายได้ทั่วโลกที่สามารถเรียนได้ทุกที่ทุกเวลา
โรงเรียนเทศบาลวัดธาตุ 
นวัตกรรมที่ควรใช้ คือ สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ เพราะเป็นการเน้นการสร้างความรู้ด้วยตนเองโดยการลงมือกระทาหรือปฏิบัติที่ผ่าน กระบวนการคิด และอาศัยประสบการณ์เดิมหรือความรู้เดิมที่มีอยู่แล้วเชื่อมโยงกับ ประสบการณ์ใหม่หรือความรู้ใหม่ เพื่อขยายโครงสร้างทางปัญญา ซึ่งจะทาให้ผู้เรียน สามารถนาความรู้ที่เรียนมาไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวันได้ 
นอกจากนี้ ควรใช้นวัตกรรมการเรียนรู้บนเครือข่าย ควบคู่ไปด้วย เพราะเป็นเครือข่ายได้ทั่วโลกที่สามารถเรียนได้ทุกที่ทุกเวลา
ภารกิจ 
3. จากประเภทของนวัตกรรมการเรียนรู้ในบทที่ 7 ให้นักศึกษา เสนอนวัตกรรมการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับลักษณะวิชาเอกที่ นักศึกษาจะปฏิบัติหน้าที่สอน พร้อมทั้งอธิบายเหตุผล
สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ 
ประเภทของนวัตกรรมที่สอดคล้องกับสาขาวิชาคณิตศาสตรศึกษา คือ “การเน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลางที่ให้ความสาคัญต่อการเรียนรู้ของผู้เรียน” โดยผ่านการปฏิบัติลงมือกระทาด้วยตนเอง การพัฒนาศักยภาพทางการคิด ตลอดจนการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง ซึ่งเป็นการเปิดโอกาสให้ผู้เรียน วางแผน ดาเนินการและการประเมินตนเอง และมีปฏิสัมพันธ์กับแหล่งการ เรียนรู้ต่างๆ ได้แก่ครูเทคโนโลยีพ่อแม่ ภูมิปัญญาท้องถิ่น และบุคคลอื่น
หลักการที่สาคัญในการออกแบบสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ 
สถานการณ์ปัญหา (Problem based learning) 
เพียเจต์เชื่อว่าถ้าผู้เรียนถูกกระตุ้นด้วยปัญหา (Problem)ผู้เรียนต้องพยายามปรับโครงสร้างทางปัญญา ให้เข้าสู่ภาวะสมดุลหรือสามารถที่จะสร้างความรู้ใหม่ ขึ้นมาได้ 
แหล่งเรียนรู้(Resource) 
เป็นที่รวบรวมข้อมูล เนื้อหา สารสนเทศ ที่ผู้เรียนจะ ใช้ในการแก้สถานการณ์ปัญหาที่ผู้เรียนเผชิญ
ฐานความช่วยเหลือ (Scaffolding) 
การโค้ช (Coaching) 
การร่วมมือกันแก้ปัญหา (Collaboration) 
ฐานความช่วยเหลือจะสนับสนุนผู้เรียนในการแก้ปัญหา หรือการ เรียนรู้ในกรณีที่ไม่สามารถปฏิบัติภารกิจให้สาเร็จด้วยตัวเองได้ โดยฐาน ความช่วยเหลืออาจเป็นคาแนะนาแนวทาง 
เปลี่ยนบทบาทของครูที่ทาหน้าที่ในการถ่ายทอดความรู้มาเป็น 
“ผู้ฝึกสอน” ที่ให้ความช่วยเหลือ การให้คาแนะนาสาหรับผู้เรียน 
เพื่อขยายมุมมองให้แก่ตนเอง การร่วมมือกันแก้ปัญหาจะสนับสนุน ให้ผู้เรียนเกิดการคิดไตร่ตรอง เป็นแหล่งที่เปิดโอกาสให้ทั้งผู้เรียน ผู้สอน ผู้เชี่ยวชาญ ได้สนทนาแสดงความคิดเห็นของตนเองกับผู้อื่น
สมาชิกกลุ่ม 
นางสาวคณาทิพย์ ศรีวะรมย์ 563050076-9 
นางสาวธมลวรรณ โคตรพันธ์ 563050098-9 
นางสาวภาวินี โยวะศรี 563050302-6 
นางสาวสัตตกมล ทองสมบัติ 563050396-1 
นักศึกษาชั้นปีที่ 2 คณะศึกษาศาสตร์ สาขาคณิตศาสตรศึกษา

More Related Content

What's hot

Chapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
Chapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษาChapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
Chapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษาWuth Chokcharoen
 
CHAPTER 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
CHAPTER 7 นวัตกรรมทางการศึกษาCHAPTER 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
CHAPTER 7 นวัตกรรมทางการศึกษาAa-bb Sangwut
 
นวัตกรรมบทที่ 7
นวัตกรรมบทที่ 7นวัตกรรมบทที่ 7
นวัตกรรมบทที่ 7Setthawut Ruangbun
 
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษาบทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษาB'nust Thaporn
 
บทท 7 นว_ตกรรมทางการศ_กษา
บทท  7 นว_ตกรรมทางการศ_กษาบทท  7 นว_ตกรรมทางการศ_กษา
บทท 7 นว_ตกรรมทางการศ_กษาsinarack
 

What's hot (14)

Chapter7
Chapter7Chapter7
Chapter7
 
Chapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
Chapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษาChapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
Chapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
 
ภาระกิจ บทที่ 7
ภาระกิจ บทที่ 7ภาระกิจ บทที่ 7
ภาระกิจ บทที่ 7
 
CHAPTER 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
CHAPTER 7 นวัตกรรมทางการศึกษาCHAPTER 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
CHAPTER 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
 
Chap.7 (problem)
Chap.7 (problem)Chap.7 (problem)
Chap.7 (problem)
 
Innovation chapter 7 p
Innovation chapter 7 pInnovation chapter 7 p
Innovation chapter 7 p
 
Charpter7miii
Charpter7miiiCharpter7miii
Charpter7miii
 
Chapter7
Chapter7 Chapter7
Chapter7
 
Chapter 7
Chapter 7Chapter 7
Chapter 7
 
นวัตกรรมบทที่ 7
นวัตกรรมบทที่ 7นวัตกรรมบทที่ 7
นวัตกรรมบทที่ 7
 
1413315061 chapter7
1413315061 chapter71413315061 chapter7
1413315061 chapter7
 
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษาบทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
 
บทท 7 นว_ตกรรมทางการศ_กษา
บทท  7 นว_ตกรรมทางการศ_กษาบทท  7 นว_ตกรรมทางการศ_กษา
บทท 7 นว_ตกรรมทางการศ_กษา
 
Chapter 7
Chapter 7Chapter 7
Chapter 7
 

Viewers also liked

นวัตกรรม บทที่ 2 กลุ่มชุติกาญจน์
นวัตกรรม บทที่ 2 กลุ่มชุติกาญจน์นวัตกรรม บทที่ 2 กลุ่มชุติกาญจน์
นวัตกรรม บทที่ 2 กลุ่มชุติกาญจน์Natcha Wannakot
 
การพัฒนานวัตกรรมในการวิจัย
การพัฒนานวัตกรรมในการวิจัยการพัฒนานวัตกรรมในการวิจัย
การพัฒนานวัตกรรมในการวิจัยNU
 
ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศไพบูลย์ วงษ์ปาน
 
เรื่อง ลักษณะสำคัญและผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่อง ลักษณะสำคัญและผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่อง ลักษณะสำคัญและผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่อง ลักษณะสำคัญและผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศ32040954
 
ผลกระทบทางจริยธรรม และประเด็นทางสังคมที่เกี่ยวข้องกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ผลกระทบทางจริยธรรม และประเด็นทางสังคมที่เกี่ยวข้องกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศผลกระทบทางจริยธรรม และประเด็นทางสังคมที่เกี่ยวข้องกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ผลกระทบทางจริยธรรม และประเด็นทางสังคมที่เกี่ยวข้องกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศNawanan Theera-Ampornpunt
 
ผลกระทบจากเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผลกระทบจากเทคโนโลยีสารสนเทศผลกระทบจากเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผลกระทบจากเทคโนโลยีสารสนเทศGrazzi Original
 
เทคโนโลยีสมัยใหม่
เทคโนโลยีสมัยใหม่เทคโนโลยีสมัยใหม่
เทคโนโลยีสมัยใหม่Anakkwee Saeton
 
ผลกระทบเชิงลบของนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผลกระทบเชิงลบของนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศผลกระทบเชิงลบของนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผลกระทบเชิงลบของนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศKunnanatya Pare
 
The Design of Eco-Feedback Technology
The Design of Eco-Feedback TechnologyThe Design of Eco-Feedback Technology
The Design of Eco-Feedback TechnologyJon Froehlich
 
เรื่องผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่องผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศsarankorn
 

Viewers also liked (11)

03
0303
03
 
นวัตกรรม บทที่ 2 กลุ่มชุติกาญจน์
นวัตกรรม บทที่ 2 กลุ่มชุติกาญจน์นวัตกรรม บทที่ 2 กลุ่มชุติกาญจน์
นวัตกรรม บทที่ 2 กลุ่มชุติกาญจน์
 
การพัฒนานวัตกรรมในการวิจัย
การพัฒนานวัตกรรมในการวิจัยการพัฒนานวัตกรรมในการวิจัย
การพัฒนานวัตกรรมในการวิจัย
 
ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
เรื่อง ลักษณะสำคัญและผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่อง ลักษณะสำคัญและผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่อง ลักษณะสำคัญและผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่อง ลักษณะสำคัญและผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ผลกระทบทางจริยธรรม และประเด็นทางสังคมที่เกี่ยวข้องกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ผลกระทบทางจริยธรรม และประเด็นทางสังคมที่เกี่ยวข้องกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศผลกระทบทางจริยธรรม และประเด็นทางสังคมที่เกี่ยวข้องกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ผลกระทบทางจริยธรรม และประเด็นทางสังคมที่เกี่ยวข้องกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ผลกระทบจากเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผลกระทบจากเทคโนโลยีสารสนเทศผลกระทบจากเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผลกระทบจากเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
เทคโนโลยีสมัยใหม่
เทคโนโลยีสมัยใหม่เทคโนโลยีสมัยใหม่
เทคโนโลยีสมัยใหม่
 
ผลกระทบเชิงลบของนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผลกระทบเชิงลบของนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศผลกระทบเชิงลบของนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผลกระทบเชิงลบของนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
The Design of Eco-Feedback Technology
The Design of Eco-Feedback TechnologyThe Design of Eco-Feedback Technology
The Design of Eco-Feedback Technology
 
เรื่องผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่องผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
 

Similar to บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา

Chapter 7 by โจโจ้ซัง
Chapter 7 by โจโจ้ซังChapter 7 by โจโจ้ซัง
Chapter 7 by โจโจ้ซังTannoi Tesprasit
 
Chapter 7 กลุ่มหนูน้อยหมวกแดง
Chapter 7 กลุ่มหนูน้อยหมวกแดงChapter 7 กลุ่มหนูน้อยหมวกแดง
Chapter 7 กลุ่มหนูน้อยหมวกแดงFame Suraw
 
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษาบทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษาpohn
 
บทที่7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่7 นวัตกรรมทางการศึกษาบทที่7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่7 นวัตกรรมทางการศึกษาAomJi Math-ed
 
บทท 7 นว_ตกรรมทางการศ_กษา
บทท  7 นว_ตกรรมทางการศ_กษาบทท  7 นว_ตกรรมทางการศ_กษา
บทท 7 นว_ตกรรมทางการศ_กษาN'Fern White-Choc
 
งานที่ 7 นวัตกรรมการศึกษา
งานที่ 7 นวัตกรรมการศึกษางานที่ 7 นวัตกรรมการศึกษา
งานที่ 7 นวัตกรรมการศึกษาPui Chanisa Itkeat
 
บทที่ึ7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ึ7 นวัตกรรมทางการศึกษาบทที่ึ7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ึ7 นวัตกรรมทางการศึกษาNoom Theerayut
 

Similar to บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา (14)

Chap.7 (problem)
Chap.7 (problem)Chap.7 (problem)
Chap.7 (problem)
 
Chap.7 (problem)
Chap.7 (problem)Chap.7 (problem)
Chap.7 (problem)
 
Chap.7 (problem)
Chap.7 (problem)Chap.7 (problem)
Chap.7 (problem)
 
Chapter 7 by โจโจ้ซัง
Chapter 7 by โจโจ้ซังChapter 7 by โจโจ้ซัง
Chapter 7 by โจโจ้ซัง
 
Chapter 7 กลุ่มหนูน้อยหมวกแดง
Chapter 7 กลุ่มหนูน้อยหมวกแดงChapter 7 กลุ่มหนูน้อยหมวกแดง
Chapter 7 กลุ่มหนูน้อยหมวกแดง
 
Chapter 7
Chapter 7Chapter 7
Chapter 7
 
Chapter 7
Chapter 7Chapter 7
Chapter 7
 
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษาบทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
 
บทที่7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่7 นวัตกรรมทางการศึกษาบทที่7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่7 นวัตกรรมทางการศึกษา
 
บทท 7 นว_ตกรรมทางการศ_กษา
บทท  7 นว_ตกรรมทางการศ_กษาบทท  7 นว_ตกรรมทางการศ_กษา
บทท 7 นว_ตกรรมทางการศ_กษา
 
งานที่ 7 นวัตกรรมการศึกษา
งานที่ 7 นวัตกรรมการศึกษางานที่ 7 นวัตกรรมการศึกษา
งานที่ 7 นวัตกรรมการศึกษา
 
บทที่ึ7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ึ7 นวัตกรรมทางการศึกษาบทที่ึ7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ึ7 นวัตกรรมทางการศึกษา
 
Chapter7
Chapter7Chapter7
Chapter7
 
Chapter7
Chapter7Chapter7
Chapter7
 

More from Kanatip Sriwarom

บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้Kanatip Sriwarom
 
บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้ บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้ Kanatip Sriwarom
 
บทที่8 การผลิตกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
บทที่8 การผลิตกราฟิกเพื่อการเรียนการสอนบทที่8 การผลิตกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
บทที่8 การผลิตกราฟิกเพื่อการเรียนการสอนKanatip Sriwarom
 
powerpoint บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อกาารเรียนรู้
powerpoint บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อกาารเรียนรู้powerpoint บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อกาารเรียนรู้
powerpoint บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อกาารเรียนรู้Kanatip Sriwarom
 
บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้Kanatip Sriwarom
 
บทที่ 4 สื่อการเรียนรู้
บทที่ 4 สื่อการเรียนรู้บทที่ 4 สื่อการเรียนรู้
บทที่ 4 สื่อการเรียนรู้Kanatip Sriwarom
 
สรุปประเด็นประจำสัปดาห์ที่ 1
สรุปประเด็นประจำสัปดาห์ที่ 1สรุปประเด็นประจำสัปดาห์ที่ 1
สรุปประเด็นประจำสัปดาห์ที่ 1Kanatip Sriwarom
 
สรุปประเด็นจากการนำเสนองาน
สรุปประเด็นจากการนำเสนองานสรุปประเด็นจากการนำเสนองาน
สรุปประเด็นจากการนำเสนองานKanatip Sriwarom
 
บทที่2 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่2 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้บทที่2 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่2 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้Kanatip Sriwarom
 
Introduction to teachnologies and educational medie
Introduction to teachnologies and educational medieIntroduction to teachnologies and educational medie
Introduction to teachnologies and educational medieKanatip Sriwarom
 

More from Kanatip Sriwarom (11)

บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
 
บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้ บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
 
บทที่8 การผลิตกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
บทที่8 การผลิตกราฟิกเพื่อการเรียนการสอนบทที่8 การผลิตกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
บทที่8 การผลิตกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
 
powerpoint บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อกาารเรียนรู้
powerpoint บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อกาารเรียนรู้powerpoint บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อกาารเรียนรู้
powerpoint บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อกาารเรียนรู้
 
บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
 
บทที่ 4 สื่อการเรียนรู้
บทที่ 4 สื่อการเรียนรู้บทที่ 4 สื่อการเรียนรู้
บทที่ 4 สื่อการเรียนรู้
 
Chapter 3
Chapter 3 Chapter 3
Chapter 3
 
สรุปประเด็นประจำสัปดาห์ที่ 1
สรุปประเด็นประจำสัปดาห์ที่ 1สรุปประเด็นประจำสัปดาห์ที่ 1
สรุปประเด็นประจำสัปดาห์ที่ 1
 
สรุปประเด็นจากการนำเสนองาน
สรุปประเด็นจากการนำเสนองานสรุปประเด็นจากการนำเสนองาน
สรุปประเด็นจากการนำเสนองาน
 
บทที่2 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่2 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้บทที่2 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่2 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
 
Introduction to teachnologies and educational medie
Introduction to teachnologies and educational medieIntroduction to teachnologies and educational medie
Introduction to teachnologies and educational medie
 

บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา

  • 1.
  • 2. สถานการณ์ปัญหา กระทรวงศึกษาธิการต้องการให้ท่านเลือกและสร้างนวัตกรรมการเรียนรู้ ให้เหมาะสมกับบริบทของโรงเรียนทั้ง 3 แห่งคือ โรงเรียนเปรมสวัสดิ์ โรงเรียนมหาชัย โรงเรียนเทศบาลวัดธาตุ โรงเรียนเปรมสวัสดิ์ เป็นโรงเรียนที่อยู่ห่างไกลความเจริญ ไม่มีการเชื่อมโยง เครือข่ายอินเตอร์เน็ตแต่พอจะมีคอมพิวเตอร์ใช้บ้าง ซึ่งเป็นห้องคอมพิวเตอร์สาหรับ นักเรียน ความต้องการของโรงเรียนคืออยากจะได้สื่อที่มาแก้ปัญหาการเรียนการสอนที่ ช่วยกระตุ้นให้เด็กมีความสนใจในการเรียนมากขึ้น สื่อนี้สามารถทาให้เด็กเห็นสภาพ เสมือนจริง (Realistic) และเหมาะสมกับการศึกษารายบุคคล โดยผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์ กับสื่อโดยตรงอาจจะมี ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว เสียง หรือ วีดิทัศน์ ประกอบอยู่ในสื่อ นั้น เพื่อสร้างความตื่นเต้นน่าสนใจ และสามารถย้อนทบทวนส่วนที่ต้องการได้โดยไม่มี ข้อจากัด มีการประเมินเพื่อแก้ไขข้อบกพร่องของตนเองได้ อาจจะออกแบบมาใน ลักษณะของเกม หรือลักษณะที่กระตุ้นให้ผู้เรียนให้มีความกระตือรือร้นมากขึ้นทั้งนี้ก็ สอดแทรกเนื้อหาวิชาการเข้าไว้อย่างเหมาะสม
  • 3. สถานการณ์ปัญหา (ต่อ) โรงเรียนมหาชัย ต้องการนวัตกรรมที่สามารถแก้ไขข้อจากัดด้านสถานที่ และ เวลา โดยประยุกต์ใช้คุณสมบัติ เวิล์ด ไวด์ เว็บ ที่โรงเรียนมีอยู่ ในการจัดสภาพแวดล้อม และสนับสนุนการเรียนการสอน สิ่งแรกที่ต้องมีคือการลงทะเบียนเพื่อขอรหัสผ่านเข้าเรียน หลังจากนั้นผู้เรียนศึกษาเนื้อหาอาจเป็นการอ่านบนจอหรือโหลดเนื้อหาลงมาที่เครื่องของ ตน หรือสั่งพิมพ์ทางเครื่องพิมพ์เพื่อศึกษาภายหลังก็ได้ ผู้เรียนสามารถกาหนดการเรียนได้ ด้วยตนเอง (Self-directed) เปิดโอกาสให้เลือกเรียนได้ตามสะดวก สามารถ กาหนด กรอบเวลาในการเรียนรู้ได้เหมาะสมกับความสามารถในการเรียนรู้ของตนเอง คลอบคลุม ทั้งการเรียนแบบประสานเวลา (Synchronous Learning) และไม่ประสานเวลา (Asynchronous Learning) และสามารถถามคาถาม ทาแบบฝึกหัด ทารายงานกลุ่ม อภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็นแก่ผู้เรียนคนอื่น ๆ ได้ และยังสามารถเข้าถึงเนื้อหาได้ทุก ที่ ทุกเวลา ทุกสถานที่
  • 4. สถานการณ์ปัญหา (ต่อ) สถานการณ์ปัญหา (ต่อ) โรงเรียนเทศบาลวัดธาตุ ต้องการออกแบบนวัตกรรมการเรียนรู้ที่เน้นให้ ผู้เรียนสามารถสร้างความรู้ด้วยตนเอง โดยการเผชิญสถานการณ์ปัญหา มีแหล่ง เรียนรู้ให้ผู้เรียนได้สืบค้น เมื่อไม่สามารถแก้ปัญหาได้ก็มีฐานความช่วยเหลือ พร้อม ทั้งมีเครื่องมือที่สนับสนุนการร่วมมือกันแก้ปัญหา สามารถแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ระหว่างกันได้ตลอดเวลา นอกจากนี้นวัตกรรมที่พัฒนาขึ้นต้องสามารถนามาใช้ได้ใน หลายบริบทเนื่องจากผู้เรียนมีความแตกต่างกัน บางกลุ่มชอบที่จะเรียนบนเครือข่าย บางกลุ่มชอบที่จะเรียนแบบมัลติมีเดีย และบางกลุ่มชอบที่จะสามารถนาไปใช้เรียน ได้ทุกสถานที่ไม่ว่าจะเป็นใต้ร่มไม้ หรือสถานที่ที่ไม่มีคอมพิวเตอร์ก็สามารถใช้เรียนรู้ เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพได้ สถานที่ไม่ว่าจะเป็นใต้ร่มไม้ หรือสถานที่ที่ไม่มี คอมพิวเตอร์ก็สามารถใช้เรียนรู้เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพได้
  • 6. สิ่งที่ผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์ในกระบวนการเรียนรู้ เช่น ครู เทคโนโลยี พ่อแม่ ภูมิปัญญาท้องถิ่น ตลอดจนสื่อต่างๆ ที่นักเรียนใช้ในการสร้าง ความรู้
  • 7. ประเภทของ สิ่งแวดล้อม ทางการเรียนรู้ สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ บนเครือข่าย การใช้สื่อบนเครือข่ายในการสร้าง ความรู้หรือใช้ในการแลกเปลี่ยนมุมมอง แนวคิด มัลติมิเดีย การนาเสนอโดยใช้ข้อความ ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหวและเสียง ชุดสร้างความรู้ การใช้สื่อตั้งแต่2 ชนิดทางานร่วมกันใน การเรียนรู้ด้วยตนเองของผู้เรียน
  • 8. ภารกิจ 2. วิเคราะห์เลือกใช้นวัตกรรมการเรียนรู้ ให้สอดคล้องกับบริบทของโรงเรียนทั้ง 3 แห่งนี้
  • 9. โรงเรียนเปรมสวัสดิ์ นวัตกรรมที่ควรใช้คือ มัลติมีเดีย เพราะสามารถที่จะนาเสนอได้ ทั้งเสียง ข้อความ ภาพเคลื่อนไหว ดนตรี กราฟิก ภาพถ่ายวัสดุตีพิมพ์ ภาพยนตร์และวีดิทัศน์ สามารถนาเสนอความรู้ได้หลายสื่อและเสมือน จริงประกอบกับสามารถที่จะจาลองภาพของการเรียนการสอนที่ผู้เรียน สามารถเรียนรู้ได้ด้วยตนเองแบบเชิงรุก กระตุ้นให้ผู้เรียนมีความ กระตือรือร้นมากขึ้น
  • 10. โรงเรียนมหาชัย นวัตกรรมที่ควรใช้คือ E-Learning เป็นเทคโนโลยีที่ทาให้มีการเรียนดาเนินไป โดยไม่จากัดเวลาและสถานที่ หรือเป็นการเรียนที่ไม่พร้อมกัน โดยใช้เครื่องมือสาคัญ ที่ มีอยู่ในอินเทอร์เน็ตและเว็บ และ นวัตกรรม การเรียนรู้บนเครือข่าย เป็นบทเรียนที่นาเสนอผ่านเครือข่าย คอมพิวเตอร์ โดยอาศัยคุณลักษณะของสื่อที่สามารถนาเสนอบทเรียนแบบ ข้อความ หลายมิติ เชื่อมโยงเป็นเครือข่ายได้ทั่วโลกที่สามารถเรียนได้ทุกที่ทุกเวลา
  • 11. โรงเรียนเทศบาลวัดธาตุ นวัตกรรมที่ควรใช้ คือ สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ เพราะเป็นการเน้นการสร้างความรู้ด้วยตนเองโดยการลงมือกระทาหรือปฏิบัติที่ผ่าน กระบวนการคิด และอาศัยประสบการณ์เดิมหรือความรู้เดิมที่มีอยู่แล้วเชื่อมโยงกับ ประสบการณ์ใหม่หรือความรู้ใหม่ เพื่อขยายโครงสร้างทางปัญญา ซึ่งจะทาให้ผู้เรียน สามารถนาความรู้ที่เรียนมาไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวันได้ นอกจากนี้ ควรใช้นวัตกรรมการเรียนรู้บนเครือข่าย ควบคู่ไปด้วย เพราะเป็นเครือข่ายได้ทั่วโลกที่สามารถเรียนได้ทุกที่ทุกเวลา
  • 12. ภารกิจ 3. จากประเภทของนวัตกรรมการเรียนรู้ในบทที่ 7 ให้นักศึกษา เสนอนวัตกรรมการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับลักษณะวิชาเอกที่ นักศึกษาจะปฏิบัติหน้าที่สอน พร้อมทั้งอธิบายเหตุผล
  • 13. สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ ประเภทของนวัตกรรมที่สอดคล้องกับสาขาวิชาคณิตศาสตรศึกษา คือ “การเน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลางที่ให้ความสาคัญต่อการเรียนรู้ของผู้เรียน” โดยผ่านการปฏิบัติลงมือกระทาด้วยตนเอง การพัฒนาศักยภาพทางการคิด ตลอดจนการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง ซึ่งเป็นการเปิดโอกาสให้ผู้เรียน วางแผน ดาเนินการและการประเมินตนเอง และมีปฏิสัมพันธ์กับแหล่งการ เรียนรู้ต่างๆ ได้แก่ครูเทคโนโลยีพ่อแม่ ภูมิปัญญาท้องถิ่น และบุคคลอื่น
  • 14. หลักการที่สาคัญในการออกแบบสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ สถานการณ์ปัญหา (Problem based learning) เพียเจต์เชื่อว่าถ้าผู้เรียนถูกกระตุ้นด้วยปัญหา (Problem)ผู้เรียนต้องพยายามปรับโครงสร้างทางปัญญา ให้เข้าสู่ภาวะสมดุลหรือสามารถที่จะสร้างความรู้ใหม่ ขึ้นมาได้ แหล่งเรียนรู้(Resource) เป็นที่รวบรวมข้อมูล เนื้อหา สารสนเทศ ที่ผู้เรียนจะ ใช้ในการแก้สถานการณ์ปัญหาที่ผู้เรียนเผชิญ
  • 15. ฐานความช่วยเหลือ (Scaffolding) การโค้ช (Coaching) การร่วมมือกันแก้ปัญหา (Collaboration) ฐานความช่วยเหลือจะสนับสนุนผู้เรียนในการแก้ปัญหา หรือการ เรียนรู้ในกรณีที่ไม่สามารถปฏิบัติภารกิจให้สาเร็จด้วยตัวเองได้ โดยฐาน ความช่วยเหลืออาจเป็นคาแนะนาแนวทาง เปลี่ยนบทบาทของครูที่ทาหน้าที่ในการถ่ายทอดความรู้มาเป็น “ผู้ฝึกสอน” ที่ให้ความช่วยเหลือ การให้คาแนะนาสาหรับผู้เรียน เพื่อขยายมุมมองให้แก่ตนเอง การร่วมมือกันแก้ปัญหาจะสนับสนุน ให้ผู้เรียนเกิดการคิดไตร่ตรอง เป็นแหล่งที่เปิดโอกาสให้ทั้งผู้เรียน ผู้สอน ผู้เชี่ยวชาญ ได้สนทนาแสดงความคิดเห็นของตนเองกับผู้อื่น
  • 16. สมาชิกกลุ่ม นางสาวคณาทิพย์ ศรีวะรมย์ 563050076-9 นางสาวธมลวรรณ โคตรพันธ์ 563050098-9 นางสาวภาวินี โยวะศรี 563050302-6 นางสาวสัตตกมล ทองสมบัติ 563050396-1 นักศึกษาชั้นปีที่ 2 คณะศึกษาศาสตร์ สาขาคณิตศาสตรศึกษา