SlideShare a Scribd company logo
1 of 14
CHAPTER7: นวัตกรรมทางการศึกษา
สถานการณ์ปัญหา(Problem-based learning) 
กระทรวงศึกษาธิการต้องการให้ท่านเลือกและสร้างนวัตกรรมการเรียนรู้ ให้เหมาะสมกับบริบท 
ของโรงเรียนทั้ง 3 แห่งคือ โรงเรียนเปรมสวัสดิ์ โรงเรียนมหาชัย โรงเรียนเทศบาลวัดธาตุ
โรงเรียนเปรมสวัสดิ์ เป็นโรงเรียนที่อยู่ห่างไกลความเจริญ ไม่มีการเชื่อมโยงเครือข่ายอินเตอร์เน็ต แต่พอจะ 
มีคอมพิวเตอร์ใช้บ้าง ซึ่งเป็นห้องคอมพิวเตอร์สาหรับนักเรียน ความต้องการของโรงเรียนคืออยากจะได้สื่อ 
ที่มาแก้ปัญหาการเรียนการสอนที่ช่วยกระตุ้นให้เด็กมีความสนใจในการเรียนมากขึ้น สื่อนี้สามารถทาให้เด็ก 
เห็นสภาพเสมือนจริง ( Realistic) และเหมาะสมกับการศึกษารายบุคคล โดยผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์กับสื่อ 
โดยตรงอาจจะมี ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว เสียง หรือ วีดิทัศน์ ประกอบอยู่ในสื่อนั้น เพื่อสร้างความ 
ตื่นเต้นน่าสนใจ และสามารถย้อนทบทวนส่วนที่ต้องการได้โดยไม่มีข้อจากัดมีการประเมินเพื่อแก้ไข 
ข้อบกพร่องของตนเองได้ อาจจะออกแบบมาในลักษณะของเกม หรือลักษณะที่กระตุ้นให้ผู้เรียนให้มีความ 
กระตือรือร้นมากขึ้นทั้งนี้ก็สอดแทรกเนื้อหาวิชาการเข้าไว้อย่างเหมาะสม
โรงเรียนมหาชัย ต้องการนวัตกรรมที่สามารถแก้ไขข้อจากัดด้านสถานที่ และเวลา โดยประยุกต์ใช้ 
คุณสมบัติเวิล์ด ไวด์ เว็บ ที่โรงเรียนมีอยู่ ในการจัดสภาพแวดล้อมและสนับสนุนการเรียนการสอน 
สิ่งแรกที่ต้องมีคือการลงทะเบียนเพื่อขอรหัสผ่านเข้าเรียน หลังจากนั้นผู้เรียนศึกษาเนื้อหาอาจเป็นการ 
อ่านบนจอหรือโหลดเนื้อหาลงมาที่เครื่องของตนหรือสั่งพิมพ์ทางเครื่องพิมพ์เพื่อศึกษาภายหลังก็ได้ 
ผู้เรียนสามารถกาหนดการเรียนได้ด้วยตนเอง(Self-directed) เปิดโอกาสให้เลือกเรียนได้ตามสะดวก 
สามารถ กาหนดกรอบเวลาในการเรียนรู้ได้เหมาะสมกับความสามารถในการเรียนรู้ของตนเอง คลอบ 
คลุมทั้งการเรียนแบบประสานเวลา (Synchronous Learning) และไม่ประสานเวลา (Asynchronous 
Learning) และสามารถถามคาถาม ทาแบบฝึกหัด ทารายงานกลุ่ม อภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็น 
แก่ผู้เรียนคนอื่น ๆ ได้และยังสามารถเข้าถึงเนื้อหาได้ทุกที่ ทุกเวลา ทุกสถานที่
โรงเรียนเทศบาลวัดธาตุ ต้องการออกแบบนวัตกรรมการเรียนรู้ที่เน้นให้ผู้เรียนสามารถสร้างความรู้ 
ด้วยตนเอง โดยการเผชิญสถานการณ์ปัญหา มีแหล่งเรียนรู้ให้ผู้เรียนได้สืบค้น เมื่อไม่สามารถแก้ปัญหา 
ได้ก็มีฐานความช่วยเหลือ พร้อมทั้งมีเครื่องมือที่สนับสนุนการร่วมมือกันแก้ปัญหา สามารถแลกเปลี่ยน 
ความคิดเห็นระหว่างกันได้ตลอดเวลา นอกจากนี้นวัตกรรมที่พัฒนาขึ้นต้องสามารถนามาใช้ได้ในหลาย 
บริบทเนื่องจากผู้เรียนมีความแตกต่างกัน บางกลุ่มชอบที่จะเรียนบนเครือข่าย บางกลุ่มชอบที่จะเรียน 
แบบมัลติมีเดีย และบางกลุ่มชอบที่จะสามารถนาไปใช้เรียนได้ทุกสถานที่ไม่ว่าจะเป็นใต้ร่มไม้ หรือ 
สถานที่ที่ไม่มีคอมพิวเตอร์ก็สามารถใช้เรียนรู้เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพได้
ภารกิจการเรียนรู้ 
1. อธิบายความหมายและจาแนกประเภทของสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ 
2. วิเคราะห์เลือกใช้นวัตกรรมการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับบริบทของโรงเรียนทั้ง 3 แห่งนี้ 
3. จากประเภทของนวัตกรรมการเรียนรู้ในบทที่ 7 ให้นักศึกษาเสนอนวัตกรรมการเรียนรู้ 
ที่สอดคล้องกับลักษณะวิชาเอกที่นักศึกษาจะปฏิบัติหน้าที่สอน พร้อมทั้งอธิบายเหตุผล
1. อธิบายความหมายและจาแนกประเภทของสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้
สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ หมายถึง สภาวะใด ๆ ที่มีผลต่อการเรียนรู้ ของมนุษย์ทั้งทางตรง 
และทางอ้อม ทั้งที่เป็นรูปธรรม และนามธรรม -รูปธรรม หรือสภาพแวดล้อมทางกายภาพ 
ได้แก่ สภาพต่าง ๆ ที่ มนุษย์ทาขึ้น เช่น อาคาร สถานที่ โต๊ะ เก้าอี้ วัสดุ อุปกรณ์ หรือสื่อ 
ต่าง ๆ รวมทั้งสิ่งต่าง ๆ ที่อยู่ตาม ธรรมชาติ อันได้แก่ ต้นไม้พืช ภูมิ ประเทศ ภูมิอากาศ - 
นามธรรม หรือสภาพแวดล้อมทางด้านจิตวิทยา ได้แก่ ระบบคุณ ค่าที่ยึดถือซึ่งเป็นส่วนสาคัญ 
ของวัฒนธรรม ของกลุ่มสังคมข่าวสาร ความรู้ ความคิด ตลอดจนความรู้สึกนึกคิดและเจตคติ 
ต่าง ๆ ไม่ว่าจะ เป็นของ ตัวเองหรือคนอื่นก็ตาม 
ประเภทของสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ 
1) สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้บนเครือข่ายตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ 
2) มัลติมีเดียตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ 
3) ชุดสร้างความรู้
2. วิเคราะห์เลือกใช้นวัตกรรมการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับ 
บริบทของโรงเรียนทั้ง 3 แห่งนี้
โรงเรียนเปรมสวัสดิ์ สื่อที่ควรใช้ คือ มัลติมีเดีย เพราะมัลติมีเดีย คือ ระบบการสื่อสาร 
ประกอบด้วย ข้อความ กราฟิก(Graphic) ภาพเคลื่อนไหว (Animation) เสียง (Sound) และวิดีทัศน์ 
(Video) เป็นต้น การใช้มัลติมีเดียในลักษณะปฏิสัมพันธ์ก็ เพื่อช่วยให้ผู้ใช้สามารถเรียนรู้หรือทา 
กิจกรรม รวมถึงดูสื่อต่าง ๆ ด้วยตนเอง สื่อ ต่าง ๆ ที่นามารวมไว้ในมัลติมีเดีย เช่น ภาพ เสียง 
วิดีทัศน์ จะช่วยให้เกิดความ หลากหลาย น่าสนใจ และเร้าความสนใจ เพิ่มความสนุกสนานในการ 
เรียนรู้มาก ยิ่งขึ้น 
โรงเรียนเทศบาลวัดธาตุ สื่อที่ควรใช้ คือ สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ เพราะ 
เน้นการสร้าง ความรู้ด้วยตนเอง ด้วยการลงมือกระทาที่ผ่านกระบวนการคิด และอาศัยประสบการณ์ 
เดิม เชื่อมโยงกับประสบการณ์ใหม่ เพื่อขยายโครงสร้างทางปัญญา มีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม ที่เอื้อ 
ต่อการเรียนรู้ 
โรงเรียนมหาชัย สื่อที่ควรใช้คือ E-learning เพราะเป็นนวัตกรรมที่ใช้เทคโนโลยีที่ก้าวหน้า เช่น 
อินเตอร์เน็ต ดาวเทียม การเรียนทางไกล การเรียนผ่าน
3. จากประเภทของนวัตกรรมการเรียนรู้ในบทที่ 7 
ให้นักศึกษาเสนอนวัตกรรมการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับลักษณะวิชาเอกที่ 
นักศึกษาจะปฏิบัติหน้าที่สอน พร้อมทั้งอธิบายเหตุผล
นาสถานการณ์ปัญหา (Problem based learning) มาใช้ในการเรียนการสอน โดยขั้นแรกนาเสนอ 
ปัญหาให้ผู้เรียนได้คิดวิเคราะห์ปัญหา ต่อมาให้ผู้เรียนคิดหาวิธีการ แก้ไขปัญหา โดยครูเป็นผู้ให้ 
คาแนะนา จากนั้นให้ผู้เรียนนาเสนอแนวคิดในการแก้ปัญหาหน้าชั้น เรียน ในลาดับสุดท้ายครูเป็นผู้ 
สรุปเนื้อหาทั้งหมดในการเรียนการสอน จากทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ของเพียเจต์เชื่อว่าถ้าผู้เรียนถูก 
กระตุ้นด้วยปัญหา (Problem) ที่ก่อให้เกิดความขัดแย้งทางปัญญา (Cognitive conflict) หรือ 
เรียกว่าเกิดการเสียสมดุลทางปัญญา ผู้เรียนต้องพยายามปรับ โครงสร้างทางปัญญาให้เข้าสู่ภาวะ 
สมดุล(Equilibrium)โดยการดูดซึม(Assimilation) หรือการปรับเปลี่ยนโครงสร้างทางปัญญา 
(Accommodation) จนกระทั่งผู้เรียน สามารถปรับโครงสร้างทางปัญญา เข้าสู่สภาพสมดุลหรือ 
สามารถที่จะสร้างความรู้ใหม่ ขึ้นมาได้ หรือเกิดการเรียนรู้นั่นเอง
เช่น ใช้สื่อมัลติมีเดียและสื่ออุปกรณ์ในการเรียนการสอน โปรแกรม GSP จะช่วยให้การเรียน 
สาระเรขาคณิตเข้าใจและเห็นภาพได้มาก ขึ้น และ pattern จะช่วยให้ผู้เรียนสามารถสร้างความรู้ 
เรื่องรูปสามเหลี่ยม สี่เหลี่ยม หกเหลี่ยม ในแต่ละชนิด ได้ด้วยตัวเอง 
ยึดหลักจิตวิทยาการเรียนรู้มาจัดสภาพการเรียนการสอน เพื่อให้เกิดการเรียนรู้ อย่างมี 
ประสิทธิภาพ โดยจัดสภาพการณ์ให้ผู้เรียนได้ประกอบกิจกรรมด้วยตนเอง และมีผลย้อนกลับ 
ทันทีว่าตอบถูกหรือตอบผิด มีการเสริมแรงทาให้ผู้เรียนเกิดความ ภาคภูมิในและต้องการที่จะ 
เรียนต่อไป ได้เรียนรู้ ทีละน้อยๆ ตามลาดับขั้น ตามความสามารถและความสนใจของแต่ละคน
CHAPTER 7 
นวัตกรรมทางการศึกษา 
จัดทาโดย 
นายพุฒิพงศ์ วันภูงา 563050119-7 
นายอดิศักดิ์ บือทอง 563050405-6 
นักศึกษาระดับปริญญาตรีชั้นปีที่ 2 
คณะศึกษาศาสตร์ สาขาคณิตศาสตรศึกษา 
มหาวิทยาลัยขอนแก่น

More Related Content

What's hot

Chapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
Chapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษาChapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
Chapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษาWuth Chokcharoen
 
งานนำเสนอ Chapter 7
งานนำเสนอ Chapter 7งานนำเสนอ Chapter 7
งานนำเสนอ Chapter 7Markker Promma
 
CHAPTER 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
CHAPTER 7 นวัตกรรมทางการศึกษาCHAPTER 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
CHAPTER 7 นวัตกรรมทางการศึกษาAa-bb Sangwut
 
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษาบทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษาB'nust Thaporn
 
บทท 7 นว_ตกรรมทางการศ_กษา
บทท  7 นว_ตกรรมทางการศ_กษาบทท  7 นว_ตกรรมทางการศ_กษา
บทท 7 นว_ตกรรมทางการศ_กษาsinarack
 
นวัตกรรมบทที่ 7
นวัตกรรมบทที่ 7นวัตกรรมบทที่ 7
นวัตกรรมบทที่ 7Setthawut Ruangbun
 

What's hot (14)

Inno present chapt7
Inno present chapt7Inno present chapt7
Inno present chapt7
 
Chapter7
Chapter7Chapter7
Chapter7
 
Chapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
Chapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษาChapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
Chapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
 
Chapter 7
Chapter 7Chapter 7
Chapter 7
 
งานนำเสนอ Chapter 7
งานนำเสนอ Chapter 7งานนำเสนอ Chapter 7
งานนำเสนอ Chapter 7
 
CHAPTER 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
CHAPTER 7 นวัตกรรมทางการศึกษาCHAPTER 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
CHAPTER 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
 
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษาบทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
 
บทท 7 นว_ตกรรมทางการศ_กษา
บทท  7 นว_ตกรรมทางการศ_กษาบทท  7 นว_ตกรรมทางการศ_กษา
บทท 7 นว_ตกรรมทางการศ_กษา
 
Innovation chapter 7 p
Innovation chapter 7 pInnovation chapter 7 p
Innovation chapter 7 p
 
นวัตกรรมบทที่ 7
นวัตกรรมบทที่ 7นวัตกรรมบทที่ 7
นวัตกรรมบทที่ 7
 
Chap.7 (problem)
Chap.7 (problem)Chap.7 (problem)
Chap.7 (problem)
 
Chapter7
Chapter7Chapter7
Chapter7
 
Chapter 7
Chapter 7Chapter 7
Chapter 7
 
Chapter 7
Chapter 7Chapter 7
Chapter 7
 

Similar to Charpter7miii

บทที่7 นวัตกรรมการศึกษา
บทที่7 นวัตกรรมการศึกษาบทที่7 นวัตกรรมการศึกษา
บทที่7 นวัตกรรมการศึกษาSattakamon
 
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษาบทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษาKanatip Sriwarom
 
บทที่ึ7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ึ7 นวัตกรรมทางการศึกษาบทที่ึ7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ึ7 นวัตกรรมทางการศึกษาNoom Theerayut
 
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษาบทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษาpohn
 
บทที่7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่7 นวัตกรรมทางการศึกษาบทที่7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่7 นวัตกรรมทางการศึกษาAomJi Math-ed
 
บทท 7 นว_ตกรรมทางการศ_กษา
บทท  7 นว_ตกรรมทางการศ_กษาบทท  7 นว_ตกรรมทางการศ_กษา
บทท 7 นว_ตกรรมทางการศ_กษาN'Fern White-Choc
 
Chapter 7 by โจโจ้ซัง
Chapter 7 by โจโจ้ซังChapter 7 by โจโจ้ซัง
Chapter 7 by โจโจ้ซังTannoi Tesprasit
 
งานกลุ่ม Chapter 7
งานกลุ่ม Chapter 7งานกลุ่ม Chapter 7
งานกลุ่ม Chapter 7Pronsawan Petklub
 
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษาบทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษาSasitorn Seajew
 
นวัตกรรมบทที่ 7
นวัตกรรมบทที่ 7นวัตกรรมบทที่ 7
นวัตกรรมบทที่ 7Setthawut Ruangbun
 

Similar to Charpter7miii (17)

บทที่7 นวัตกรรมการศึกษา
บทที่7 นวัตกรรมการศึกษาบทที่7 นวัตกรรมการศึกษา
บทที่7 นวัตกรรมการศึกษา
 
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษาบทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
 
บทท 7
บทท  7บทท  7
บทท 7
 
บทที่ึ7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ึ7 นวัตกรรมทางการศึกษาบทที่ึ7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ึ7 นวัตกรรมทางการศึกษา
 
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษาบทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
 
บทที่7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่7 นวัตกรรมทางการศึกษาบทที่7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่7 นวัตกรรมทางการศึกษา
 
บทท 7 นว_ตกรรมทางการศ_กษา
บทท  7 นว_ตกรรมทางการศ_กษาบทท  7 นว_ตกรรมทางการศ_กษา
บทท 7 นว_ตกรรมทางการศ_กษา
 
Chap.7 (problem)
Chap.7 (problem)Chap.7 (problem)
Chap.7 (problem)
 
Chap.7 (problem)
Chap.7 (problem)Chap.7 (problem)
Chap.7 (problem)
 
Chap.7 (problem)
Chap.7 (problem)Chap.7 (problem)
Chap.7 (problem)
 
Chapter 7 by โจโจ้ซัง
Chapter 7 by โจโจ้ซังChapter 7 by โจโจ้ซัง
Chapter 7 by โจโจ้ซัง
 
งานกลุ่ม Chapter 7
งานกลุ่ม Chapter 7งานกลุ่ม Chapter 7
งานกลุ่ม Chapter 7
 
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษาบทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
 
นวัตกรรมบทที่ 7
นวัตกรรมบทที่ 7นวัตกรรมบทที่ 7
นวัตกรรมบทที่ 7
 
Chapter 7
Chapter 7Chapter 7
Chapter 7
 
Chapter 7
Chapter 7Chapter 7
Chapter 7
 
ภาระกิจ บทที่ 7
ภาระกิจ บทที่ 7ภาระกิจ บทที่ 7
ภาระกิจ บทที่ 7
 

Charpter7miii

  • 2. สถานการณ์ปัญหา(Problem-based learning) กระทรวงศึกษาธิการต้องการให้ท่านเลือกและสร้างนวัตกรรมการเรียนรู้ ให้เหมาะสมกับบริบท ของโรงเรียนทั้ง 3 แห่งคือ โรงเรียนเปรมสวัสดิ์ โรงเรียนมหาชัย โรงเรียนเทศบาลวัดธาตุ
  • 3. โรงเรียนเปรมสวัสดิ์ เป็นโรงเรียนที่อยู่ห่างไกลความเจริญ ไม่มีการเชื่อมโยงเครือข่ายอินเตอร์เน็ต แต่พอจะ มีคอมพิวเตอร์ใช้บ้าง ซึ่งเป็นห้องคอมพิวเตอร์สาหรับนักเรียน ความต้องการของโรงเรียนคืออยากจะได้สื่อ ที่มาแก้ปัญหาการเรียนการสอนที่ช่วยกระตุ้นให้เด็กมีความสนใจในการเรียนมากขึ้น สื่อนี้สามารถทาให้เด็ก เห็นสภาพเสมือนจริง ( Realistic) และเหมาะสมกับการศึกษารายบุคคล โดยผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์กับสื่อ โดยตรงอาจจะมี ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว เสียง หรือ วีดิทัศน์ ประกอบอยู่ในสื่อนั้น เพื่อสร้างความ ตื่นเต้นน่าสนใจ และสามารถย้อนทบทวนส่วนที่ต้องการได้โดยไม่มีข้อจากัดมีการประเมินเพื่อแก้ไข ข้อบกพร่องของตนเองได้ อาจจะออกแบบมาในลักษณะของเกม หรือลักษณะที่กระตุ้นให้ผู้เรียนให้มีความ กระตือรือร้นมากขึ้นทั้งนี้ก็สอดแทรกเนื้อหาวิชาการเข้าไว้อย่างเหมาะสม
  • 4. โรงเรียนมหาชัย ต้องการนวัตกรรมที่สามารถแก้ไขข้อจากัดด้านสถานที่ และเวลา โดยประยุกต์ใช้ คุณสมบัติเวิล์ด ไวด์ เว็บ ที่โรงเรียนมีอยู่ ในการจัดสภาพแวดล้อมและสนับสนุนการเรียนการสอน สิ่งแรกที่ต้องมีคือการลงทะเบียนเพื่อขอรหัสผ่านเข้าเรียน หลังจากนั้นผู้เรียนศึกษาเนื้อหาอาจเป็นการ อ่านบนจอหรือโหลดเนื้อหาลงมาที่เครื่องของตนหรือสั่งพิมพ์ทางเครื่องพิมพ์เพื่อศึกษาภายหลังก็ได้ ผู้เรียนสามารถกาหนดการเรียนได้ด้วยตนเอง(Self-directed) เปิดโอกาสให้เลือกเรียนได้ตามสะดวก สามารถ กาหนดกรอบเวลาในการเรียนรู้ได้เหมาะสมกับความสามารถในการเรียนรู้ของตนเอง คลอบ คลุมทั้งการเรียนแบบประสานเวลา (Synchronous Learning) และไม่ประสานเวลา (Asynchronous Learning) และสามารถถามคาถาม ทาแบบฝึกหัด ทารายงานกลุ่ม อภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็น แก่ผู้เรียนคนอื่น ๆ ได้และยังสามารถเข้าถึงเนื้อหาได้ทุกที่ ทุกเวลา ทุกสถานที่
  • 5. โรงเรียนเทศบาลวัดธาตุ ต้องการออกแบบนวัตกรรมการเรียนรู้ที่เน้นให้ผู้เรียนสามารถสร้างความรู้ ด้วยตนเอง โดยการเผชิญสถานการณ์ปัญหา มีแหล่งเรียนรู้ให้ผู้เรียนได้สืบค้น เมื่อไม่สามารถแก้ปัญหา ได้ก็มีฐานความช่วยเหลือ พร้อมทั้งมีเครื่องมือที่สนับสนุนการร่วมมือกันแก้ปัญหา สามารถแลกเปลี่ยน ความคิดเห็นระหว่างกันได้ตลอดเวลา นอกจากนี้นวัตกรรมที่พัฒนาขึ้นต้องสามารถนามาใช้ได้ในหลาย บริบทเนื่องจากผู้เรียนมีความแตกต่างกัน บางกลุ่มชอบที่จะเรียนบนเครือข่าย บางกลุ่มชอบที่จะเรียน แบบมัลติมีเดีย และบางกลุ่มชอบที่จะสามารถนาไปใช้เรียนได้ทุกสถานที่ไม่ว่าจะเป็นใต้ร่มไม้ หรือ สถานที่ที่ไม่มีคอมพิวเตอร์ก็สามารถใช้เรียนรู้เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพได้
  • 6. ภารกิจการเรียนรู้ 1. อธิบายความหมายและจาแนกประเภทของสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ 2. วิเคราะห์เลือกใช้นวัตกรรมการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับบริบทของโรงเรียนทั้ง 3 แห่งนี้ 3. จากประเภทของนวัตกรรมการเรียนรู้ในบทที่ 7 ให้นักศึกษาเสนอนวัตกรรมการเรียนรู้ ที่สอดคล้องกับลักษณะวิชาเอกที่นักศึกษาจะปฏิบัติหน้าที่สอน พร้อมทั้งอธิบายเหตุผล
  • 8. สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ หมายถึง สภาวะใด ๆ ที่มีผลต่อการเรียนรู้ ของมนุษย์ทั้งทางตรง และทางอ้อม ทั้งที่เป็นรูปธรรม และนามธรรม -รูปธรรม หรือสภาพแวดล้อมทางกายภาพ ได้แก่ สภาพต่าง ๆ ที่ มนุษย์ทาขึ้น เช่น อาคาร สถานที่ โต๊ะ เก้าอี้ วัสดุ อุปกรณ์ หรือสื่อ ต่าง ๆ รวมทั้งสิ่งต่าง ๆ ที่อยู่ตาม ธรรมชาติ อันได้แก่ ต้นไม้พืช ภูมิ ประเทศ ภูมิอากาศ - นามธรรม หรือสภาพแวดล้อมทางด้านจิตวิทยา ได้แก่ ระบบคุณ ค่าที่ยึดถือซึ่งเป็นส่วนสาคัญ ของวัฒนธรรม ของกลุ่มสังคมข่าวสาร ความรู้ ความคิด ตลอดจนความรู้สึกนึกคิดและเจตคติ ต่าง ๆ ไม่ว่าจะ เป็นของ ตัวเองหรือคนอื่นก็ตาม ประเภทของสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ 1) สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้บนเครือข่ายตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ 2) มัลติมีเดียตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ 3) ชุดสร้างความรู้
  • 10. โรงเรียนเปรมสวัสดิ์ สื่อที่ควรใช้ คือ มัลติมีเดีย เพราะมัลติมีเดีย คือ ระบบการสื่อสาร ประกอบด้วย ข้อความ กราฟิก(Graphic) ภาพเคลื่อนไหว (Animation) เสียง (Sound) และวิดีทัศน์ (Video) เป็นต้น การใช้มัลติมีเดียในลักษณะปฏิสัมพันธ์ก็ เพื่อช่วยให้ผู้ใช้สามารถเรียนรู้หรือทา กิจกรรม รวมถึงดูสื่อต่าง ๆ ด้วยตนเอง สื่อ ต่าง ๆ ที่นามารวมไว้ในมัลติมีเดีย เช่น ภาพ เสียง วิดีทัศน์ จะช่วยให้เกิดความ หลากหลาย น่าสนใจ และเร้าความสนใจ เพิ่มความสนุกสนานในการ เรียนรู้มาก ยิ่งขึ้น โรงเรียนเทศบาลวัดธาตุ สื่อที่ควรใช้ คือ สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ เพราะ เน้นการสร้าง ความรู้ด้วยตนเอง ด้วยการลงมือกระทาที่ผ่านกระบวนการคิด และอาศัยประสบการณ์ เดิม เชื่อมโยงกับประสบการณ์ใหม่ เพื่อขยายโครงสร้างทางปัญญา มีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม ที่เอื้อ ต่อการเรียนรู้ โรงเรียนมหาชัย สื่อที่ควรใช้คือ E-learning เพราะเป็นนวัตกรรมที่ใช้เทคโนโลยีที่ก้าวหน้า เช่น อินเตอร์เน็ต ดาวเทียม การเรียนทางไกล การเรียนผ่าน
  • 11. 3. จากประเภทของนวัตกรรมการเรียนรู้ในบทที่ 7 ให้นักศึกษาเสนอนวัตกรรมการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับลักษณะวิชาเอกที่ นักศึกษาจะปฏิบัติหน้าที่สอน พร้อมทั้งอธิบายเหตุผล
  • 12. นาสถานการณ์ปัญหา (Problem based learning) มาใช้ในการเรียนการสอน โดยขั้นแรกนาเสนอ ปัญหาให้ผู้เรียนได้คิดวิเคราะห์ปัญหา ต่อมาให้ผู้เรียนคิดหาวิธีการ แก้ไขปัญหา โดยครูเป็นผู้ให้ คาแนะนา จากนั้นให้ผู้เรียนนาเสนอแนวคิดในการแก้ปัญหาหน้าชั้น เรียน ในลาดับสุดท้ายครูเป็นผู้ สรุปเนื้อหาทั้งหมดในการเรียนการสอน จากทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ของเพียเจต์เชื่อว่าถ้าผู้เรียนถูก กระตุ้นด้วยปัญหา (Problem) ที่ก่อให้เกิดความขัดแย้งทางปัญญา (Cognitive conflict) หรือ เรียกว่าเกิดการเสียสมดุลทางปัญญา ผู้เรียนต้องพยายามปรับ โครงสร้างทางปัญญาให้เข้าสู่ภาวะ สมดุล(Equilibrium)โดยการดูดซึม(Assimilation) หรือการปรับเปลี่ยนโครงสร้างทางปัญญา (Accommodation) จนกระทั่งผู้เรียน สามารถปรับโครงสร้างทางปัญญา เข้าสู่สภาพสมดุลหรือ สามารถที่จะสร้างความรู้ใหม่ ขึ้นมาได้ หรือเกิดการเรียนรู้นั่นเอง
  • 13. เช่น ใช้สื่อมัลติมีเดียและสื่ออุปกรณ์ในการเรียนการสอน โปรแกรม GSP จะช่วยให้การเรียน สาระเรขาคณิตเข้าใจและเห็นภาพได้มาก ขึ้น และ pattern จะช่วยให้ผู้เรียนสามารถสร้างความรู้ เรื่องรูปสามเหลี่ยม สี่เหลี่ยม หกเหลี่ยม ในแต่ละชนิด ได้ด้วยตัวเอง ยึดหลักจิตวิทยาการเรียนรู้มาจัดสภาพการเรียนการสอน เพื่อให้เกิดการเรียนรู้ อย่างมี ประสิทธิภาพ โดยจัดสภาพการณ์ให้ผู้เรียนได้ประกอบกิจกรรมด้วยตนเอง และมีผลย้อนกลับ ทันทีว่าตอบถูกหรือตอบผิด มีการเสริมแรงทาให้ผู้เรียนเกิดความ ภาคภูมิในและต้องการที่จะ เรียนต่อไป ได้เรียนรู้ ทีละน้อยๆ ตามลาดับขั้น ตามความสามารถและความสนใจของแต่ละคน
  • 14. CHAPTER 7 นวัตกรรมทางการศึกษา จัดทาโดย นายพุฒิพงศ์ วันภูงา 563050119-7 นายอดิศักดิ์ บือทอง 563050405-6 นักศึกษาระดับปริญญาตรีชั้นปีที่ 2 คณะศึกษาศาสตร์ สาขาคณิตศาสตรศึกษา มหาวิทยาลัยขอนแก่น