SlideShare a Scribd company logo
1 of 7
Download to read offline
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5
ปีการศึกษา 2562
ชื่อโครงงาน กระตุ้นสมอง
ชื่อผู้ทาโครงงาน
ชื่อ นาย ภูมิรวี อิสิ เลขที่ 37 ชั้น ม.6 ห้อง 4
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2562
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิกในกลุ่ม
1.นายภูมิรวี อิสิ เลขที่37
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
กระตุ้นสมอง
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
motivate brain
ประเภทโครงงาน โครงงานประเภทสารวจ
ชื่อผู้ทาโครงงาน นาย ภูมิรวี อิสิ
ชื่อที่ปรึกษา เขื่อนทอง มูลวรรณ์
ชื่อที่ปรึกษาร่วม -
ระยะเวลาดาเนินงาน 17สัปดาห์
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน)
เนื่องจาก ใน ปัจจุบันมีเรื่องมือที่ช่วยในเรื่องของการให้ความสะดวกสบายต่างๆมากมายซึ่งนั้นก็
เป็นข้อดีอย่างมากหากเราใช้เครื่องมือนั้นอย่างรอบคอบและคุ้มค่า แต่บางครั้งที่เราก็กลับให้เครื่องมือ
ใช้เรา โลกทุกวันนี้คงไม่มีใครไม่มีโทรสัพท์ติดตัวและก็คงปฎิเสธไม่ได้แล้วว่าหากขาดมันไปชีวิตก็คงไม่สะดวก แต่คน
ส่วนใหญ่ไม่ได้รู้เลยว่าของที่กดเล่นอยู่นั้นมีข้อเสียต่อสมองของเราอย่างมากซึ่งในทุกวันนี้มือถือนั้นได้มีบทบาทมากขึ้น
ในชีวิตประจาวันมากขึ้นเทคโนโลยีนั้นเข้ามาเป็นส่วนหนึ่ง และแทบจะทุกคนในสังคมนั้นต่างก็มีมือถืออยู่กับตัวตั้งแต่
วัยเด็กจนถึงวัยผู้ใหญ่ ซึ่งการที่เรามีเทคโนโลยีนั้นก็สร้างข้อเสียอย่างมากเช่นการที่ทุกคนต่างมีความสัมพันที่น้อยลง
อีกทั้งยังเรื่องของผลกระทบของสมองจากการเล่นโทรศัพท์ ทางผู้จัดทาได้ตระหนักถึงปัญหาในข้อนี้จึงทาโครงงานก
นะตุ้นสมอง ทางผู้จัดทาเลยได้ตระหนักถึงปัญหาในข้อนี้จึงทาโครงงาน กระตุ้นสมอง
วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ)
1.เพื่อให้ผู้คนตระหนักถึงการใชมือถือ
2.เพื่อให้ทราบถึงวิธีกระตุ้นสมอง
ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน)
โรงเรียน ยุพราชวิทยาลัย
3
หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน)
ผลวิจัยของ Dr.Om Ghandhi ถึงผลกระทบจากคลื่นโทรศัพท์ ซึ่งมีผลต่อสมองของเด็กไปทั่วเฟซบุ๊ก และเว็บ
เพจต่างๆ ในขณะนี้นั้น ทาง Mthai ได้ตรวจเช็คเพิ่มเติม ว่าผลงานวิจัยของ Dr.Om Ghandhi ปี 1996 มีอยู่จริง
หรือไม่ ก็พบว่า มีตัวตนและผลงานดังกล่าวอยู่จริง โดยได้กล่าวว่า คลื่นโทรศัพท์มือถือ ทะลุทะลวงสู่ชั้นสมองของเด็ก
มากกว่าผู้ใหญ่
เนื่องจากกระโหลกศีรษะบางกว่า (ที่คนเฒ่าคนแก่ เรียกว่า กระหม่อมบาง) การทะลุทะลวงดังกล่าวสู่ชั้น
สมอง ทาให้เกิดอาการ ปวดร้าวศีรษะได้ และเป็นไปได้ว่าทาให้เกิดการดัดแปลงระดับชั้นพันธุกรรม DNA และชั้น
เซลส์ ซึ่งเป็นสาเหตุหนึ่งของมะเร็งได้
คลื่นโทรศัพท์กับความเสี่ยงเนื้องอกหรือมะเร็งในสมองหลายคนอาจเคยได้ยินกันมาบ้างว่าคลื่นรังสีบางชนิด
เป็นปัจจัยเสี่ยงที่ทาให้เกิดโรคมะเร็งได้ ซึ่งโทรศัพท์มือถือที่เราใช้กันนั้นก็เป็นอุปกรณ์หนึ่งที่จะปล่อยคลื่นวิทยุออกมา
ทางอากาศ และอาจส่งผลให้เนื้อเยื่อบริเวณใกล้เคียงดูดซับพลังงานจากคลื่นวิทยุเข้าไป
อย่างไรก็ตาม คลื่นวิทยุจากโทรศัพท์มือถือจัดเป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่ไม่ได้มีพลังงานสูงพอจะทาลายดีเอ็นเอในเซลล์
ได้โดยตรงจนทาให้เกิดมะเร็งได้ และไม่ได้มีความแรงมากพอจนก่อให้เกิดความร้อนถึงขั้นส่งผลต่ออุณหภูมิภายใน
ร่างกาย ซึ่งต่างจากรังสีเอกซเรย์ รังสีแกมมา และรังสีอัลตราไวโอเลตที่มีพลังงานสูงจนสามารถทาลายพันธะในดีเอ็น
เอได้ และอาจนาไปสู่การเกิดเซลล์มะเร็งในที่สุด
ผลการค้นคว้าเกี่ยวกับอิทธิพลของคลื่นโทรศัพท์มือถือมีงานวิจัยหลายชิ้นพยายามหาคาตอบว่า การใช้โทรศัพท์มือถือ
มีความเชื่อมโยงกับการเกิดเนื้องอกในสมองหรือไม่ ซึ่งก็พบผลลัพธ์ที่แตกต่างหลากหลาย โดย ณ ปัจจุบันมีข้อสรุป
โดยรวม ดังนี้งานวิจัยส่วนใหญ่ไม่พบว่ามีอัตราการใช้โทรศัพท์มือถือของผู้ป่วยโรคเนื้องอกในสมองมากกว่าผู้ที่ไม่ได้
เป็นโรคนี้แต่อย่างใด และการใช้โทรศัพท์มือถือไม่ได้ส่งผลให้มีแนวโน้มเกิดเนื้องอกสมองมากขึ้นจากการศึกษาส่วน
ใหญ่พบว่า ศีรษะข้างที่ได้รับรังสีวิทยุจากโทรศัพท์มือถือบ่อยครั้งกว่าไม่ได้มีอัตราการเกิดเนื้องอกในสมองมากกว่าแต่
อย่างใดแม้มีงานวิจัยชิ้นหนึ่งกล่าวว่า การใช้โทรศัพท์มือถืออาจเกี่ยวข้องกับการเกิดเนื้องอกในสมอง โดยศึกษาในชาว
สวีเดนแล้วพบว่า ผู้เข้าร่วมทดลองมีความเสี่ยงเกิดเนื้องอกในศีรษะข้างที่ใช้คุยโทรศัพท์บ่อยครั้งสูงกว่าอีกข้างหนึ่ง
โดยเฉพาะในผู้ที่ใช้โทรศัพท์ในระยะยาวประมาณ 10 ปีขึ้นไป อย่างไรก็ตาม มีข้อสังเกตที่ว่าในช่วงปีที่ทดลองนั้น
อัตราของผู้ที่เป็นเนื้องอกในสมองของประเทศสวีเดนไม่ได้เพิ่มขึ้นแต่อย่างใด ทั้งยังมีผลลัพธ์ขัดแย้งกับงานวิจัยส่วน
ใหญ่ จึงทาให้งานวิจัยชิ้นนี้มีน้าหนักและความน่าเชื่อถือค่อนข้างน้อยเนื่องจากงานวิจัยที่พบว่าการได้รับคลื่นวิทยุจาก
โทรศัพท์มือถือเพิ่มความเสี่ยงต่อการเกิดเนื้องอกหรือกระทั่งเนื้อร้ายอย่างมะเร็งนั้นยังมีจานวนน้อยมากและมีผลลัพธ์
ที่ไม่สม่าเสมอ จึงไม่อาจกล่าวยืนยันได้ว่าการใช้โทรศัพท์มือถือจะก่อให้เกิดผลกระทบดังกล่าวได้จริง ส่วนผลกระทบ
ด้านอื่น ๆ นั้น มีข้อกังวลว่าคลื่นโทรศัพท์มือถืออาจรบกวนการใช้อุปกรณ์หรือเครื่องมือทางการแพทย์บางชนิดได้ เช่น
เครื่องกระตุ้นไฟฟ้าหัวใจ เป็นต้นใช้การส่งข้อความแทนการโทรศัพท์คุย แต่ควรคานึงถึงความปลอดภัยด้วย ไม่ควรส่ง
ข้อความหรือคุยโทรศัพท์ขณะเดินบนถนน ขับรถ หรือในสถานการณ์ใด ๆ ที่มีความเสี่ยง เพราะแม้แต่แค่คุยโทรศัพท์
ก็อาจทาให้มีสมาธิจดจ่อกับสถานกาณ์ตรงหน้าได้น้อยลงอาจเลือกใช้โทรศัพท์มือถือที่มีอัตราการดูดซับรังสีคลื่นวิทยุ
เข้าสู่ร่างกายของผู้ใช้งานต่า หรือที่เรียกว่าค่า SAR (Specific Absorption Rate) ซึ่งจะส่งผลให้มีปริมาณรังสีที่ถูกดูด
ซับเข้าสู่ร่างกายน้อยกว่าโทรศัพท์มือถือที่มีค่า SAR สูงกว่า โดยสามารถตรวจสอบได้จากเว็บไซต์ผู้ผลิตหรือคู่มือการ
ใช้โทรศัพท์ ทั้งนี้ ค่า SAR ที่ระบุนั้นเป็นค่าสูงสุด แต่ขณะใช้งานจริง ค่าดังกล่าวอาจมีระดับสูงต่าผันแปรตามปัจจัย
หลาย ๆ อย่างได้สมองก็ไม่ต่างอะไรกับอวัยวะส่วนอื่น ๆ ในร่างกาย ถ้าไม่ได้ใช้บ่อย ๆ ก็อาจมีเสื่อมประสิทธิภาพได้
ง่าย ๆ เหมือนกัน โดยเฉพาะคนที่วัน ๆ เจอแต่เรื่องเดิม ๆ ปัญหาเดิม ๆ ที่ใช้แค่ทักษะที่คุ้นชินไม่กี่อย่างก็ผ่าน
อุปสรรคเหล่านี้ไปได้แล้ว ซึ่งถ้าปล่อยให้เป็นอย่างนี้ก็คงไม่นาจะดีกับเราเท่าไรจริงไหมคะ งั้นลองมาดูวิธีออกกาลัง
สมอง กระตุ้นสมองแบบง่าย ๆ มาให้เราได้ลับสมองให้เฉียบคมอยู่เสมอ
4
1. ออกกาลังประสาทสัมผัส
ตอนเช้า ๆ ลองฝึกระบบประสาทสัมผัสทุกส่วน ตั้งแต่รูป รส กลิ่น เสียง สัมผัสและการได้ยินให้พบเจอกับ
ประสบการณ์ใหม่ ๆ ดูบ้าง เพื่อให้เซลล์สมองส่วนที่ไม่ค่อยได้ใช้งานเกิดความตื่นตัว เร่งสร้างสารอาหารธรรมชาติมา
บารุงเสริมกาลังให้สมอง พร้อมกันนั้นเซลล์ประสาทในส่วนข้างเคียงยังมีโอกาสได้เคลื่อนไหวมากขึ้น ฟิตความแข็งแรง
ให้เซลล์ที่อ่อนล้าไปตามอายุการใช้งาน ให้กลับมาทางานได้อย่างเต็มประสิทธิภาพตามเดิม คราวนี้ระบบความทรงจา
และการทางานของสมองก็จะไม่เสื่อมอายุไปง่าย ๆ
2. ทากิจวัตรประจาวันด้วยมือข้างที่ไม่ถนัด
ถ้าอยากฟิตเฟิร์มสมองด้วยวิธีง่าย ๆ ก็แค่ลองเปลี่ยนมาทากิจวัตรประจาวันด้วยมือข้างที่ไม่ถนัด เช่น เคย
แปรงฟันด้วยมือข้างขวามาโดยตลอด นับจากนี้ก็ลองบีบยาสีฟัน และแปรงฟันด้วยมือข้างซ้ายแทน ซึ่งแรก ๆ ก็คง
ทุลักทุเลน่าดู แต่เชื่อไหมคะว่า วิธีนี้จะช่วยให้สมองซีกที่ไม่ค่อยได้ออกแรงควบคุมการทางานของร่างกายได้ขยับ
เขยื้อนทาหน้าที่ของตัวเองบ้าง หมดโอกาสอยู่นิ่ง ๆ อีกต่อไป
3. หลับตาอาบน้า เปิดโอกาสให้ใช้ประสาทสัมผัสอย่างจริงจัง
ลองปิดตาอาบน้าดูบ้างก็ดีไม่น้อยค่ะ เพราะนอกจากจะได้เล่นอะไรสนุก ๆ แล้ว การหลับตาอาบน้ายังเปิด
โอกาสให้คุณได้ใช้มือค่อย ๆ คลาไปตามส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย กระตุ้นให้สมองใคร่ครวญว่าอะไรคืออะไร เพิ่มความ
ยากให้สมองได้ประลองศักยภาพมากขึ้นโดยไม่รู้ตัว พร้อมกันนั้นเวลาอาบน้า ลองดมกลิ่นสบู่ แชมพู ยาสีฟัน และครีม
ล้างหน้าอย่างจริงจังบ้างก็ได้ ประสาทสัมผัสรับกลิ่นจะได้ถูกกระตุ้นให้ตื่นตัว
4. ทากิจกรรมประจาวันด้วยการสับขาหลอก
หากเราทาอะไรซ้ากันทุกวัน สมองจะจดจาสิ่งที่ต้องทาในแต่ละวันโดยอัตโนมัติ ซึ่งก็เท่ากับว่าการเคลื่อนไหว
ของร่างกายก็จะเป็นไปด้วยความเคยชินโดยที่สมองไม่ต้องออกแรงสั่งการอะไรมาก ดังนั้นลองสับขาหลอกดูบ้างดีกว่า
ค่ะ จากที่เคยตื่นเช้ามาอาบน้า เตรียมอาหารเช้า แล้วกินข้าว อาจจะลองเปลี่ยนมาทากับข้าวก่อนจะอาบน้า และกิน
ข้าวเช้าก่อนแต่งหน้า-แต่งตัว เป็นต้น
5
5. บริหารนิ้วมือ-นิ้วเท้า
นิ้วมือและนิ้วเท้าเป็นแหล่งรวมเส้นประสาทและเส้นเลือดที่สัมพันธ์กับการทางานของสมอง ถ้าเราขยับนิ้ว
บ่อย ๆ ก็ส่งผลต่อไปยังสมองด้วยนะคะ ลองบริหารนิ้วโดยพับข้อนิ้วขึ้น-ลงสลับกัน หรือเวลาตื่นนอนตอนเช้า ก่อนลุก
จากที่นอนให้ขยับนิ้วหัวแม่เท้าขึ้น-ลง หมุนข้อเท้าเป็นวงกลม จะช่วยให้สมองตื่นตัว สดชื่นขึ้น
6. มองของที่ชินตาในแนวกลับหัว
จากที่เคยมองสิ่งของตามแนวเดิมมาตลอด หากคุณเปลี่ยนมุมมองด้วยการมองแบบกลับหัวบ้าง สมองก็
จะต้องสื่อภาพ และตีความสิ่งที่ตาเห็นอย่างซับซ้อนมากขึ้น ได้ออกกาลังกายไปในตัว หมดกังวลเรื่องสมองฝ่อ หรือ
เฉื่อยชาได้เลย
7. ดมกลิ่นหอมที่เปลี่ยนไปทุก ๆ สัปดาห์
ปกติเคยได้ดมแต่กลิ่นชา หรือกาแฟในทุกเช้า จนสมองจดจากลิ่นเหล่านี้ได้ขึ้นใจ ฉะนั้นลองเปลี่ยนกลิ่น
6
กระตุ้นสมองกันหน่อยดีกว่า ง่าย ๆ ก็แค่หาน้ามันหอมระเหยกลิ่นสดชื่น เช่น กลิ่นวานิลลา กลิ่นเปปปอร์มินต์ หรือ
กลิ่นส้มมาวางไว้ที่หัวเตียง สลับปรับเปลี่ยนกลิ่นทุก ๆ สัปดาห์ เป็นการเปิดโอกาสให้สมองได้เรียนรู้และจดจากลิ่น
แปลกใหม่เรื่อย ๆ
8. สลับที่นั่งบนโต๊ะกินข้าว
สาหรับครอบครัวใหญ่ที่มีที่ประจาบนโต๊ะกินข้าว การสลับที่นั่งทุก ๆ วันจะช่วยให้ร่างกายต้องใช้ทักษะ
เพิ่มขึ้นโดยอัตโนมัติ เช่น ต้องเปลี่ยนทิศทางเวลาจะหันไปพูดกับใคร ต้องเอื้อมมือไปหยิบขวดเกลือ หรือพริกไทยในที่
ที่ต่างไปจากเดิม แค่นี้สมองและประสาทสัมผัสทุกส่วนก็ได้ใช้มากขึ้นแล้ว
9. เปิดหน้าต่างรถรับลมและวิวที่แตกต่าง
ถ้าปกติในระหว่างเดินทางไปทางาน หรือไปเรียน คุณเอาแต่ก้มหน้าจิ้มโทรศัพท์ตลอดเวลา ก็เท่ากับว่าตี
กรอบให้สมองได้เห็นและเรียนรู้ภายใต้พื้นที่แคบ ๆ แบบจากัด ซึ่งก็คงไม่เวิร์กกับการทางานของสมองเท่าไรจริงไหม
คะ ดังนั้นเพื่อกระตุ้นให้สมองมีงานทามากกว่าเดิม ก็เงยหน้ามองทิวทัศน์รอบ ๆ ระหว่างทาง แต่ถ้าจะให้ดีลองเปิด
หน้าต่างรถ รับลมเย็นชิล ๆ กับกลิ่นโอโซนของธรรมชาติบ้างก็หรูเลย
10. ทายเหรียญเพิ่มรอยหยักสมอง
เนื่องด้วยสมองจะจาแนกของแต่ละประเภทจากสิ่งที่ตามองเห็น และวิเคราะห์ลักษณะของสิ่งของจากการ
สัมผัส ซึ่งสิ่งเหล่านี้เกิดขึ้นตามกลไกธรรมชาติของร่างกาย วนเวียนซ้าไปซ้ามาจนเกิดความเคยชิน ดังนั้นคงจะดีไม่
น้อยหากเราจะประลองความสามารถของสมองด้วยทักษะที่ล้ากว่า โดยการใส่เหรียญไว้ในกระเป๋า จากนั้นก็ใช้มือคลา
แล้วทายว่านั่นคือเหรียญอะไร หรือจะใส่เหรียญไว้ในถ้วยจนเต็ม วางไว้ใต้แสงไฟที่ส่องกระทบ แล้วเพ่งมองเหรียญใน
ถ้วยให้ชัด ๆ พร้อมทั้งทายเหรียญที่ตามองเห็นไปด้วย
11. คิดต่อยอดสิ่งของธรรมดา
การคิดให้มากขึ้นก็เปรียบเสมือนการลับสมองให้เฉียบคมไปด้วยในตัว
7
วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
ทางผู้จัดทาจะทาการทดลองโดยจะทดลองกับนักเรียนยุพราช โดยแบ่งออกเป็นสองกลุ่ม กลุ่มที่หนึ่ง:นักเรียน
ที่ใช้โทรศัพท์มากกว่า8ชั่วโมง/วัน กลุ่มที่สอง:นักเรียนที่ใช้โทรศัพท์น้อยกว่า5ชั่วโมง/วัน โดยที่เราจะให้ทั้ง
สองกลุ่มมาทาการทดสอบ จากนั้นเราจะให้ทาการกระตุ้นสมอง แล้วจึงนามาทดสอบใหม่
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
1.กระดาษทดสอบ
2.อุปกรณ์การเขียน
3.มือถือ
งบประมาณ
-
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดับ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9
1
0
1
1
12
1
3
1
4
1
5
16 17
1 คิดหัวข้อโครงงาน
2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล
3 จัดทาโครงร่างงาน
4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน
5 ปรับปรุงทดสอบ
6 การทาเอกสารรายงาน
7 ประเมินผลงาน
8 นาเสนอโครงงาน
ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน)
คาดว่าผู้คนจะตระหนักถึงปัญหาการใช้โทรศัพท์และลดการใช้โทรศัพท์
สถานที่ดาเนินการ
โรงเรียน ยุพราชวิทยาลัย
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
1.กลุ่มสาระคอมพิวเตอร์
2.กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์
แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน)
1. https://www.dek-d.com/board/view/3815795/
2. https://www.sanook.com/health/7013/

More Related Content

What's hot

แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่องการหาร เล่ม 1
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่องการหาร เล่ม 1แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่องการหาร เล่ม 1
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่องการหาร เล่ม 1ยัยบ๊อง จอมแสบ
 
2562 final-project-yanisa-koranit-615-33-13
2562 final-project-yanisa-koranit-615-33-132562 final-project-yanisa-koranit-615-33-13
2562 final-project-yanisa-koranit-615-33-13th3_ze3d_g
 
2558 project (4)
2558 project  (4)2558 project  (4)
2558 project (4)pornkanok02
 
โครงร่างโครงงาน-จิตวิทยา
โครงร่างโครงงาน-จิตวิทยาโครงร่างโครงงาน-จิตวิทยา
โครงร่างโครงงาน-จิตวิทยาPeerapong Densatan
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยRsmay Saengkaew
 
ขื่อโครงงาน การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์
ขื่อโครงงาน             การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์ขื่อโครงงาน             การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์
ขื่อโครงงาน การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์bamhattamanee
 
การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์
การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์
การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์bamhattamanee
 
การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์2.
การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์2.การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์2.
การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์2.bamhattamanee
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ อริยสัจ 4
ทฤษฎีการเรียนรู้ อริยสัจ 4ทฤษฎีการเรียนรู้ อริยสัจ 4
ทฤษฎีการเรียนรู้ อริยสัจ 4guest2aafce
 

What's hot (19)

2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่องการหาร เล่ม 1
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่องการหาร เล่ม 1แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่องการหาร เล่ม 1
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่องการหาร เล่ม 1
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
2560 project
2560 project2560 project
2560 project
 
Boonyisa612
Boonyisa612Boonyisa612
Boonyisa612
 
2562 final-project-yanisa-koranit-615-33-13
2562 final-project-yanisa-koranit-615-33-132562 final-project-yanisa-koranit-615-33-13
2562 final-project-yanisa-koranit-615-33-13
 
2558 project (4)
2558 project  (4)2558 project  (4)
2558 project (4)
 
Projectcom608029
Projectcom608029Projectcom608029
Projectcom608029
 
Final com 929
Final com 929Final com 929
Final com 929
 
โครงร่างโครงงาน-จิตวิทยา
โครงร่างโครงงาน-จิตวิทยาโครงร่างโครงงาน-จิตวิทยา
โครงร่างโครงงาน-จิตวิทยา
 
Daniellll
DaniellllDaniellll
Daniellll
 
Great
GreatGreat
Great
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
 
ขื่อโครงงาน การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์
ขื่อโครงงาน             การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์ขื่อโครงงาน             การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์
ขื่อโครงงาน การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์
 
การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์
การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์
การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์
 
การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์2.
การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์2.การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์2.
การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์2.
 
Comdaniel
ComdanielComdaniel
Comdaniel
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ อริยสัจ 4
ทฤษฎีการเรียนรู้ อริยสัจ 4ทฤษฎีการเรียนรู้ อริยสัจ 4
ทฤษฎีการเรียนรู้ อริยสัจ 4
 
5
55
5
 

Similar to Com final

2562 final-project 11-thunyarat
2562 final-project 11-thunyarat2562 final-project 11-thunyarat
2562 final-project 11-thunyaratthunyaratnatai
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Warunee Kruea-kaew
 
Is โสรยา ประวัติส่วนตัว
Is โสรยา ประวัติส่วนตัวIs โสรยา ประวัติส่วนตัว
Is โสรยา ประวัติส่วนตัวKaembum Soraya
 
การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์.
การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์.การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์.
การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์.bamhattamanee
 
นางสาว ดรัญพร โกฏิเเก้ว
นางสาว ดรัญพร โกฏิเเก้วนางสาว ดรัญพร โกฏิเเก้ว
นางสาว ดรัญพร โกฏิเเก้วdaranpornkotkaew
 
ความขี้เกียจจงออกไปเอาความขยันกลับคืนมา
ความขี้เกียจจงออกไปเอาความขยันกลับคืนมาความขี้เกียจจงออกไปเอาความขยันกลับคืนมา
ความขี้เกียจจงออกไปเอาความขยันกลับคืนมาThanakorn Intrarat
 
work1pjcom
work1pjcomwork1pjcom
work1pjcomchetpl
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยNetchanOk Maneechai
 

Similar to Com final (20)

2562 final-project 11-thunyarat
2562 final-project 11-thunyarat2562 final-project 11-thunyarat
2562 final-project 11-thunyarat
 
Expand
ExpandExpand
Expand
 
AT1
AT1AT1
AT1
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
Is โสรยา ประวัติส่วนตัว
Is โสรยา ประวัติส่วนตัวIs โสรยา ประวัติส่วนตัว
Is โสรยา ประวัติส่วนตัว
 
การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์.
การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์.การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์.
การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์.
 
2561 project (21)
2561 project  (21)2561 project  (21)
2561 project (21)
 
นางสาว ดรัญพร โกฏิเเก้ว
นางสาว ดรัญพร โกฏิเเก้วนางสาว ดรัญพร โกฏิเเก้ว
นางสาว ดรัญพร โกฏิเเก้ว
 
2561 project -2
2561 project -22561 project -2
2561 project -2
 
ความขี้เกียจจงออกไปเอาความขยันกลับคืนมา
ความขี้เกียจจงออกไปเอาความขยันกลับคืนมาความขี้เกียจจงออกไปเอาความขยันกลับคืนมา
ความขี้เกียจจงออกไปเอาความขยันกลับคืนมา
 
work1pjcom
work1pjcomwork1pjcom
work1pjcom
 
Final project 604-37
Final project 604-37Final project 604-37
Final project 604-37
 
โครงร่าง
โครงร่างโครงร่าง
โครงร่าง
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วย
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
 
Daniellll
DaniellllDaniellll
Daniellll
 
Project
ProjectProject
Project
 
W.1
W.1W.1
W.1
 
Comproject12_2
Comproject12_2Comproject12_2
Comproject12_2
 
Project2222
Project2222Project2222
Project2222
 

More from RungtiwaWongchai

More from RungtiwaWongchai (17)

presentation 3
presentation 3presentation 3
presentation 3
 
presentation 2
presentation 2presentation 2
presentation 2
 
education presentation
education presentationeducation presentation
education presentation
 
3
33
3
 
กิจกรรมที่2 โครงงาน
กิจกรรมที่2 โครงงานกิจกรรมที่2 โครงงาน
กิจกรรมที่2 โครงงาน
 
Power pointhub hand-painted-1-1
Power pointhub hand-painted-1-1Power pointhub hand-painted-1-1
Power pointhub hand-painted-1-1
 
Power pointhub hand-painted-1-1
Power pointhub hand-painted-1-1Power pointhub hand-painted-1-1
Power pointhub hand-painted-1-1
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
Computerfainal
ComputerfainalComputerfainal
Computerfainal
 
Work.1
Work.1Work.1
Work.1
 
Comm 1-final
Comm 1-finalComm 1-final
Comm 1-final
 
2562 final-project -2 (1)
2562 final-project -2 (1)2562 final-project -2 (1)
2562 final-project -2 (1)
 
2562 final-project 02-rungtiwa-finally
2562 final-project 02-rungtiwa-finally2562 final-project 02-rungtiwa-finally
2562 final-project 02-rungtiwa-finally
 
2562 final-project -1
2562 final-project -12562 final-project -1
2562 final-project -1
 
2562 final-project -1 finally
2562 final-project -1 finally2562 final-project -1 finally
2562 final-project -1 finally
 
Work.1
Work.1Work.1
Work.1
 
2562 final-project 02-rungtiwa
2562 final-project 02-rungtiwa2562 final-project 02-rungtiwa
2562 final-project 02-rungtiwa
 

Com final

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5 ปีการศึกษา 2562 ชื่อโครงงาน กระตุ้นสมอง ชื่อผู้ทาโครงงาน ชื่อ นาย ภูมิรวี อิสิ เลขที่ 37 ชั้น ม.6 ห้อง 4 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2562 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม 1.นายภูมิรวี อิสิ เลขที่37 คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) กระตุ้นสมอง ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) motivate brain ประเภทโครงงาน โครงงานประเภทสารวจ ชื่อผู้ทาโครงงาน นาย ภูมิรวี อิสิ ชื่อที่ปรึกษา เขื่อนทอง มูลวรรณ์ ชื่อที่ปรึกษาร่วม - ระยะเวลาดาเนินงาน 17สัปดาห์ ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน) เนื่องจาก ใน ปัจจุบันมีเรื่องมือที่ช่วยในเรื่องของการให้ความสะดวกสบายต่างๆมากมายซึ่งนั้นก็ เป็นข้อดีอย่างมากหากเราใช้เครื่องมือนั้นอย่างรอบคอบและคุ้มค่า แต่บางครั้งที่เราก็กลับให้เครื่องมือ ใช้เรา โลกทุกวันนี้คงไม่มีใครไม่มีโทรสัพท์ติดตัวและก็คงปฎิเสธไม่ได้แล้วว่าหากขาดมันไปชีวิตก็คงไม่สะดวก แต่คน ส่วนใหญ่ไม่ได้รู้เลยว่าของที่กดเล่นอยู่นั้นมีข้อเสียต่อสมองของเราอย่างมากซึ่งในทุกวันนี้มือถือนั้นได้มีบทบาทมากขึ้น ในชีวิตประจาวันมากขึ้นเทคโนโลยีนั้นเข้ามาเป็นส่วนหนึ่ง และแทบจะทุกคนในสังคมนั้นต่างก็มีมือถืออยู่กับตัวตั้งแต่ วัยเด็กจนถึงวัยผู้ใหญ่ ซึ่งการที่เรามีเทคโนโลยีนั้นก็สร้างข้อเสียอย่างมากเช่นการที่ทุกคนต่างมีความสัมพันที่น้อยลง อีกทั้งยังเรื่องของผลกระทบของสมองจากการเล่นโทรศัพท์ ทางผู้จัดทาได้ตระหนักถึงปัญหาในข้อนี้จึงทาโครงงานก นะตุ้นสมอง ทางผู้จัดทาเลยได้ตระหนักถึงปัญหาในข้อนี้จึงทาโครงงาน กระตุ้นสมอง วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ) 1.เพื่อให้ผู้คนตระหนักถึงการใชมือถือ 2.เพื่อให้ทราบถึงวิธีกระตุ้นสมอง ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน) โรงเรียน ยุพราชวิทยาลัย
  • 3. 3 หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน) ผลวิจัยของ Dr.Om Ghandhi ถึงผลกระทบจากคลื่นโทรศัพท์ ซึ่งมีผลต่อสมองของเด็กไปทั่วเฟซบุ๊ก และเว็บ เพจต่างๆ ในขณะนี้นั้น ทาง Mthai ได้ตรวจเช็คเพิ่มเติม ว่าผลงานวิจัยของ Dr.Om Ghandhi ปี 1996 มีอยู่จริง หรือไม่ ก็พบว่า มีตัวตนและผลงานดังกล่าวอยู่จริง โดยได้กล่าวว่า คลื่นโทรศัพท์มือถือ ทะลุทะลวงสู่ชั้นสมองของเด็ก มากกว่าผู้ใหญ่ เนื่องจากกระโหลกศีรษะบางกว่า (ที่คนเฒ่าคนแก่ เรียกว่า กระหม่อมบาง) การทะลุทะลวงดังกล่าวสู่ชั้น สมอง ทาให้เกิดอาการ ปวดร้าวศีรษะได้ และเป็นไปได้ว่าทาให้เกิดการดัดแปลงระดับชั้นพันธุกรรม DNA และชั้น เซลส์ ซึ่งเป็นสาเหตุหนึ่งของมะเร็งได้ คลื่นโทรศัพท์กับความเสี่ยงเนื้องอกหรือมะเร็งในสมองหลายคนอาจเคยได้ยินกันมาบ้างว่าคลื่นรังสีบางชนิด เป็นปัจจัยเสี่ยงที่ทาให้เกิดโรคมะเร็งได้ ซึ่งโทรศัพท์มือถือที่เราใช้กันนั้นก็เป็นอุปกรณ์หนึ่งที่จะปล่อยคลื่นวิทยุออกมา ทางอากาศ และอาจส่งผลให้เนื้อเยื่อบริเวณใกล้เคียงดูดซับพลังงานจากคลื่นวิทยุเข้าไป อย่างไรก็ตาม คลื่นวิทยุจากโทรศัพท์มือถือจัดเป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่ไม่ได้มีพลังงานสูงพอจะทาลายดีเอ็นเอในเซลล์ ได้โดยตรงจนทาให้เกิดมะเร็งได้ และไม่ได้มีความแรงมากพอจนก่อให้เกิดความร้อนถึงขั้นส่งผลต่ออุณหภูมิภายใน ร่างกาย ซึ่งต่างจากรังสีเอกซเรย์ รังสีแกมมา และรังสีอัลตราไวโอเลตที่มีพลังงานสูงจนสามารถทาลายพันธะในดีเอ็น เอได้ และอาจนาไปสู่การเกิดเซลล์มะเร็งในที่สุด ผลการค้นคว้าเกี่ยวกับอิทธิพลของคลื่นโทรศัพท์มือถือมีงานวิจัยหลายชิ้นพยายามหาคาตอบว่า การใช้โทรศัพท์มือถือ มีความเชื่อมโยงกับการเกิดเนื้องอกในสมองหรือไม่ ซึ่งก็พบผลลัพธ์ที่แตกต่างหลากหลาย โดย ณ ปัจจุบันมีข้อสรุป โดยรวม ดังนี้งานวิจัยส่วนใหญ่ไม่พบว่ามีอัตราการใช้โทรศัพท์มือถือของผู้ป่วยโรคเนื้องอกในสมองมากกว่าผู้ที่ไม่ได้ เป็นโรคนี้แต่อย่างใด และการใช้โทรศัพท์มือถือไม่ได้ส่งผลให้มีแนวโน้มเกิดเนื้องอกสมองมากขึ้นจากการศึกษาส่วน ใหญ่พบว่า ศีรษะข้างที่ได้รับรังสีวิทยุจากโทรศัพท์มือถือบ่อยครั้งกว่าไม่ได้มีอัตราการเกิดเนื้องอกในสมองมากกว่าแต่ อย่างใดแม้มีงานวิจัยชิ้นหนึ่งกล่าวว่า การใช้โทรศัพท์มือถืออาจเกี่ยวข้องกับการเกิดเนื้องอกในสมอง โดยศึกษาในชาว สวีเดนแล้วพบว่า ผู้เข้าร่วมทดลองมีความเสี่ยงเกิดเนื้องอกในศีรษะข้างที่ใช้คุยโทรศัพท์บ่อยครั้งสูงกว่าอีกข้างหนึ่ง โดยเฉพาะในผู้ที่ใช้โทรศัพท์ในระยะยาวประมาณ 10 ปีขึ้นไป อย่างไรก็ตาม มีข้อสังเกตที่ว่าในช่วงปีที่ทดลองนั้น อัตราของผู้ที่เป็นเนื้องอกในสมองของประเทศสวีเดนไม่ได้เพิ่มขึ้นแต่อย่างใด ทั้งยังมีผลลัพธ์ขัดแย้งกับงานวิจัยส่วน ใหญ่ จึงทาให้งานวิจัยชิ้นนี้มีน้าหนักและความน่าเชื่อถือค่อนข้างน้อยเนื่องจากงานวิจัยที่พบว่าการได้รับคลื่นวิทยุจาก โทรศัพท์มือถือเพิ่มความเสี่ยงต่อการเกิดเนื้องอกหรือกระทั่งเนื้อร้ายอย่างมะเร็งนั้นยังมีจานวนน้อยมากและมีผลลัพธ์ ที่ไม่สม่าเสมอ จึงไม่อาจกล่าวยืนยันได้ว่าการใช้โทรศัพท์มือถือจะก่อให้เกิดผลกระทบดังกล่าวได้จริง ส่วนผลกระทบ ด้านอื่น ๆ นั้น มีข้อกังวลว่าคลื่นโทรศัพท์มือถืออาจรบกวนการใช้อุปกรณ์หรือเครื่องมือทางการแพทย์บางชนิดได้ เช่น เครื่องกระตุ้นไฟฟ้าหัวใจ เป็นต้นใช้การส่งข้อความแทนการโทรศัพท์คุย แต่ควรคานึงถึงความปลอดภัยด้วย ไม่ควรส่ง ข้อความหรือคุยโทรศัพท์ขณะเดินบนถนน ขับรถ หรือในสถานการณ์ใด ๆ ที่มีความเสี่ยง เพราะแม้แต่แค่คุยโทรศัพท์ ก็อาจทาให้มีสมาธิจดจ่อกับสถานกาณ์ตรงหน้าได้น้อยลงอาจเลือกใช้โทรศัพท์มือถือที่มีอัตราการดูดซับรังสีคลื่นวิทยุ เข้าสู่ร่างกายของผู้ใช้งานต่า หรือที่เรียกว่าค่า SAR (Specific Absorption Rate) ซึ่งจะส่งผลให้มีปริมาณรังสีที่ถูกดูด ซับเข้าสู่ร่างกายน้อยกว่าโทรศัพท์มือถือที่มีค่า SAR สูงกว่า โดยสามารถตรวจสอบได้จากเว็บไซต์ผู้ผลิตหรือคู่มือการ ใช้โทรศัพท์ ทั้งนี้ ค่า SAR ที่ระบุนั้นเป็นค่าสูงสุด แต่ขณะใช้งานจริง ค่าดังกล่าวอาจมีระดับสูงต่าผันแปรตามปัจจัย หลาย ๆ อย่างได้สมองก็ไม่ต่างอะไรกับอวัยวะส่วนอื่น ๆ ในร่างกาย ถ้าไม่ได้ใช้บ่อย ๆ ก็อาจมีเสื่อมประสิทธิภาพได้ ง่าย ๆ เหมือนกัน โดยเฉพาะคนที่วัน ๆ เจอแต่เรื่องเดิม ๆ ปัญหาเดิม ๆ ที่ใช้แค่ทักษะที่คุ้นชินไม่กี่อย่างก็ผ่าน อุปสรรคเหล่านี้ไปได้แล้ว ซึ่งถ้าปล่อยให้เป็นอย่างนี้ก็คงไม่นาจะดีกับเราเท่าไรจริงไหมคะ งั้นลองมาดูวิธีออกกาลัง สมอง กระตุ้นสมองแบบง่าย ๆ มาให้เราได้ลับสมองให้เฉียบคมอยู่เสมอ
  • 4. 4 1. ออกกาลังประสาทสัมผัส ตอนเช้า ๆ ลองฝึกระบบประสาทสัมผัสทุกส่วน ตั้งแต่รูป รส กลิ่น เสียง สัมผัสและการได้ยินให้พบเจอกับ ประสบการณ์ใหม่ ๆ ดูบ้าง เพื่อให้เซลล์สมองส่วนที่ไม่ค่อยได้ใช้งานเกิดความตื่นตัว เร่งสร้างสารอาหารธรรมชาติมา บารุงเสริมกาลังให้สมอง พร้อมกันนั้นเซลล์ประสาทในส่วนข้างเคียงยังมีโอกาสได้เคลื่อนไหวมากขึ้น ฟิตความแข็งแรง ให้เซลล์ที่อ่อนล้าไปตามอายุการใช้งาน ให้กลับมาทางานได้อย่างเต็มประสิทธิภาพตามเดิม คราวนี้ระบบความทรงจา และการทางานของสมองก็จะไม่เสื่อมอายุไปง่าย ๆ 2. ทากิจวัตรประจาวันด้วยมือข้างที่ไม่ถนัด ถ้าอยากฟิตเฟิร์มสมองด้วยวิธีง่าย ๆ ก็แค่ลองเปลี่ยนมาทากิจวัตรประจาวันด้วยมือข้างที่ไม่ถนัด เช่น เคย แปรงฟันด้วยมือข้างขวามาโดยตลอด นับจากนี้ก็ลองบีบยาสีฟัน และแปรงฟันด้วยมือข้างซ้ายแทน ซึ่งแรก ๆ ก็คง ทุลักทุเลน่าดู แต่เชื่อไหมคะว่า วิธีนี้จะช่วยให้สมองซีกที่ไม่ค่อยได้ออกแรงควบคุมการทางานของร่างกายได้ขยับ เขยื้อนทาหน้าที่ของตัวเองบ้าง หมดโอกาสอยู่นิ่ง ๆ อีกต่อไป 3. หลับตาอาบน้า เปิดโอกาสให้ใช้ประสาทสัมผัสอย่างจริงจัง ลองปิดตาอาบน้าดูบ้างก็ดีไม่น้อยค่ะ เพราะนอกจากจะได้เล่นอะไรสนุก ๆ แล้ว การหลับตาอาบน้ายังเปิด โอกาสให้คุณได้ใช้มือค่อย ๆ คลาไปตามส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย กระตุ้นให้สมองใคร่ครวญว่าอะไรคืออะไร เพิ่มความ ยากให้สมองได้ประลองศักยภาพมากขึ้นโดยไม่รู้ตัว พร้อมกันนั้นเวลาอาบน้า ลองดมกลิ่นสบู่ แชมพู ยาสีฟัน และครีม ล้างหน้าอย่างจริงจังบ้างก็ได้ ประสาทสัมผัสรับกลิ่นจะได้ถูกกระตุ้นให้ตื่นตัว 4. ทากิจกรรมประจาวันด้วยการสับขาหลอก หากเราทาอะไรซ้ากันทุกวัน สมองจะจดจาสิ่งที่ต้องทาในแต่ละวันโดยอัตโนมัติ ซึ่งก็เท่ากับว่าการเคลื่อนไหว ของร่างกายก็จะเป็นไปด้วยความเคยชินโดยที่สมองไม่ต้องออกแรงสั่งการอะไรมาก ดังนั้นลองสับขาหลอกดูบ้างดีกว่า ค่ะ จากที่เคยตื่นเช้ามาอาบน้า เตรียมอาหารเช้า แล้วกินข้าว อาจจะลองเปลี่ยนมาทากับข้าวก่อนจะอาบน้า และกิน ข้าวเช้าก่อนแต่งหน้า-แต่งตัว เป็นต้น
  • 5. 5 5. บริหารนิ้วมือ-นิ้วเท้า นิ้วมือและนิ้วเท้าเป็นแหล่งรวมเส้นประสาทและเส้นเลือดที่สัมพันธ์กับการทางานของสมอง ถ้าเราขยับนิ้ว บ่อย ๆ ก็ส่งผลต่อไปยังสมองด้วยนะคะ ลองบริหารนิ้วโดยพับข้อนิ้วขึ้น-ลงสลับกัน หรือเวลาตื่นนอนตอนเช้า ก่อนลุก จากที่นอนให้ขยับนิ้วหัวแม่เท้าขึ้น-ลง หมุนข้อเท้าเป็นวงกลม จะช่วยให้สมองตื่นตัว สดชื่นขึ้น 6. มองของที่ชินตาในแนวกลับหัว จากที่เคยมองสิ่งของตามแนวเดิมมาตลอด หากคุณเปลี่ยนมุมมองด้วยการมองแบบกลับหัวบ้าง สมองก็ จะต้องสื่อภาพ และตีความสิ่งที่ตาเห็นอย่างซับซ้อนมากขึ้น ได้ออกกาลังกายไปในตัว หมดกังวลเรื่องสมองฝ่อ หรือ เฉื่อยชาได้เลย 7. ดมกลิ่นหอมที่เปลี่ยนไปทุก ๆ สัปดาห์ ปกติเคยได้ดมแต่กลิ่นชา หรือกาแฟในทุกเช้า จนสมองจดจากลิ่นเหล่านี้ได้ขึ้นใจ ฉะนั้นลองเปลี่ยนกลิ่น
  • 6. 6 กระตุ้นสมองกันหน่อยดีกว่า ง่าย ๆ ก็แค่หาน้ามันหอมระเหยกลิ่นสดชื่น เช่น กลิ่นวานิลลา กลิ่นเปปปอร์มินต์ หรือ กลิ่นส้มมาวางไว้ที่หัวเตียง สลับปรับเปลี่ยนกลิ่นทุก ๆ สัปดาห์ เป็นการเปิดโอกาสให้สมองได้เรียนรู้และจดจากลิ่น แปลกใหม่เรื่อย ๆ 8. สลับที่นั่งบนโต๊ะกินข้าว สาหรับครอบครัวใหญ่ที่มีที่ประจาบนโต๊ะกินข้าว การสลับที่นั่งทุก ๆ วันจะช่วยให้ร่างกายต้องใช้ทักษะ เพิ่มขึ้นโดยอัตโนมัติ เช่น ต้องเปลี่ยนทิศทางเวลาจะหันไปพูดกับใคร ต้องเอื้อมมือไปหยิบขวดเกลือ หรือพริกไทยในที่ ที่ต่างไปจากเดิม แค่นี้สมองและประสาทสัมผัสทุกส่วนก็ได้ใช้มากขึ้นแล้ว 9. เปิดหน้าต่างรถรับลมและวิวที่แตกต่าง ถ้าปกติในระหว่างเดินทางไปทางาน หรือไปเรียน คุณเอาแต่ก้มหน้าจิ้มโทรศัพท์ตลอดเวลา ก็เท่ากับว่าตี กรอบให้สมองได้เห็นและเรียนรู้ภายใต้พื้นที่แคบ ๆ แบบจากัด ซึ่งก็คงไม่เวิร์กกับการทางานของสมองเท่าไรจริงไหม คะ ดังนั้นเพื่อกระตุ้นให้สมองมีงานทามากกว่าเดิม ก็เงยหน้ามองทิวทัศน์รอบ ๆ ระหว่างทาง แต่ถ้าจะให้ดีลองเปิด หน้าต่างรถ รับลมเย็นชิล ๆ กับกลิ่นโอโซนของธรรมชาติบ้างก็หรูเลย 10. ทายเหรียญเพิ่มรอยหยักสมอง เนื่องด้วยสมองจะจาแนกของแต่ละประเภทจากสิ่งที่ตามองเห็น และวิเคราะห์ลักษณะของสิ่งของจากการ สัมผัส ซึ่งสิ่งเหล่านี้เกิดขึ้นตามกลไกธรรมชาติของร่างกาย วนเวียนซ้าไปซ้ามาจนเกิดความเคยชิน ดังนั้นคงจะดีไม่ น้อยหากเราจะประลองความสามารถของสมองด้วยทักษะที่ล้ากว่า โดยการใส่เหรียญไว้ในกระเป๋า จากนั้นก็ใช้มือคลา แล้วทายว่านั่นคือเหรียญอะไร หรือจะใส่เหรียญไว้ในถ้วยจนเต็ม วางไว้ใต้แสงไฟที่ส่องกระทบ แล้วเพ่งมองเหรียญใน ถ้วยให้ชัด ๆ พร้อมทั้งทายเหรียญที่ตามองเห็นไปด้วย 11. คิดต่อยอดสิ่งของธรรมดา การคิดให้มากขึ้นก็เปรียบเสมือนการลับสมองให้เฉียบคมไปด้วยในตัว
  • 7. 7 วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน ทางผู้จัดทาจะทาการทดลองโดยจะทดลองกับนักเรียนยุพราช โดยแบ่งออกเป็นสองกลุ่ม กลุ่มที่หนึ่ง:นักเรียน ที่ใช้โทรศัพท์มากกว่า8ชั่วโมง/วัน กลุ่มที่สอง:นักเรียนที่ใช้โทรศัพท์น้อยกว่า5ชั่วโมง/วัน โดยที่เราจะให้ทั้ง สองกลุ่มมาทาการทดสอบ จากนั้นเราจะให้ทาการกระตุ้นสมอง แล้วจึงนามาทดสอบใหม่ เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ 1.กระดาษทดสอบ 2.อุปกรณ์การเขียน 3.มือถือ งบประมาณ - ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดับ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 0 1 1 12 1 3 1 4 1 5 16 17 1 คิดหัวข้อโครงงาน 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล 3 จัดทาโครงร่างงาน 4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน 5 ปรับปรุงทดสอบ 6 การทาเอกสารรายงาน 7 ประเมินผลงาน 8 นาเสนอโครงงาน ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน) คาดว่าผู้คนจะตระหนักถึงปัญหาการใช้โทรศัพท์และลดการใช้โทรศัพท์ สถานที่ดาเนินการ โรงเรียน ยุพราชวิทยาลัย กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง 1.กลุ่มสาระคอมพิวเตอร์ 2.กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน) 1. https://www.dek-d.com/board/view/3815795/ 2. https://www.sanook.com/health/7013/