SlideShare a Scribd company logo
1 of 8
Download to read offline
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6
ปีการศึกษา 2560
ชื่อโครงงาน การพักผ่อนนอนหลับที่เหมาะสม
ชื่อผู้ทาโครงงาน
1.ชื่อ นางสาว ศศิชา วิญญรัตน์ เลขที่ 34 ชั้น ม.6 ห้อง 4
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิกในกลุ่ม
1.ชื่อ นางสาวศศิชา วิญญรัตน์ เลขที่ 34
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
การพักผ่อนนอนหลับที่เหมาะสม
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
Appropriate sleep
ประเภทโครงงาน ให้ความรู้เชิงสุขภาพ
ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาว ศศิชา วิญญรัตน์ เลขที่ 34 ชั้น ม.6 ห้อง 4
ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ชื่อที่ปรึกษาร่วม -
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน
ในปัจจุบันนี้ถ้าถามเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพให้ดีก็คงจะเป็นการออกกาลังกายหรือการรับประทานอาหารที่
ดี เช่น อาหารคลีน น้าผลไม้สดปั่น ฯลฯ แต่ทุกคนกลับลืมไปว่า การพักผ่อนนอนหลับให้เพียงพอนั้นก็เป็นการดูแล
สุขภาพให้ดีอีกวิธีหนึ่งเช่นกัน เพราะในปัจจุบันคนก็หันไปออกกาลังกายโดยการเข้าฟิตเนสเพราะคิดว่าถ้าได้ออก
กาลังกายแล้วสุขภาพก็จะดีตามรวมถึงการสั่งอาหารคลีนในเน็ตมาทานเพราะคิดว่าแค่กินอาหารดีสุขภาพก็จะดีตาม
อีกเช่นกัน โดยลืมคานึงถึงการที่ต้องฟื้นฟูร่างกายหลังจากที่เราทากิจกรรมต่างๆเสร็จ โดยการนอนนั้นก็ต้องนอน
อย่างถูกวิธีเพื่อให้ได้ประโยชน์สูงสุดจากการนอน แต่ถ้าหากคุณนอนผิดวิธี อาทิเช่น คนที่นอนตั้งแต่ 22.00-06.00
น. กับคนที่นอนตั้งแต่ 01.00-09.00 น. จะมีความกระฉับกระเฉงแตกต่างกัน อีกทั้งยังส่งผลต่อระบบการทางาน
ภายในที่ไม่เหมือนกันอีกด้วย เพราะเนื่องจากอาชีพการงานไม่เอื้ออานวยต่อการนอนอย่างถูกวิธีจึงทาให้เกิดการ
พักผ่อนไม่เพียงพอและหลงลืมวิธีการนอนที่ถูกต้องอีกด้วย นอกจากนี้เตียง ท่านอน ชุดนอน และแสงไฟต่างๆ ก็ยัง
ส่งผลต่อการนอนว่าคุณจะตื่นมาพร้อมสุขภาพที่ดีหรือแย่ได้อีกด้วย โดยจะมีวิธีหรือเทคนิคในการนอนแบบถูกวิธี
3
และการนอนให้เหมาะสมกับเวลาและแต่ละช่วงวัยอีกด้วย ด้วยเหตุนี้จึงสนใจศึกษาเรื่องของการพักผ่อนนอนหลับ
ที่เหมาะสม
วัตถุประสงค์
1.ศึกษาการพักผ่อนที่เหมาะสม
2.ศึกษาวิธีการนอนหลับแบบถูกวิธี
3.ศึกษาระยะเวลาของการนอนแต่ละช่วงวัย
4.เพื่อศึกษาประโยชน์ของการนอนหลับพักผ่อน
ขอบเขตโครงงาน
การศึกษาดังกล่าวเป็นเพียงการศึกษาวิธีการนอนหลับพักผ่อนให้เหมาะสมกับแต่ละช่วงวัย
หลักการและทฤษฎี
การพักผ่อน หมายถึง การหยุดพักการปฏิบัติกิจกรรมที่ก่อให้เกิดภาวะความตึงเครียดหรือความเมื่อยล้าที่
เกิดขึ้นกับร่างกายและจิตใจของเรา การนอนหลับ เป็นการพักผ่อนที่สาคัญ การพักผ่อนเป็นสิ่งที่จาเป็นต่อมนุษย์ทุก
คน มีอยู่หลายลักษณะ ทั้งการหยุดพักชั่วคราวขณะปฏิบัติกิจกรรม การนอน-หลับ และรวมถึงการทากิจกรรมต่างๆ
ที่ทาให้เกิดความเพลิดเพลินด้วย เช่น การปั่นจักรยาน การร้องเพลง เป็นต้น เพราะการพักผ่อนที่ชาร์จพลังชีวิตได้ดี
ที่สุดคือ “การนอน” แต่เชื่อหรือไม่ว่าแม้คุณจะนอนได้ในระยะเวลา 8 ชั่วโมงตามที่แพทย์หรือนักดูแลสุขภาพ
ทั้งหลายต่างออกมาแนะนาว่าดีที่สุด แต่มันอาจไม่ได้ส่งผลดีต่อสุขภาพเฉกเช่นคนอื่นๆ ก็เป็นได้หากคุณนอนผิด
วิธี อาทิเช่น คนที่นอนตั้งแต่ 22.00-06.00 น. กับคนที่นอนตั้งแต่ 01.00-09.00 น. จะมีความกระฉับกระเฉงแตกต่าง
กัน อีกทั้งยังส่งผลต่อระบบการทางานภายในที่ไม่เหมือนกันอีกด้วย นอกจากนี้เตียง ท่านอน ชุดนอน และแสงไฟ
ต่างๆ ก็ยังส่งผลต่อการนอนว่าคุณจะตื่นมาพร้อมสุขภาพที่ดีหรือแย่ได้อีกด้วย
วิธีง่ายๆ ในการนอนเพื่อให้ได้สุขภาพดี
ขั้นแรก เริ่มจากเปลี่ยนทัศนคติเรื่องการนอนใหม่ ควรให้สาคัญกับเรื่องนี้ให้มากขึ้น คิดว่าเป็นการชาร์จพลังงาน
ร่างกายให้สดชื่นกระปรี้กระเปร่าในวันถัดไป และหากใครคิดว่าการนอนดึกตื่นสายเป็นการนอนที่ถูกต้อง เพราะ
ใช้เวลานอนเท่ากับนอนเร็วตื่นเช้า ความจริงแล้วเป็นสิ่งที่ผิด เพราะการนอนแต่หัวค่าและตื่นเช้าจะทาให้ร่างกายมี
ความกระปรี้กระเปร่าในการทางานได้ดีกว่า
เข้านอนให้เป็นเวลา ซึ่งช่วงเวลานอนที่เหมาะสมที่สุด ไม่เว้นวันหยุด คือ 22.00-06.00น. เพราะร่างกายจะพักผ่อน
ได้เต็มที่จากการหลับลึกในช่วงครึ่งแรกของการนอน การเข้านอนเป็นเวลาจะช่วยสร้างความเคยชินให้กับร่างกาย
ทาให้ระบบต่างๆ ทางานได้อย่างมีประสิทธิภาพเป็นประจา
สภาพแวดล้อมของห้องนอนเป็นสิ่งสาคัญอีกเรื่องหนึ่ง ที่ช่วยให้การนอนมีสุขภาพที่ดี ไล่มาตั้งแต่ลักษณะของ
เตียงนอนที่มีขนาดเหมาะสม มีความสบายไม่ทาให้อึดอัดเวลานอน ควรใช้ที่นอนที่ยัดด้วยนุ่น เพราะไม่แข็งหรือ
นุ่มจนเกินไป หมอนหนุนคอควรเลือกที่มีความนุ่มและขนาดที่พอดี เพราะหมอนมีส่วนช่วยรองรับกระดูกสันหลัง
ส่วนคอให้อยู่ในแนวโค้งที่ปกติ ภายในห้องนอนควรหรี่ไฟให้สลัวก่อนเข้านอนประมาณ 1 ชั่วโมง เพื่อเตรียม
4
สมองว่าถึงเวลาพักผ่อนแล้ว รวมทั้งปรับอุณหภูมิเครื่องปรับอากาศในห้องให้พอดีไม่หนาวหรือร้อนเกินไป และ
ปิดโทรทัศน์ให้เรียบร้อยก่อนนอน ป้ องกันแสงและเสียงจากโทรทัศน์มารบกวน
ท่าทางการนอน เนื่องจากในขณะที่หลับกล้ามเนื้อรอบๆ คอจะคลายตัว หากคออยู่ในท่าที่ไม่ดี ตื่นมาอาจปวดคอ
หรือคอแข็งได้ส่วนท่านอนที่ดีที่สุด ควร “นอนตะแคงขวา”เพราะจะช่วยให้หัวใจเต้นสะดวก อาหารจากกระเพาะ
จะถูกบีบลงลาไส้เล็กได้ดี ทั้งยังช่วยบรรเทาอาการปวดหลังได้ด้วย ท่าที่ควรหลีกเลี่ยงคือ การนอนคว่า เพราะเป็น
ท่านอนที่ทาให้หายใจติดขัด และปวดต้นคอ
เตรียมตัวก่อนนอนการอาบน้าอุ่นประมาณ 45 นาทีก่อนเข้านอน เพื่อช่วยให้กล้ามเนื้อและจิตใจผ่อนคลาย ชุดนอน
ควรเลือกผ้าที่สวมใส่สบาย ไม่ระคายเคืองผิว อาจเลือกดื่มเครื่องดื่มเบาๆ ซักแก้ว อย่างชาคาโมไมล์อุ่นๆ จะช่วยให้
รู้สึกผ่อนคลายมากขึ้น หรือดื่มน้าสะอาดอุ่นๆ ที่ผ่านการผลิตที่ได้มาตรฐาน เพื่อให้น้าไหลเวียน ชะล้างสิ่งที่ตกค้าง
ในลาไส้ และกระเพาะอาหาร ช่วยให้หลับสบายมากยิ่งขึ้น
เวลาการนอนแต่ละช่วงอายุ-ช่วงวัย
วัยทารก
ทารกมีพัฒนาการที่รวดเร็วมาก ต้องการ 17 ชั่วโมงของการนอนหลับแต่ละวันเพื่อรับมือกับเรื่องนี้
และช่วยให้พวกเขามีเวลาในการเรียนรู้สิ่งใหม่ ๆเมื่อเกิดมาใหม่ ๆ นาฬิกาชีวิตของทารก
ยังพัฒนาไม่เต็มที่ จะใช้เวลา 6 เดือนแรกในการปรับตัวให้นอนหลับกลางคืนมากกว่ากลางวัน
มันจะเป็นการดีที่จะกาหนดกิจวัตรประจาให้กับทารก เมื่อเขาอายุ 6 ถึง 8 สัปดาห์
เพื่อช่วยเตรียมให้เขาหลับได้ดี ทารก เช่นเดียวกับผู้ใหญ่ มีการสลับแบบการนอนระหว่าง
การนอนหลับไม่สนิท และการนอนหลับสนิท อย่างไรก็ตามทารกมีสัดส่วนของเวลาที่
นอนหลับไม่สนิทสูงกว่าการนอนหลับสนิท ดังนั้นจึงตื่นง่ายกว่าผู้ใหญ่ และมีการสลับแบบการนอน
สองแบบนี้ถี่กว่าผู้ใหญ่ ซึ่งทาให้มีการตื่นตอนกลางคืนบ่อย อย่างไรก็ตาม
ทารกมักจะหลับต่อด้วยตนเองภายในไม่กี่นาทีหลังตื่นตอนกลางคืน
วัยเด็กหัดเดิน
เด็กวัยหัดเดิน อยู่ไม่ค่อยนิ่ง ดังนั้นต้องการการพักผ่อนมาก เด็กอายุหนึ่งถึงสองปี
ต้องการนอนหลับระหว่าง 10 และ 13 ชั่วโมงต่อวัน พ่อแม่บางคนชอบที่จะให้ลูกตัวเองนอนหลับยาวไป
เลยในตอนกลางคืน ขณะที่บางคน ชอบให้เด็กหลับสั้น ๆในเวลากลางวัน
และนอนหลับกลางคืนสั้นลงกว่าเดิม พ่อแม่ของเด็กวัยนี้ คงต้องหารูปแบบการนอนที่ดีที่สุด
สาหรับทั้งตัวเองและลูกแล้วทาให้มันกลายเป็นรูปแบบกิจวัตรประจาสาหรับครอบครัว
วัยเด็กโต
เด็กโต ก็อยู่ไม่ค่อยนิ่ง มีการเรียนรู้ และการพัฒนา ในอัตราที่สูงมาก ดังนั้นพวกเขาจึงต้องการ
การพักผ่อนมากมาย สาหรับวัยนี้ ความต้องการในการนอนอาจแตกต่างกันไป
โดยทั่วไป ต้องการประมาณ 90-10 ชั่วโมง ของการนอนหลับตอนคืน
และจะค่อย ๆ ลดลงเมื่อโตขึ้น เช่นเดียวกับวัยอื่น ๆ เราไม่สามารถกาหนดระยะเวลาที่เหมาะสมลงไปตายตัว
แต่ในฐานะพ่อแม่ เราพิจารณาได้ว่าลูกนอนหลับเพียงพอไหม และเขาควรต้องการนอนนานเท่าใด
5
วัยรุ่น
วัยรุ่น โดยทั่วไปต้องการนอนประมาณ 9 ชั่วโมงในแต่ละคืน - แต่ พวกเขามักจะนอนไม่เพียงพอ
มันไม่ใช่เรื่องแปลก สาหรับวัยรุ่นที่ต้องการที่จะนอนดึกแล้วบ่นเกี่ยวกับการตื่นแต่เช้าเพื่อไปโรงเรียน
อย่างไรก็ตาม มีเหตุผลทางชีววิทยาที่อาจอธิบายเรื่องนี้
รูปแบบการนอนหลับตามธรรมชาติเปลี่ยนไปในวัยรุ่น ฮอร์โมนเมลาโทนิน ซึ่งเชื่อว่า
ช่วยให้เกิดความง่วง จะถูกสร้างขึ้นมาช้ากว่าที่เคยในตอนเย็นสาหรับวัยรุ่น – ทาให้รู้สึกง่วงนอนตอนดึก
มาก ๆ เรียกว่า โรคนาฬิกาชีวภาพเดินช้า นอกจากนั้น หากวัยรุ่นใช้อุปกรณ์บางอย่างก่อนนอน
เช่น คอมพิวเตอร์ หรือโทรศัพท์มือถือ การสัมผัสกับแสงและการกระตุ้นต่อจิตใจทาให้ชะลอความง่วง
จะดีที่สุดคือไม่ให้มี เครื่องคอมพิวเตอร์ หรือ โทรทัศน์ ในห้องนอนของวัยรุ่น
การพยายามให้วัยรุ่นนอนและตื่นเป็นเวลาเดิมทุกวันจะช่วยให้วัยรุ่นได้รับการนอนหลับ
ที่พวกเขาต้องการ
วัยผู้ใหญ่
โดยทั่วไปผู้ใหญ่ต้องการการนอนหลับ 7 – 8 ชั่วโมง แต่บางคน สามารถทางานได้หลังจากนอนหลับ
เล็กน้อย เราสามารถอดนอนได้เป็นครั้งคราว – ซึ่งทาให้เพียงแค่รู้สึกเหนื่อยล้าในวันถัดไป
การขาดการนอนหลับอย่างต่อเนื่อง ( นอนไม่หลับ ) อาจส่งผลกระทบทั้งทางร่างกายและจิตใจ
ซึ่งอาจส่งผลต่อความสามารถในการทางานอย่างมีประสิทธิภาพ ในบางกิจกรรม เช่น การขับรถอย่างปลอดภัย
ควรพบแพทย์หากมีปัญหาการนอนหลับและส่งผลต่อความสามารถในการทางาน
ในระหว่างวัน แพทย์อาจจะให้คาแนะนาเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อมเพื่อให้
นอนหลับได้ดีขึ้น หรือส่งต่อไปยังแพทย์เฉพาะทางผู้เชี่ยวชาญ
ผู้สูงอายุ
อายุที่มากขึ้นไม่ทาให้ความต้องการนอนหลับลดลง ผู้สูงอายุยังคงต้องการนอนหลับแปดชั่วโมง
อย่างไรก็ตาม การหลับสนิทจะลดลงเมื่ออายุมากขึ้น ทาให้ตื่นง่ายขึ้นหลังจากนอนไปได้3 – 4 ชั่วโมง
และหลับต่อได้ยากขึ้น ปัญหาสุขภาพ อื่น ๆ เช่น ต่อมลูกหมาก โรคข้อเสื่อม ความวิตกกังวล
และภาวะซึมเศร้าอาจส่งผลกระทบต่อปริมาณและคุณภาพของการนอนหลับ
หากนอนหลับไม่เพียงพอในเวลากลางคืนก็จะรู้สึกง่วงนอนในระหว่างวัน
นอกจากนั้นผู้สูงอายุมักจะหลับเร็วขึ้นและตื่นเช้าขึ้นกว่าเดิม
การปรับเปลี่ยนรูปแบบการนอนหลับ เช่น หลังการเดินทางโดยเครื่องบิน ก็รู้สึกจะยากขึ้น เมื่ออายุมากขึ้น
เทคนิคในการช่วยให้นอนหลับสบายเพื่อสุขภาพร่างกายและผิวพรรณที่ดี
1.จัดตารางเวลาการนอนให้เหมาะสมและเป็นเวลา ซึ่งความต้องการในการนอนหลับของคนเราขึ้นอยู่กับช่วงอายุหรือ
วัย ยิ่งอายุน้อยยิ่งต้องการนอนมากและความต้องการนอนหลับสาหรับผู้ใหญ่โดยทั่วไปแล้วประมาณ 7-8 ชั่วโมงต่อวัน
นอกจากนี้ช่วงเวลาเข้านอนก็เป็นสิ่งสาคัญ เพราะฮอร์โมนและสารต่างๆ ที่จาเป็นในการก่อให้เกิดสุขภาพร่างกายและ
ผิวพรรณที่ดีจะผลิตเป็นเวลาตามที่ร่างกายกาหนด เวลาที่แนะนาให้ควรเข้านอนไม่ควรจะเกิน 4 ทุ่มของแต่ละคืน
6
2.สร้างบรรยากาศในห้องนอนให้เหมาะสม เช่น ห้องนอนควรจะเงียบ ไม่มีเสียงรบกวน อุณหภูมิในห้องต้องเย็นพอดี
และควรจะปิดไฟให้มืด นอกจากนี้ไม่ควรนาอุปกรณ์หรือสิ่งอานวยความสะดวกอื่นๆ เข้าไปไว้ในห้องนอนเช่น
คอมพิวเตอร์ หรือโต๊ะทางานจะทาให้เรารู้สึกกังวลตลอดเวลาจนเกิดอาการนอนไม่หลับ
3.ควรเลือกหมอนและเตียงนอนให้เหมาะสมกับสรีระของร่างกาย รวมทั้งหมั่นเปลี่ยนผ้าปูที่นอนและปลอกหมอนหรือ
นามาซักทุกอาทิตย์เพื่อจะได้ช่วยลดการสะสมของฝุ่นและไรซึ่งอาจทาให้ผิวหน้าอ่อนแอ เกิดสิว และอาจเป็นโรค
ภูมิแพ้ได้ง่ายขึ้น
4.หากิจกรรมที่ช่วยผ่อนคลายร่างกายก่อนนอน เช่น การอาบน้าอุ่น ฟังเพลงจังหวะสบายๆ หรือการนั่งสมาธิซึ่งช่วยให้
ร่างกายหลั่งสารเอนโดรฟีน(Endorphine) ออกมา ทาให้ร่างกายรู้สึกผ่อนคลายและช่วยให้นอนหลับได้สบายยิ่งขึ้น
5.ท่านอนหงายเป็นท่านอนที่ดีต่อสุขภาพเพราะเป็นท่านอนที่ไม่มีอะไรมากดทับหน้าอกช่วยให้ระบบทางเดินหายใจ
ทางานได้อย่างคล่องตัวที่สุด เมื่อนอนหงายกระดูกสันหลังจะได้รับการรองรับจากที่นอนทาให้สามารถวางตัวอยู่ใน
แนวธรรมชาติได้ดีที่สุด (ยกเว้นผู้ป่วยหรือสตรีมีครรภ์) นอกจากนี้ท่านอนหงายจะช่วยให้หลีกเลี่ยงการเกิดริ้วรอยบน
ใบหน้าได้ดีที่สุดเพราะการนอนตะแคงหรือการนอนคว่านานๆ จะทาให้เกิดแรงกดทับซึ่งก่อให้เกิดริ้วรอยบนใบหน้า
6.กดจุดบริเวณใบหน้าก่อนนอนด้วยการใช้ปลายนิ้วนวดวนเป็นวงกลมไปเรื่อยๆ ตามหัวคิ้ว ขมับ ร่องจมูก คาง และมุม
ปาก ช่วยให้การนอนหลับสบายและหลับสนิทขึ้น
7.กลิ่นของน้ามันหอมระเหย ได้แก่ น้ามันหอมระเหยจากลาเวนเดอร์ จะช่วยให้ความรู้สึกที่ผ่อนคลายและช่วยให้การ
นอนหลับสบายยิ่งขึ้น
8.หลีกเลี่ยงเครื่องดื่มที่มีส่วนผสมของคาเฟอีน เช่น ชา กาแฟ หรือน้าอัดลม เพราะคาเฟอีนจะกระตุ้นให้ร่างกายตื่นตัว
ทาให้นอนหลับได้ยาก จึงแนะนาให้ดื่มชาคาโมมายด์อุ่นๆ หรือนมอุ่นๆ ก่อนนอน เพื่อช่วยให้นอนหลับได้ดีขึ้น แต่ไม่
ควรดื่มน้ามากก่อนเข้านอนเพราะอาจทาให้ต้องตื่นกลางดึกบ่อยๆ เพื่อมาเข้าห้องน้า นอกจากนี้อาหารจาพวกมันเทศ
เผือก กลอย ข้าวกล้อง ขนมปังโฮลวีต และผลิตภัณฑ์โฮลเกรนต่างๆ ช่วยให้ร่างกายผลิตสารเซโรโทนิน (serotonin) ทา
ให้นอนหลับสบาย
ประโยชน์ของการนอนหลับ
การนอนหลับอย่างเพียงพอถือเป็นสิ่งสาคัญของชีวิต เพราะมีประโยชน์หลายประการ อาทิ ทาให้สุขภาพดี ไม่เป็นโรค
ร้ายแรงต่างๆ อย่างโรคหัวใจ ความดันต่า โรคเบาหวาน ซึ่งล้วนเกิดจากการนอนไม่หลับต่อเนื่องเป็นเวลานานทั้งสิ้น
การนอนหลับอย่างเพียงพอยังช่วยให้ฉลาดและความจาดีขึ้น เพราะการนอนหลับอย่างเต็มที่จะช่วยทาให้ไม่ลืม
สิ่งต่างๆ ที่กักเก็บข้อมูลมาทั้งวัน ทาให้สามารถทาสิ่งเหล่านั้นในวันต่อไปได้อย่างถูกต้องแม่นยา แถมยังช่วยให้เข้าใจ
และเรียนรู้สิ่งใหม่ๆ ได้รวดเร็วยิ่งขึ้นด้วย และการนอนหลับอย่างเพียงพอยังทาให้มีรูปร่างที่ดีได้เนื่องจากการนอนจะ
ช่วยให้ระบบการเผาพลาญสามารถทางานได้ดีนั่นเอง จะเห็นได้ว่า หากเราสามารถนอนหลับได้อย่างเพียงพอแล้ว ย่อม
ทาให้เรามีสุขภาพดีทั้งภายนอกและภายใน
7
วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
___________________________________________________________________
___________________________________________________________________
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
___________________________________________________________________
___________________________________________________________________
___________________________________________________________________
งบประมาณ
___________________________________________________________________
___________________________________________________________________
___________________________________________________________________
__________________________________________________________________
___________________________________________________________________
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดับ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17
1 คิดหัวข้อโครงงาน
2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล
3 จัดทาโครงร่างงาน
4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน
5 ปรับปรุงทดสอบ
6 การทาเอกสารรายงาน
7 ประเมินผลงาน
8 นาเสนอโครงงาน
ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน)
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
8
สถานที่ดาเนินการ
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน)
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________

More Related Content

Similar to โครงร่าง

2557 โครงงาน
2557 โครงงาน2557 โครงงาน
2557 โครงงาน
bernfai_baifern
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
Wannakan Kkap
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
NetchanOk Maneechai
 

Similar to โครงร่าง (20)

โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงร่างรายงานคอม เดี่ยว
โครงร่างรายงานคอม เดี่ยวโครงร่างรายงานคอม เดี่ยว
โครงร่างรายงานคอม เดี่ยว
 
โครงร่างรายงานคอม เดี่ยว
โครงร่างรายงานคอม เดี่ยวโครงร่างรายงานคอม เดี่ยว
โครงร่างรายงานคอม เดี่ยว
 
Nutkamon1
Nutkamon1Nutkamon1
Nutkamon1
 
Bathbomb
BathbombBathbomb
Bathbomb
 
2562 final-project (2).docx
2562 final-project  (2).docx2562 final-project  (2).docx
2562 final-project (2).docx
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
2557 โครงงาน
2557 โครงงาน2557 โครงงาน
2557 โครงงาน
 
2557 โครงงาน คอม
2557 โครงงาน คอม 2557 โครงงาน คอม
2557 โครงงาน คอม
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
นางสาว ดรัญพร โกฏิเเก้ว
นางสาว ดรัญพร โกฏิเเก้วนางสาว ดรัญพร โกฏิเเก้ว
นางสาว ดรัญพร โกฏิเเก้ว
 
2562 final-project 11-thunyarat
2562 final-project 11-thunyarat2562 final-project 11-thunyarat
2562 final-project 11-thunyarat
 
Project2222
Project2222Project2222
Project2222
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
Thai a net
Thai a netThai a net
Thai a net
 
2561 project (21)
2561 project  (21)2561 project  (21)
2561 project (21)
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
 
2561 project -2
2561 project -22561 project -2
2561 project -2
 
โครงงานคอมเทอม2
โครงงานคอมเทอม2โครงงานคอมเทอม2
โครงงานคอมเทอม2
 

More from มิกกี้ มิกกี้ (6)

กิจกรรม3
กิจกรรม3กิจกรรม3
กิจกรรม3
 
กิจกรรม2
กิจกรรม2กิจกรรม2
กิจกรรม2
 
กิจกรรมที่4
กิจกรรมที่4กิจกรรมที่4
กิจกรรมที่4
 
ใบงานที่5
ใบงานที่5ใบงานที่5
ใบงานที่5
 
ใบงานสำรวจตนเอง M6.
ใบงานสำรวจตนเอง M6.ใบงานสำรวจตนเอง M6.
ใบงานสำรวจตนเอง M6.
 
ใบงานที่1
ใบงานที่1ใบงานที่1
ใบงานที่1
 

โครงร่าง

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6 ปีการศึกษา 2560 ชื่อโครงงาน การพักผ่อนนอนหลับที่เหมาะสม ชื่อผู้ทาโครงงาน 1.ชื่อ นางสาว ศศิชา วิญญรัตน์ เลขที่ 34 ชั้น ม.6 ห้อง 4 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม 1.ชื่อ นางสาวศศิชา วิญญรัตน์ เลขที่ 34 คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) การพักผ่อนนอนหลับที่เหมาะสม ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) Appropriate sleep ประเภทโครงงาน ให้ความรู้เชิงสุขภาพ ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาว ศศิชา วิญญรัตน์ เลขที่ 34 ชั้น ม.6 ห้อง 4 ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ชื่อที่ปรึกษาร่วม - ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน ในปัจจุบันนี้ถ้าถามเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพให้ดีก็คงจะเป็นการออกกาลังกายหรือการรับประทานอาหารที่ ดี เช่น อาหารคลีน น้าผลไม้สดปั่น ฯลฯ แต่ทุกคนกลับลืมไปว่า การพักผ่อนนอนหลับให้เพียงพอนั้นก็เป็นการดูแล สุขภาพให้ดีอีกวิธีหนึ่งเช่นกัน เพราะในปัจจุบันคนก็หันไปออกกาลังกายโดยการเข้าฟิตเนสเพราะคิดว่าถ้าได้ออก กาลังกายแล้วสุขภาพก็จะดีตามรวมถึงการสั่งอาหารคลีนในเน็ตมาทานเพราะคิดว่าแค่กินอาหารดีสุขภาพก็จะดีตาม อีกเช่นกัน โดยลืมคานึงถึงการที่ต้องฟื้นฟูร่างกายหลังจากที่เราทากิจกรรมต่างๆเสร็จ โดยการนอนนั้นก็ต้องนอน อย่างถูกวิธีเพื่อให้ได้ประโยชน์สูงสุดจากการนอน แต่ถ้าหากคุณนอนผิดวิธี อาทิเช่น คนที่นอนตั้งแต่ 22.00-06.00 น. กับคนที่นอนตั้งแต่ 01.00-09.00 น. จะมีความกระฉับกระเฉงแตกต่างกัน อีกทั้งยังส่งผลต่อระบบการทางาน ภายในที่ไม่เหมือนกันอีกด้วย เพราะเนื่องจากอาชีพการงานไม่เอื้ออานวยต่อการนอนอย่างถูกวิธีจึงทาให้เกิดการ พักผ่อนไม่เพียงพอและหลงลืมวิธีการนอนที่ถูกต้องอีกด้วย นอกจากนี้เตียง ท่านอน ชุดนอน และแสงไฟต่างๆ ก็ยัง ส่งผลต่อการนอนว่าคุณจะตื่นมาพร้อมสุขภาพที่ดีหรือแย่ได้อีกด้วย โดยจะมีวิธีหรือเทคนิคในการนอนแบบถูกวิธี
  • 3. 3 และการนอนให้เหมาะสมกับเวลาและแต่ละช่วงวัยอีกด้วย ด้วยเหตุนี้จึงสนใจศึกษาเรื่องของการพักผ่อนนอนหลับ ที่เหมาะสม วัตถุประสงค์ 1.ศึกษาการพักผ่อนที่เหมาะสม 2.ศึกษาวิธีการนอนหลับแบบถูกวิธี 3.ศึกษาระยะเวลาของการนอนแต่ละช่วงวัย 4.เพื่อศึกษาประโยชน์ของการนอนหลับพักผ่อน ขอบเขตโครงงาน การศึกษาดังกล่าวเป็นเพียงการศึกษาวิธีการนอนหลับพักผ่อนให้เหมาะสมกับแต่ละช่วงวัย หลักการและทฤษฎี การพักผ่อน หมายถึง การหยุดพักการปฏิบัติกิจกรรมที่ก่อให้เกิดภาวะความตึงเครียดหรือความเมื่อยล้าที่ เกิดขึ้นกับร่างกายและจิตใจของเรา การนอนหลับ เป็นการพักผ่อนที่สาคัญ การพักผ่อนเป็นสิ่งที่จาเป็นต่อมนุษย์ทุก คน มีอยู่หลายลักษณะ ทั้งการหยุดพักชั่วคราวขณะปฏิบัติกิจกรรม การนอน-หลับ และรวมถึงการทากิจกรรมต่างๆ ที่ทาให้เกิดความเพลิดเพลินด้วย เช่น การปั่นจักรยาน การร้องเพลง เป็นต้น เพราะการพักผ่อนที่ชาร์จพลังชีวิตได้ดี ที่สุดคือ “การนอน” แต่เชื่อหรือไม่ว่าแม้คุณจะนอนได้ในระยะเวลา 8 ชั่วโมงตามที่แพทย์หรือนักดูแลสุขภาพ ทั้งหลายต่างออกมาแนะนาว่าดีที่สุด แต่มันอาจไม่ได้ส่งผลดีต่อสุขภาพเฉกเช่นคนอื่นๆ ก็เป็นได้หากคุณนอนผิด วิธี อาทิเช่น คนที่นอนตั้งแต่ 22.00-06.00 น. กับคนที่นอนตั้งแต่ 01.00-09.00 น. จะมีความกระฉับกระเฉงแตกต่าง กัน อีกทั้งยังส่งผลต่อระบบการทางานภายในที่ไม่เหมือนกันอีกด้วย นอกจากนี้เตียง ท่านอน ชุดนอน และแสงไฟ ต่างๆ ก็ยังส่งผลต่อการนอนว่าคุณจะตื่นมาพร้อมสุขภาพที่ดีหรือแย่ได้อีกด้วย วิธีง่ายๆ ในการนอนเพื่อให้ได้สุขภาพดี ขั้นแรก เริ่มจากเปลี่ยนทัศนคติเรื่องการนอนใหม่ ควรให้สาคัญกับเรื่องนี้ให้มากขึ้น คิดว่าเป็นการชาร์จพลังงาน ร่างกายให้สดชื่นกระปรี้กระเปร่าในวันถัดไป และหากใครคิดว่าการนอนดึกตื่นสายเป็นการนอนที่ถูกต้อง เพราะ ใช้เวลานอนเท่ากับนอนเร็วตื่นเช้า ความจริงแล้วเป็นสิ่งที่ผิด เพราะการนอนแต่หัวค่าและตื่นเช้าจะทาให้ร่างกายมี ความกระปรี้กระเปร่าในการทางานได้ดีกว่า เข้านอนให้เป็นเวลา ซึ่งช่วงเวลานอนที่เหมาะสมที่สุด ไม่เว้นวันหยุด คือ 22.00-06.00น. เพราะร่างกายจะพักผ่อน ได้เต็มที่จากการหลับลึกในช่วงครึ่งแรกของการนอน การเข้านอนเป็นเวลาจะช่วยสร้างความเคยชินให้กับร่างกาย ทาให้ระบบต่างๆ ทางานได้อย่างมีประสิทธิภาพเป็นประจา สภาพแวดล้อมของห้องนอนเป็นสิ่งสาคัญอีกเรื่องหนึ่ง ที่ช่วยให้การนอนมีสุขภาพที่ดี ไล่มาตั้งแต่ลักษณะของ เตียงนอนที่มีขนาดเหมาะสม มีความสบายไม่ทาให้อึดอัดเวลานอน ควรใช้ที่นอนที่ยัดด้วยนุ่น เพราะไม่แข็งหรือ นุ่มจนเกินไป หมอนหนุนคอควรเลือกที่มีความนุ่มและขนาดที่พอดี เพราะหมอนมีส่วนช่วยรองรับกระดูกสันหลัง ส่วนคอให้อยู่ในแนวโค้งที่ปกติ ภายในห้องนอนควรหรี่ไฟให้สลัวก่อนเข้านอนประมาณ 1 ชั่วโมง เพื่อเตรียม
  • 4. 4 สมองว่าถึงเวลาพักผ่อนแล้ว รวมทั้งปรับอุณหภูมิเครื่องปรับอากาศในห้องให้พอดีไม่หนาวหรือร้อนเกินไป และ ปิดโทรทัศน์ให้เรียบร้อยก่อนนอน ป้ องกันแสงและเสียงจากโทรทัศน์มารบกวน ท่าทางการนอน เนื่องจากในขณะที่หลับกล้ามเนื้อรอบๆ คอจะคลายตัว หากคออยู่ในท่าที่ไม่ดี ตื่นมาอาจปวดคอ หรือคอแข็งได้ส่วนท่านอนที่ดีที่สุด ควร “นอนตะแคงขวา”เพราะจะช่วยให้หัวใจเต้นสะดวก อาหารจากกระเพาะ จะถูกบีบลงลาไส้เล็กได้ดี ทั้งยังช่วยบรรเทาอาการปวดหลังได้ด้วย ท่าที่ควรหลีกเลี่ยงคือ การนอนคว่า เพราะเป็น ท่านอนที่ทาให้หายใจติดขัด และปวดต้นคอ เตรียมตัวก่อนนอนการอาบน้าอุ่นประมาณ 45 นาทีก่อนเข้านอน เพื่อช่วยให้กล้ามเนื้อและจิตใจผ่อนคลาย ชุดนอน ควรเลือกผ้าที่สวมใส่สบาย ไม่ระคายเคืองผิว อาจเลือกดื่มเครื่องดื่มเบาๆ ซักแก้ว อย่างชาคาโมไมล์อุ่นๆ จะช่วยให้ รู้สึกผ่อนคลายมากขึ้น หรือดื่มน้าสะอาดอุ่นๆ ที่ผ่านการผลิตที่ได้มาตรฐาน เพื่อให้น้าไหลเวียน ชะล้างสิ่งที่ตกค้าง ในลาไส้ และกระเพาะอาหาร ช่วยให้หลับสบายมากยิ่งขึ้น เวลาการนอนแต่ละช่วงอายุ-ช่วงวัย วัยทารก ทารกมีพัฒนาการที่รวดเร็วมาก ต้องการ 17 ชั่วโมงของการนอนหลับแต่ละวันเพื่อรับมือกับเรื่องนี้ และช่วยให้พวกเขามีเวลาในการเรียนรู้สิ่งใหม่ ๆเมื่อเกิดมาใหม่ ๆ นาฬิกาชีวิตของทารก ยังพัฒนาไม่เต็มที่ จะใช้เวลา 6 เดือนแรกในการปรับตัวให้นอนหลับกลางคืนมากกว่ากลางวัน มันจะเป็นการดีที่จะกาหนดกิจวัตรประจาให้กับทารก เมื่อเขาอายุ 6 ถึง 8 สัปดาห์ เพื่อช่วยเตรียมให้เขาหลับได้ดี ทารก เช่นเดียวกับผู้ใหญ่ มีการสลับแบบการนอนระหว่าง การนอนหลับไม่สนิท และการนอนหลับสนิท อย่างไรก็ตามทารกมีสัดส่วนของเวลาที่ นอนหลับไม่สนิทสูงกว่าการนอนหลับสนิท ดังนั้นจึงตื่นง่ายกว่าผู้ใหญ่ และมีการสลับแบบการนอน สองแบบนี้ถี่กว่าผู้ใหญ่ ซึ่งทาให้มีการตื่นตอนกลางคืนบ่อย อย่างไรก็ตาม ทารกมักจะหลับต่อด้วยตนเองภายในไม่กี่นาทีหลังตื่นตอนกลางคืน วัยเด็กหัดเดิน เด็กวัยหัดเดิน อยู่ไม่ค่อยนิ่ง ดังนั้นต้องการการพักผ่อนมาก เด็กอายุหนึ่งถึงสองปี ต้องการนอนหลับระหว่าง 10 และ 13 ชั่วโมงต่อวัน พ่อแม่บางคนชอบที่จะให้ลูกตัวเองนอนหลับยาวไป เลยในตอนกลางคืน ขณะที่บางคน ชอบให้เด็กหลับสั้น ๆในเวลากลางวัน และนอนหลับกลางคืนสั้นลงกว่าเดิม พ่อแม่ของเด็กวัยนี้ คงต้องหารูปแบบการนอนที่ดีที่สุด สาหรับทั้งตัวเองและลูกแล้วทาให้มันกลายเป็นรูปแบบกิจวัตรประจาสาหรับครอบครัว วัยเด็กโต เด็กโต ก็อยู่ไม่ค่อยนิ่ง มีการเรียนรู้ และการพัฒนา ในอัตราที่สูงมาก ดังนั้นพวกเขาจึงต้องการ การพักผ่อนมากมาย สาหรับวัยนี้ ความต้องการในการนอนอาจแตกต่างกันไป โดยทั่วไป ต้องการประมาณ 90-10 ชั่วโมง ของการนอนหลับตอนคืน และจะค่อย ๆ ลดลงเมื่อโตขึ้น เช่นเดียวกับวัยอื่น ๆ เราไม่สามารถกาหนดระยะเวลาที่เหมาะสมลงไปตายตัว แต่ในฐานะพ่อแม่ เราพิจารณาได้ว่าลูกนอนหลับเพียงพอไหม และเขาควรต้องการนอนนานเท่าใด
  • 5. 5 วัยรุ่น วัยรุ่น โดยทั่วไปต้องการนอนประมาณ 9 ชั่วโมงในแต่ละคืน - แต่ พวกเขามักจะนอนไม่เพียงพอ มันไม่ใช่เรื่องแปลก สาหรับวัยรุ่นที่ต้องการที่จะนอนดึกแล้วบ่นเกี่ยวกับการตื่นแต่เช้าเพื่อไปโรงเรียน อย่างไรก็ตาม มีเหตุผลทางชีววิทยาที่อาจอธิบายเรื่องนี้ รูปแบบการนอนหลับตามธรรมชาติเปลี่ยนไปในวัยรุ่น ฮอร์โมนเมลาโทนิน ซึ่งเชื่อว่า ช่วยให้เกิดความง่วง จะถูกสร้างขึ้นมาช้ากว่าที่เคยในตอนเย็นสาหรับวัยรุ่น – ทาให้รู้สึกง่วงนอนตอนดึก มาก ๆ เรียกว่า โรคนาฬิกาชีวภาพเดินช้า นอกจากนั้น หากวัยรุ่นใช้อุปกรณ์บางอย่างก่อนนอน เช่น คอมพิวเตอร์ หรือโทรศัพท์มือถือ การสัมผัสกับแสงและการกระตุ้นต่อจิตใจทาให้ชะลอความง่วง จะดีที่สุดคือไม่ให้มี เครื่องคอมพิวเตอร์ หรือ โทรทัศน์ ในห้องนอนของวัยรุ่น การพยายามให้วัยรุ่นนอนและตื่นเป็นเวลาเดิมทุกวันจะช่วยให้วัยรุ่นได้รับการนอนหลับ ที่พวกเขาต้องการ วัยผู้ใหญ่ โดยทั่วไปผู้ใหญ่ต้องการการนอนหลับ 7 – 8 ชั่วโมง แต่บางคน สามารถทางานได้หลังจากนอนหลับ เล็กน้อย เราสามารถอดนอนได้เป็นครั้งคราว – ซึ่งทาให้เพียงแค่รู้สึกเหนื่อยล้าในวันถัดไป การขาดการนอนหลับอย่างต่อเนื่อง ( นอนไม่หลับ ) อาจส่งผลกระทบทั้งทางร่างกายและจิตใจ ซึ่งอาจส่งผลต่อความสามารถในการทางานอย่างมีประสิทธิภาพ ในบางกิจกรรม เช่น การขับรถอย่างปลอดภัย ควรพบแพทย์หากมีปัญหาการนอนหลับและส่งผลต่อความสามารถในการทางาน ในระหว่างวัน แพทย์อาจจะให้คาแนะนาเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อมเพื่อให้ นอนหลับได้ดีขึ้น หรือส่งต่อไปยังแพทย์เฉพาะทางผู้เชี่ยวชาญ ผู้สูงอายุ อายุที่มากขึ้นไม่ทาให้ความต้องการนอนหลับลดลง ผู้สูงอายุยังคงต้องการนอนหลับแปดชั่วโมง อย่างไรก็ตาม การหลับสนิทจะลดลงเมื่ออายุมากขึ้น ทาให้ตื่นง่ายขึ้นหลังจากนอนไปได้3 – 4 ชั่วโมง และหลับต่อได้ยากขึ้น ปัญหาสุขภาพ อื่น ๆ เช่น ต่อมลูกหมาก โรคข้อเสื่อม ความวิตกกังวล และภาวะซึมเศร้าอาจส่งผลกระทบต่อปริมาณและคุณภาพของการนอนหลับ หากนอนหลับไม่เพียงพอในเวลากลางคืนก็จะรู้สึกง่วงนอนในระหว่างวัน นอกจากนั้นผู้สูงอายุมักจะหลับเร็วขึ้นและตื่นเช้าขึ้นกว่าเดิม การปรับเปลี่ยนรูปแบบการนอนหลับ เช่น หลังการเดินทางโดยเครื่องบิน ก็รู้สึกจะยากขึ้น เมื่ออายุมากขึ้น เทคนิคในการช่วยให้นอนหลับสบายเพื่อสุขภาพร่างกายและผิวพรรณที่ดี 1.จัดตารางเวลาการนอนให้เหมาะสมและเป็นเวลา ซึ่งความต้องการในการนอนหลับของคนเราขึ้นอยู่กับช่วงอายุหรือ วัย ยิ่งอายุน้อยยิ่งต้องการนอนมากและความต้องการนอนหลับสาหรับผู้ใหญ่โดยทั่วไปแล้วประมาณ 7-8 ชั่วโมงต่อวัน นอกจากนี้ช่วงเวลาเข้านอนก็เป็นสิ่งสาคัญ เพราะฮอร์โมนและสารต่างๆ ที่จาเป็นในการก่อให้เกิดสุขภาพร่างกายและ ผิวพรรณที่ดีจะผลิตเป็นเวลาตามที่ร่างกายกาหนด เวลาที่แนะนาให้ควรเข้านอนไม่ควรจะเกิน 4 ทุ่มของแต่ละคืน
  • 6. 6 2.สร้างบรรยากาศในห้องนอนให้เหมาะสม เช่น ห้องนอนควรจะเงียบ ไม่มีเสียงรบกวน อุณหภูมิในห้องต้องเย็นพอดี และควรจะปิดไฟให้มืด นอกจากนี้ไม่ควรนาอุปกรณ์หรือสิ่งอานวยความสะดวกอื่นๆ เข้าไปไว้ในห้องนอนเช่น คอมพิวเตอร์ หรือโต๊ะทางานจะทาให้เรารู้สึกกังวลตลอดเวลาจนเกิดอาการนอนไม่หลับ 3.ควรเลือกหมอนและเตียงนอนให้เหมาะสมกับสรีระของร่างกาย รวมทั้งหมั่นเปลี่ยนผ้าปูที่นอนและปลอกหมอนหรือ นามาซักทุกอาทิตย์เพื่อจะได้ช่วยลดการสะสมของฝุ่นและไรซึ่งอาจทาให้ผิวหน้าอ่อนแอ เกิดสิว และอาจเป็นโรค ภูมิแพ้ได้ง่ายขึ้น 4.หากิจกรรมที่ช่วยผ่อนคลายร่างกายก่อนนอน เช่น การอาบน้าอุ่น ฟังเพลงจังหวะสบายๆ หรือการนั่งสมาธิซึ่งช่วยให้ ร่างกายหลั่งสารเอนโดรฟีน(Endorphine) ออกมา ทาให้ร่างกายรู้สึกผ่อนคลายและช่วยให้นอนหลับได้สบายยิ่งขึ้น 5.ท่านอนหงายเป็นท่านอนที่ดีต่อสุขภาพเพราะเป็นท่านอนที่ไม่มีอะไรมากดทับหน้าอกช่วยให้ระบบทางเดินหายใจ ทางานได้อย่างคล่องตัวที่สุด เมื่อนอนหงายกระดูกสันหลังจะได้รับการรองรับจากที่นอนทาให้สามารถวางตัวอยู่ใน แนวธรรมชาติได้ดีที่สุด (ยกเว้นผู้ป่วยหรือสตรีมีครรภ์) นอกจากนี้ท่านอนหงายจะช่วยให้หลีกเลี่ยงการเกิดริ้วรอยบน ใบหน้าได้ดีที่สุดเพราะการนอนตะแคงหรือการนอนคว่านานๆ จะทาให้เกิดแรงกดทับซึ่งก่อให้เกิดริ้วรอยบนใบหน้า 6.กดจุดบริเวณใบหน้าก่อนนอนด้วยการใช้ปลายนิ้วนวดวนเป็นวงกลมไปเรื่อยๆ ตามหัวคิ้ว ขมับ ร่องจมูก คาง และมุม ปาก ช่วยให้การนอนหลับสบายและหลับสนิทขึ้น 7.กลิ่นของน้ามันหอมระเหย ได้แก่ น้ามันหอมระเหยจากลาเวนเดอร์ จะช่วยให้ความรู้สึกที่ผ่อนคลายและช่วยให้การ นอนหลับสบายยิ่งขึ้น 8.หลีกเลี่ยงเครื่องดื่มที่มีส่วนผสมของคาเฟอีน เช่น ชา กาแฟ หรือน้าอัดลม เพราะคาเฟอีนจะกระตุ้นให้ร่างกายตื่นตัว ทาให้นอนหลับได้ยาก จึงแนะนาให้ดื่มชาคาโมมายด์อุ่นๆ หรือนมอุ่นๆ ก่อนนอน เพื่อช่วยให้นอนหลับได้ดีขึ้น แต่ไม่ ควรดื่มน้ามากก่อนเข้านอนเพราะอาจทาให้ต้องตื่นกลางดึกบ่อยๆ เพื่อมาเข้าห้องน้า นอกจากนี้อาหารจาพวกมันเทศ เผือก กลอย ข้าวกล้อง ขนมปังโฮลวีต และผลิตภัณฑ์โฮลเกรนต่างๆ ช่วยให้ร่างกายผลิตสารเซโรโทนิน (serotonin) ทา ให้นอนหลับสบาย ประโยชน์ของการนอนหลับ การนอนหลับอย่างเพียงพอถือเป็นสิ่งสาคัญของชีวิต เพราะมีประโยชน์หลายประการ อาทิ ทาให้สุขภาพดี ไม่เป็นโรค ร้ายแรงต่างๆ อย่างโรคหัวใจ ความดันต่า โรคเบาหวาน ซึ่งล้วนเกิดจากการนอนไม่หลับต่อเนื่องเป็นเวลานานทั้งสิ้น การนอนหลับอย่างเพียงพอยังช่วยให้ฉลาดและความจาดีขึ้น เพราะการนอนหลับอย่างเต็มที่จะช่วยทาให้ไม่ลืม สิ่งต่างๆ ที่กักเก็บข้อมูลมาทั้งวัน ทาให้สามารถทาสิ่งเหล่านั้นในวันต่อไปได้อย่างถูกต้องแม่นยา แถมยังช่วยให้เข้าใจ และเรียนรู้สิ่งใหม่ๆ ได้รวดเร็วยิ่งขึ้นด้วย และการนอนหลับอย่างเพียงพอยังทาให้มีรูปร่างที่ดีได้เนื่องจากการนอนจะ ช่วยให้ระบบการเผาพลาญสามารถทางานได้ดีนั่นเอง จะเห็นได้ว่า หากเราสามารถนอนหลับได้อย่างเพียงพอแล้ว ย่อม ทาให้เรามีสุขภาพดีทั้งภายนอกและภายใน
  • 7. 7 วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ งบประมาณ ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ __________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดับ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 1 คิดหัวข้อโครงงาน 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล 3 จัดทาโครงร่างงาน 4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน 5 ปรับปรุงทดสอบ 6 การทาเอกสารรายงาน 7 ประเมินผลงาน 8 นาเสนอโครงงาน ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน) _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________
  • 8. 8 สถานที่ดาเนินการ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน) _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________