SlideShare a Scribd company logo
1 of 5
Download to read offline
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5
ปีการศึกษา 2562
ชื่อโครงงาน 6 หัวใจสาคัญ ของการใช้จิตวิทยาเชิงบวกปรับพฤติกรรมลูก
ชื่อผู้ทาโครงงาน
ชื่อ น.ส.ดรัญพร โกฏิแก้ว เลขที่ 9 ชั้น ม.6 ห้อง 11
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงานร่วม (ถ้ามี)…………………………………………………
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 62
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิกในกลุ่ม
1 น.ส.ดรัญพร โกฏิแก้ว เลขที่ 9
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
6 หัวใจสาคัญ ของการใช้จิตวิทยาเชิงบวกปรับพฤติกรรมลูก
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
6 key points of using positive psychology to adjust child behavior
ประเภทโครงงาน : การให้ความรู้เกี่ยวกับการวิจัยในการใช้จิตวิทยาในการเลี้งลูก
ชื่อผู้ทาโครงงาน : น.ส.ดรัญพร โกฏิแก้ว
ชื่อที่ปรึกษา : ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน : 11 กันยายน 2562 – 30 กันยายน 2562
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน)
เกิดปัญหาจากการที่พ่อ แม่ ไม่เข้าใจลูกหรือไม่รับฟังปัญหาของลูก การเลี้ยงลูกด้วยจิตวิทยาเชิงบวกได้รับ
ความสนใจจากคุณพ่อคุณแม่ยุคใหม่ที่อยากนามาปรับใช้ในการเลี้ยงลูกกันมากขึ้น กุมารแพทย์และผู้เชี่ยวชาญด้าน
พัฒนาการเด็ก รวมไปถึงเพจว่าด้วยการเลี้ยงลูกและหนังสือสาหรับพ่อแม่หลายต่อหลายเล่มต่างแนะนาว่า จิตวิทยา
เชิงบวกคือหนทางที่ไม่เพียงสามารถเชื่อมความสัมพันธ์ในครอบครัวระหว่างพ่อแม่ผู้ปกครองและลูกอย่างได้ผล
แนวทางนี้ยังมีงานวิจัยและหลักการทางวิทยาศาสตร์ที่เป็นเหตุเป็นผลอธิบายการแสดงออกทางพฤติกรรมและวิธีปรับ
พฤติกรรมของลูกซึ่งพ่อแม่สามารถปฏิบัติได้จริง เด็กทุกคนเกิดมาเพื่อเป็นเจ้าของชีวิตตัวเองแต่แล้วความสั่นคลอนก็
เริ่มมาเยือนโดยปกติแล้วเด็กเล็กช่วงอายุ 0-7 ปี จะเป็นช่วงที่ติดแม่มาก อันนี้ไม่ใช่เรื่องแปลก เพราะแม่เป็นแหล่ง
พึ่งพิงทั้งทางกาย (กินนม) และใจ (ความรู้สึกไว้วางใจมนุษย์และโลก) ช่วงขวบปีแรกของทารกเป็นช่วงเวลาการสร้าง
ความรู้สึกไว้วางใจโลก (trust & attachment) ช่วง 1-3 ปี เป็นช่วงเวลาของการสร้างตัวตน (self) ช่วงวัย 4-6
ปี เป็นช่วงของการริเริ่มสิ่งใหม่ (self -esteem) หลังจากนั้นคืออายุ 7-14 ปี เด็กจะต้องเริ่มสร้างตัวตนของตัวเอง
ขึ้นมาใหม่โดยไม่พึ่งพิงกับแม่อีก เพื่อพิสูจน์ความสามารถในการควบคุมตนเอง (self-control) ในกรณีเด็กหญิง แม่
อาจเห็นความเปลี่ยนแปลงไม่ชัดเจนนัก (เพราะเด็กผู้หญิงจะยังมีแม่เป็นแบบอย่างไปอีกหนึ่งช่วงวัย) แต่สาหรับฉันที่มี
ลูกชาย การเปลี่ยนแปลงนี้มันเข้ามาเร็วมากจนเราไม่ได้ตั้งตัว ฉะนั้นเด็ดทุกคนจะไม่ชอบเวลาที่พ่อ แม่บ่นหรือจู้จี้ เรา
ได้สังเกตว่าเด็ดที่เข้าสู่วัยรุ่นมักจะต้องการเหตุผลมากกว่าที่จะต้องมานั่งฟังพ่อ แม่ หรือมีคนตามพ่อ แม่ ต้องใช้เหตุผล
กับลูกให้มากๆหรือให้การสนับสนุนในกิจกรรมต่างๆที่ลูกสนใจแต่ก็ต้องสนับสนุนให้เหมาะสมกับวัยของลูกด้วย
3
วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ)
1. นาหลักการอันเป็นเหตุเป็นผลทางวิทยาศาสตร์ และการศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อชีวิตมาพัฒนาคุณภาพชีวิต
มนุษย์ให้เป็นคนดีและมีความสุข
2. โฟกัสไปที่จุดแข็งของบุคคลและปัจจัยแวดล้อมที่มีอิทธิพล เช่น พ่อแม่ เพื่อน ครู ชุมชนหรือสังคม
ความสัมพันธ์กับปัจจัยแวดล้อมเหล่านั้นจะส่งผลต่อความสุข
ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน)
การเลี้ยงลูกเชิงบวกนั้นตั้งอยู่บนหลักจิตวิทยาเชิงบวก (Positive Psychology) จิตวิทยาดั้งเดิมนั้นเน้น
เฉพาะอาการปัญหาของโรคกับวิธีรักษาเป็นหลัก ในขณะที่จิตวิทยาเชิงบวกแตกออกมาด้วยจุดประสงค์ที่จะนา
หลักการอันเป็นเหตุเป็นผลทางวิทยาศาสตร์ และการศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อชีวิตมาพัฒนาคุณภาพชีวิตมนุษย์ให้
เป็นคนดีและมีความสุข โดยโฟกัสไปที่จุดแข็งของบุคคลและปัจจัยแวดล้อมที่มีอิทธิพล เช่น พ่อแม่ เพื่อน ครู ชุมชน
หรือสังคม ความสัมพันธ์กับปัจจัยแวดล้อมเหล่านั้นจะส่งผลต่อความสุข การมองโลกในแง่บวก การปรับตัวยืดหยุ่น
ความฉลาดทางอารมณ์ ความคิดสร้างสรรค์ ความรู้สึกที่ดีต่อตนเองและผู้อื่น
หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน)
1. ความอบอุ่นปลอดภัย และไว้วางใจระหว่างกัน ข้อนี้สาคัญเป็นอันดับหนึ่ง วิธีคิด และคุณค่าความดีงามจะ
งอกงามขึ้นในใจเขาได้หรือไม่ขึ้นอยู่กับว่าลูกได้รับความรัก ความเอาใจใส่เพียงพอหรือไม่ ความรู้สึกปลอดภัย มีคุณค่า
ในตัวเองจะเกิดขึ้น เมื่อพ่อแม่เปิดใจยอมรับในความชอบ ความต้องการของเขาด้วยความเข้าใจ อย่าทาให้บ้านเป็นที่ที่
อยู่แล้วรู้สึกกดดัน หวาดกลัว
2. ค้นหาและโฟกัสที่จุดแข็งหรือด้านดีของลูกเป็นหลัก ให้พื้นที่กับด้านสว่างของเขาเป็นคาชมและกาลังใจใน
สิ่งที่เขาทาดี (positive reinforcement) ผศ.ดร.อุษณี โพธิสุข ผู้เขียนหนังสือ ‘เมื่อลูกรักมีปัญหา’ แนะนาวิธีเสริมจุด
แข็งของลูกจากประสบการณ์ในการทางานกับเด็กที่มีปัญหาระดับรุนแรงในโรงเรียนพิเศษสาหรับเด็กกลุ่มนี้และเป็นที่
ปรึกษาให้พ่อแม่ผู้ปกครองมากว่า 20 ปี ไว้ดังนี้
3. การสื่อสารในบ้านระหว่างพ่อแม่กับลูกต้องอยู่บนความเข้าใจและเมตตาธรรม ดร.โธมัส กอร์ดอน
(Thomas Gordon) ผู้เขียนหนังสือ ‘P.E.T. Parenting Effective Training’ และเปิดคอร์สอบรม ‘ห้องเรียนพ่อแม่’
ในสหรัฐอเมริกา เพื่อช่วยให้พ่อแม่เข้าใจลูกมากขึ้น เสริมสร้างความสัมพันธ์ให้แน่นแฟ้นจากการลดช่องว่างระหว่างวัย
และบรรเทาปัญหาที่เกิดขึ้นระหว่างครอบครัว ชี้ว่ากุญแจที่จะไขประตูใจของลูกให้เปิดออกได้คือ การสื่อสารที่แสดง
ให้ลูกรู้ว่าพ่อแม่ยอมรับและให้ความสาคัญกับปัญหาของเขา
4. สอนการควบคุมอารมณ์ (self-control) แต่ก่อนจะสอนลูกไม่ให้ใช้อารมณ์เหวี่ยงวีน พ่อแม่ต้องย้อนดูที่
ตนเองก่อน เวลาโมโห ใช้อารมณ์คุยกับลูก แดกดัน ประชดประชันเสียดสีรึเปล่า หรือพ่อแม่บางคนเลือกที่จะเก็บซ่อน
ความโกรธ โมโหหรืออารมณ์ด้านลบทุกอย่างไม่ให้ลูกเห็นเลย เดินหนีทุกครั้งที่ตนหงุดหงิดหรือตอนลูกระเบิดอารมณ์
5. พ่อแม่ต้องตกลงเรื่องวินัยและกติกาในบ้านให้ไปทิศทางเดียวกัน ไม่ใช่พ่อรับฟังและใช้ความเข้าใจ ให้อิสระ
ในการคิด แต่แม่ไม่ยืดหยุ่นเข้มงวดทุกกระเบียด นอกจากลูกจะเกิดความสับสน เกิดการเลือกข้างและปิดกั้นแม่
6. คานึงเสมอว่า ‘เด็กคือผ้าหลากสี’ อย่าเปรียบลูกของเรากับลูกของคนอื่น อย่ามองว่าเขาดีกว่าหรือด้อยกว่า
พี่ หรือเพื่อนในชั้น พยายามทาความเข้าใจว่าแต่ละคนมีพื้นฐานอารมณ์ ความถนัดไม่เหมือนกัน เด็กแต่ละคนเหมือนสี
คนละสี เฉดเข้มอ่อนคละกันไป บางคนว่านอนสอนง่าย ในขณะที่บางคนซน มีพลังล้นเหลือ พ่อแม่ต้องยืดหยุ่นปรับวิธี
เลี้ยงดูให้เหมาะสมกับเขา
4
วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
1. บ้าน – บรรยากาศในครอบครัวอบอุ่นเป็นมิตรกับลูก ลูกพูดคุยกับพ่อแม่ได้โดยไม่ต้องกลัว พ่อแม่ไม่เอาแต่
สั่ง พอไม่ทาหรือผิดพลาดก็เฆี่ยนตี ลิดรอนความคิดเห็นและการแสดงออกของลูก รวมถึงบรรยากาศที่พ่อแม่และ
บุคคลในครอบครัวปฏิบัติต่อกัน
2. โรงเรียน – ต้องเปิดโอกาสให้เด็กได้แสดงความคิด ออกความเห็น เป็นตัวของตัวเอง ฝึกความกล้าหาญและ
รับผิดชอบในการตัดสินใจ ไม่ยัดเยียดกฎระเบียบให้เอาแต่ปฏิบัติตามคาสั่ง หรือสร้างบรรยากาศของการแข่งขันและ
กดดัน
3. เพื่อน – เพื่อนที่เขาคบเป็นอย่างไร
4. ชุมชน – ความเป็นอยู่ ผู้คนที่ครอบครัวคบหาสนิทสนม ค่านิยมที่บ้านหรือสังคม ตลอดจนวัฒนธรรม
ประเพณีที่ชุมชนยึดถือล้วนหล่อหลอมความคิด บุคลิกภาพ และการมองโลกของเขาในทางใดทางหนึ่ง
5. สภาวการณ์แวดล้อมอื่นๆ – เช่น การใช้เวลากับโซเชียลมีเดีย สื่อต่างๆ เกม ดนตรี ภาพยนตร์
เหล่านี้เป็นตัวแปรที่มีอิทธิพลกับพัฒนาการสมองส่วนคิดทั้งสิ้น ลูกที่เติบโตในระบบนิเวศที่อบอุ่น ได้รับการเอาใจใส่ที่
เหมาะสม พัฒนาการสมองส่วนคิดก็จะแข็งแรง เวลาสมองส่วนอารมณ์และสัญชาตญาณกระตุ้นให้ทาบางสิ่งที่จะไปทา
ร้ายคนอื่น สมองส่วนคิดที่มีภูมิคุ้มกันนี้จะทาหน้าที่ยับยั้งสิ่งเหล่านั้นได้
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
เครื่องมือหรืออุปกรณ์ของโครงงานนี้ไม่ต้องใช้อะไรเลยแค่ใช้เพียง ความรู้สึก การมีเหตุผลในด้าน
จิตวิทยาและการเข้าใจในตัวของลูก
5
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดับ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9
1
0
1
1
12
1
3
1
4
1
5
16 17
1 คิดหัวข้อโครงงาน
2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล
3 จัดทาโครงร่างงาน
4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน
5 ปรับปรุงทดสอบ
6 การทาเอกสารรายงาน
7 ประเมินผลงาน
8 นาเสนอโครงงาน
ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน)
จากข้อมูลที่ดิฉันได้ศึกษาและสนใจดิฉันหวังว่าผู้ที่เข้ามาอ่านและสนใจเรื่องนี้ จะได้รับผลประโยชน์จากการอ่าน
โครงงานนี้และสามารถนาไปปรับประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน ในการเลี้ยงดูแลเด็กของท่านให้เกิดผลมากที่สุด
สถานที่ดาเนินการ
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
คอมพิวเตอร์ วิทยศาสตร์ หน้าที่พลเมือง สังคมศึกษา
แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน)
https://thepotential.org/2019/03/29/positive-psychology-sixth/

More Related Content

What's hot

บทความ เกี่ยวกับการสอนคณิตศาสตร์
บทความ เกี่ยวกับการสอนคณิตศาสตร์บทความ เกี่ยวกับการสอนคณิตศาสตร์
บทความ เกี่ยวกับการสอนคณิตศาสตร์
jariya221
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้
pajyeeb
 
การพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบบูรณาการ(1)
การพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบบูรณาการ(1)การพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบบูรณาการ(1)
การพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบบูรณาการ(1)
Aon Narinchoti
 
ใบงานคอมพิวเตอร์ ใบที่2 8
ใบงานคอมพิวเตอร์ ใบที่2 8ใบงานคอมพิวเตอร์ ใบที่2 8
ใบงานคอมพิวเตอร์ ใบที่2 8
ฟาน. ฟฟฟ
 
Chapter 3 มุมมองทางจิตวิทยา
Chapter 3 มุมมองทางจิตวิทยาChapter 3 มุมมองทางจิตวิทยา
Chapter 3 มุมมองทางจิตวิทยา
Aiijoo Yume
 

What's hot (8)

บทความ เกี่ยวกับการสอนคณิตศาสตร์
บทความ เกี่ยวกับการสอนคณิตศาสตร์บทความ เกี่ยวกับการสอนคณิตศาสตร์
บทความ เกี่ยวกับการสอนคณิตศาสตร์
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้
 
การพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบบูรณาการ(1)
การพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบบูรณาการ(1)การพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบบูรณาการ(1)
การพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบบูรณาการ(1)
 
ใบงานคอมพิวเตอร์ ใบที่2 8
ใบงานคอมพิวเตอร์ ใบที่2 8ใบงานคอมพิวเตอร์ ใบที่2 8
ใบงานคอมพิวเตอร์ ใบที่2 8
 
Chapter 3 มุมมองทางจิตวิทยา
Chapter 3 มุมมองทางจิตวิทยาChapter 3 มุมมองทางจิตวิทยา
Chapter 3 มุมมองทางจิตวิทยา
 
งานโครงการเรื่องหลักการสอนวิชาคณิตศาสตร์
งานโครงการเรื่องหลักการสอนวิชาคณิตศาสตร์งานโครงการเรื่องหลักการสอนวิชาคณิตศาสตร์
งานโครงการเรื่องหลักการสอนวิชาคณิตศาสตร์
 
ทฤษฎี แนวคิด เทคนิค และรูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่หลากหลายของครูปุ๊ก...
ทฤษฎี  แนวคิด  เทคนิค  และรูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่หลากหลายของครูปุ๊ก...ทฤษฎี  แนวคิด  เทคนิค  และรูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่หลากหลายของครูปุ๊ก...
ทฤษฎี แนวคิด เทคนิค และรูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่หลากหลายของครูปุ๊ก...
 
Uprightschool
UprightschoolUprightschool
Uprightschool
 

Similar to นางสาว ดรัญพร โกฏิเเก้ว

กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
Sawittri Phaisal
 
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษา
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษาแผนการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษา
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษา
tassanee chaicharoen
 
2562 final-project teerapat01
2562 final-project teerapat012562 final-project teerapat01
2562 final-project teerapat01
TeerapatSrilom
 

Similar to นางสาว ดรัญพร โกฏิเเก้ว (20)

Work1
Work1Work1
Work1
 
Nuttida 23 2561 project 607
Nuttida 23 2561 project 607 Nuttida 23 2561 project 607
Nuttida 23 2561 project 607
 
Philophobia
PhilophobiaPhilophobia
Philophobia
 
at1
at1at1
at1
 
2562 final-project 06
2562 final-project 062562 final-project 06
2562 final-project 06
 
2561 project 14
2561 project  142561 project  14
2561 project 14
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
2561 project 14 607
2561 project  14 6072561 project  14 607
2561 project 14 607
 
genius and autism
genius and autismgenius and autism
genius and autism
 
Final1
Final1Final1
Final1
 
2560 project .doc2
2560 project .doc22560 project .doc2
2560 project .doc2
 
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
 
2558 project
2558 project 2558 project
2558 project
 
2562 final-project
2562 final-project  2562 final-project
2562 final-project
 
Ngan ku krongrang1
Ngan ku krongrang1Ngan ku krongrang1
Ngan ku krongrang1
 
Ngan ku krongrang1
Ngan ku krongrang1Ngan ku krongrang1
Ngan ku krongrang1
 
2562 final-project -1
2562 final-project -12562 final-project -1
2562 final-project -1
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ 2
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ 2แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ 2
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ 2
 
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษา
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษาแผนการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษา
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษา
 
2562 final-project teerapat01
2562 final-project teerapat012562 final-project teerapat01
2562 final-project teerapat01
 

นางสาว ดรัญพร โกฏิเเก้ว

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5 ปีการศึกษา 2562 ชื่อโครงงาน 6 หัวใจสาคัญ ของการใช้จิตวิทยาเชิงบวกปรับพฤติกรรมลูก ชื่อผู้ทาโครงงาน ชื่อ น.ส.ดรัญพร โกฏิแก้ว เลขที่ 9 ชั้น ม.6 ห้อง 11 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงานร่วม (ถ้ามี)………………………………………………… ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 62 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม 1 น.ส.ดรัญพร โกฏิแก้ว เลขที่ 9 คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) 6 หัวใจสาคัญ ของการใช้จิตวิทยาเชิงบวกปรับพฤติกรรมลูก ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) 6 key points of using positive psychology to adjust child behavior ประเภทโครงงาน : การให้ความรู้เกี่ยวกับการวิจัยในการใช้จิตวิทยาในการเลี้งลูก ชื่อผู้ทาโครงงาน : น.ส.ดรัญพร โกฏิแก้ว ชื่อที่ปรึกษา : ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน : 11 กันยายน 2562 – 30 กันยายน 2562 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน) เกิดปัญหาจากการที่พ่อ แม่ ไม่เข้าใจลูกหรือไม่รับฟังปัญหาของลูก การเลี้ยงลูกด้วยจิตวิทยาเชิงบวกได้รับ ความสนใจจากคุณพ่อคุณแม่ยุคใหม่ที่อยากนามาปรับใช้ในการเลี้ยงลูกกันมากขึ้น กุมารแพทย์และผู้เชี่ยวชาญด้าน พัฒนาการเด็ก รวมไปถึงเพจว่าด้วยการเลี้ยงลูกและหนังสือสาหรับพ่อแม่หลายต่อหลายเล่มต่างแนะนาว่า จิตวิทยา เชิงบวกคือหนทางที่ไม่เพียงสามารถเชื่อมความสัมพันธ์ในครอบครัวระหว่างพ่อแม่ผู้ปกครองและลูกอย่างได้ผล แนวทางนี้ยังมีงานวิจัยและหลักการทางวิทยาศาสตร์ที่เป็นเหตุเป็นผลอธิบายการแสดงออกทางพฤติกรรมและวิธีปรับ พฤติกรรมของลูกซึ่งพ่อแม่สามารถปฏิบัติได้จริง เด็กทุกคนเกิดมาเพื่อเป็นเจ้าของชีวิตตัวเองแต่แล้วความสั่นคลอนก็ เริ่มมาเยือนโดยปกติแล้วเด็กเล็กช่วงอายุ 0-7 ปี จะเป็นช่วงที่ติดแม่มาก อันนี้ไม่ใช่เรื่องแปลก เพราะแม่เป็นแหล่ง พึ่งพิงทั้งทางกาย (กินนม) และใจ (ความรู้สึกไว้วางใจมนุษย์และโลก) ช่วงขวบปีแรกของทารกเป็นช่วงเวลาการสร้าง ความรู้สึกไว้วางใจโลก (trust & attachment) ช่วง 1-3 ปี เป็นช่วงเวลาของการสร้างตัวตน (self) ช่วงวัย 4-6 ปี เป็นช่วงของการริเริ่มสิ่งใหม่ (self -esteem) หลังจากนั้นคืออายุ 7-14 ปี เด็กจะต้องเริ่มสร้างตัวตนของตัวเอง ขึ้นมาใหม่โดยไม่พึ่งพิงกับแม่อีก เพื่อพิสูจน์ความสามารถในการควบคุมตนเอง (self-control) ในกรณีเด็กหญิง แม่ อาจเห็นความเปลี่ยนแปลงไม่ชัดเจนนัก (เพราะเด็กผู้หญิงจะยังมีแม่เป็นแบบอย่างไปอีกหนึ่งช่วงวัย) แต่สาหรับฉันที่มี ลูกชาย การเปลี่ยนแปลงนี้มันเข้ามาเร็วมากจนเราไม่ได้ตั้งตัว ฉะนั้นเด็ดทุกคนจะไม่ชอบเวลาที่พ่อ แม่บ่นหรือจู้จี้ เรา ได้สังเกตว่าเด็ดที่เข้าสู่วัยรุ่นมักจะต้องการเหตุผลมากกว่าที่จะต้องมานั่งฟังพ่อ แม่ หรือมีคนตามพ่อ แม่ ต้องใช้เหตุผล กับลูกให้มากๆหรือให้การสนับสนุนในกิจกรรมต่างๆที่ลูกสนใจแต่ก็ต้องสนับสนุนให้เหมาะสมกับวัยของลูกด้วย
  • 3. 3 วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ) 1. นาหลักการอันเป็นเหตุเป็นผลทางวิทยาศาสตร์ และการศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อชีวิตมาพัฒนาคุณภาพชีวิต มนุษย์ให้เป็นคนดีและมีความสุข 2. โฟกัสไปที่จุดแข็งของบุคคลและปัจจัยแวดล้อมที่มีอิทธิพล เช่น พ่อแม่ เพื่อน ครู ชุมชนหรือสังคม ความสัมพันธ์กับปัจจัยแวดล้อมเหล่านั้นจะส่งผลต่อความสุข ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน) การเลี้ยงลูกเชิงบวกนั้นตั้งอยู่บนหลักจิตวิทยาเชิงบวก (Positive Psychology) จิตวิทยาดั้งเดิมนั้นเน้น เฉพาะอาการปัญหาของโรคกับวิธีรักษาเป็นหลัก ในขณะที่จิตวิทยาเชิงบวกแตกออกมาด้วยจุดประสงค์ที่จะนา หลักการอันเป็นเหตุเป็นผลทางวิทยาศาสตร์ และการศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อชีวิตมาพัฒนาคุณภาพชีวิตมนุษย์ให้ เป็นคนดีและมีความสุข โดยโฟกัสไปที่จุดแข็งของบุคคลและปัจจัยแวดล้อมที่มีอิทธิพล เช่น พ่อแม่ เพื่อน ครู ชุมชน หรือสังคม ความสัมพันธ์กับปัจจัยแวดล้อมเหล่านั้นจะส่งผลต่อความสุข การมองโลกในแง่บวก การปรับตัวยืดหยุ่น ความฉลาดทางอารมณ์ ความคิดสร้างสรรค์ ความรู้สึกที่ดีต่อตนเองและผู้อื่น หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน) 1. ความอบอุ่นปลอดภัย และไว้วางใจระหว่างกัน ข้อนี้สาคัญเป็นอันดับหนึ่ง วิธีคิด และคุณค่าความดีงามจะ งอกงามขึ้นในใจเขาได้หรือไม่ขึ้นอยู่กับว่าลูกได้รับความรัก ความเอาใจใส่เพียงพอหรือไม่ ความรู้สึกปลอดภัย มีคุณค่า ในตัวเองจะเกิดขึ้น เมื่อพ่อแม่เปิดใจยอมรับในความชอบ ความต้องการของเขาด้วยความเข้าใจ อย่าทาให้บ้านเป็นที่ที่ อยู่แล้วรู้สึกกดดัน หวาดกลัว 2. ค้นหาและโฟกัสที่จุดแข็งหรือด้านดีของลูกเป็นหลัก ให้พื้นที่กับด้านสว่างของเขาเป็นคาชมและกาลังใจใน สิ่งที่เขาทาดี (positive reinforcement) ผศ.ดร.อุษณี โพธิสุข ผู้เขียนหนังสือ ‘เมื่อลูกรักมีปัญหา’ แนะนาวิธีเสริมจุด แข็งของลูกจากประสบการณ์ในการทางานกับเด็กที่มีปัญหาระดับรุนแรงในโรงเรียนพิเศษสาหรับเด็กกลุ่มนี้และเป็นที่ ปรึกษาให้พ่อแม่ผู้ปกครองมากว่า 20 ปี ไว้ดังนี้ 3. การสื่อสารในบ้านระหว่างพ่อแม่กับลูกต้องอยู่บนความเข้าใจและเมตตาธรรม ดร.โธมัส กอร์ดอน (Thomas Gordon) ผู้เขียนหนังสือ ‘P.E.T. Parenting Effective Training’ และเปิดคอร์สอบรม ‘ห้องเรียนพ่อแม่’ ในสหรัฐอเมริกา เพื่อช่วยให้พ่อแม่เข้าใจลูกมากขึ้น เสริมสร้างความสัมพันธ์ให้แน่นแฟ้นจากการลดช่องว่างระหว่างวัย และบรรเทาปัญหาที่เกิดขึ้นระหว่างครอบครัว ชี้ว่ากุญแจที่จะไขประตูใจของลูกให้เปิดออกได้คือ การสื่อสารที่แสดง ให้ลูกรู้ว่าพ่อแม่ยอมรับและให้ความสาคัญกับปัญหาของเขา 4. สอนการควบคุมอารมณ์ (self-control) แต่ก่อนจะสอนลูกไม่ให้ใช้อารมณ์เหวี่ยงวีน พ่อแม่ต้องย้อนดูที่ ตนเองก่อน เวลาโมโห ใช้อารมณ์คุยกับลูก แดกดัน ประชดประชันเสียดสีรึเปล่า หรือพ่อแม่บางคนเลือกที่จะเก็บซ่อน ความโกรธ โมโหหรืออารมณ์ด้านลบทุกอย่างไม่ให้ลูกเห็นเลย เดินหนีทุกครั้งที่ตนหงุดหงิดหรือตอนลูกระเบิดอารมณ์ 5. พ่อแม่ต้องตกลงเรื่องวินัยและกติกาในบ้านให้ไปทิศทางเดียวกัน ไม่ใช่พ่อรับฟังและใช้ความเข้าใจ ให้อิสระ ในการคิด แต่แม่ไม่ยืดหยุ่นเข้มงวดทุกกระเบียด นอกจากลูกจะเกิดความสับสน เกิดการเลือกข้างและปิดกั้นแม่ 6. คานึงเสมอว่า ‘เด็กคือผ้าหลากสี’ อย่าเปรียบลูกของเรากับลูกของคนอื่น อย่ามองว่าเขาดีกว่าหรือด้อยกว่า พี่ หรือเพื่อนในชั้น พยายามทาความเข้าใจว่าแต่ละคนมีพื้นฐานอารมณ์ ความถนัดไม่เหมือนกัน เด็กแต่ละคนเหมือนสี คนละสี เฉดเข้มอ่อนคละกันไป บางคนว่านอนสอนง่าย ในขณะที่บางคนซน มีพลังล้นเหลือ พ่อแม่ต้องยืดหยุ่นปรับวิธี เลี้ยงดูให้เหมาะสมกับเขา
  • 4. 4 วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน 1. บ้าน – บรรยากาศในครอบครัวอบอุ่นเป็นมิตรกับลูก ลูกพูดคุยกับพ่อแม่ได้โดยไม่ต้องกลัว พ่อแม่ไม่เอาแต่ สั่ง พอไม่ทาหรือผิดพลาดก็เฆี่ยนตี ลิดรอนความคิดเห็นและการแสดงออกของลูก รวมถึงบรรยากาศที่พ่อแม่และ บุคคลในครอบครัวปฏิบัติต่อกัน 2. โรงเรียน – ต้องเปิดโอกาสให้เด็กได้แสดงความคิด ออกความเห็น เป็นตัวของตัวเอง ฝึกความกล้าหาญและ รับผิดชอบในการตัดสินใจ ไม่ยัดเยียดกฎระเบียบให้เอาแต่ปฏิบัติตามคาสั่ง หรือสร้างบรรยากาศของการแข่งขันและ กดดัน 3. เพื่อน – เพื่อนที่เขาคบเป็นอย่างไร 4. ชุมชน – ความเป็นอยู่ ผู้คนที่ครอบครัวคบหาสนิทสนม ค่านิยมที่บ้านหรือสังคม ตลอดจนวัฒนธรรม ประเพณีที่ชุมชนยึดถือล้วนหล่อหลอมความคิด บุคลิกภาพ และการมองโลกของเขาในทางใดทางหนึ่ง 5. สภาวการณ์แวดล้อมอื่นๆ – เช่น การใช้เวลากับโซเชียลมีเดีย สื่อต่างๆ เกม ดนตรี ภาพยนตร์ เหล่านี้เป็นตัวแปรที่มีอิทธิพลกับพัฒนาการสมองส่วนคิดทั้งสิ้น ลูกที่เติบโตในระบบนิเวศที่อบอุ่น ได้รับการเอาใจใส่ที่ เหมาะสม พัฒนาการสมองส่วนคิดก็จะแข็งแรง เวลาสมองส่วนอารมณ์และสัญชาตญาณกระตุ้นให้ทาบางสิ่งที่จะไปทา ร้ายคนอื่น สมองส่วนคิดที่มีภูมิคุ้มกันนี้จะทาหน้าที่ยับยั้งสิ่งเหล่านั้นได้ เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ เครื่องมือหรืออุปกรณ์ของโครงงานนี้ไม่ต้องใช้อะไรเลยแค่ใช้เพียง ความรู้สึก การมีเหตุผลในด้าน จิตวิทยาและการเข้าใจในตัวของลูก
  • 5. 5 ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดับ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 0 1 1 12 1 3 1 4 1 5 16 17 1 คิดหัวข้อโครงงาน 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล 3 จัดทาโครงร่างงาน 4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน 5 ปรับปรุงทดสอบ 6 การทาเอกสารรายงาน 7 ประเมินผลงาน 8 นาเสนอโครงงาน ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน) จากข้อมูลที่ดิฉันได้ศึกษาและสนใจดิฉันหวังว่าผู้ที่เข้ามาอ่านและสนใจเรื่องนี้ จะได้รับผลประโยชน์จากการอ่าน โครงงานนี้และสามารถนาไปปรับประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน ในการเลี้ยงดูแลเด็กของท่านให้เกิดผลมากที่สุด สถานที่ดาเนินการ โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง คอมพิวเตอร์ วิทยศาสตร์ หน้าที่พลเมือง สังคมศึกษา แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน) https://thepotential.org/2019/03/29/positive-psychology-sixth/