SlideShare a Scribd company logo
1 of 14
1
แบบเสนอโครงร่างคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา
เทคโนโลยีและสารสนเทศและการสื่อสาร6
ปีการศึกษา 2560
ชื่อโครงงาน
การทางานของระบบสมองและการควบคุมอารมณ์
ชื่อผู้ทาโครงงาน
นาย นันทพงศ์ พิลัยลาภ เลขที่ 20 ม.6/6
ชื่อ อาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน
ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2
ใบงาน
การจัดทาเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิกในกลุ่ม
นาย นันทพงศ์พิลัยลาภ เลขที่ 20ม.6/6
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน(ภาษาไทย)
การทางานของระบบสมองและการควบคุมอารมณ์
ชื่อโครงงาน(ภาษาอังกฤษ)
Brain system and controlled an emotion.
ประเภทโครงงาน โครงงานประเภททฤษฎี
ชื่อผู้ทาโครงงาน นาย นันทพงศ์พิลัยลาภ
ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2ปีการศึกษา 2560
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน
การจัดทาโครงงานครั้งนี้มีจุดประสงค์สร้างทฤษฎีการควบคุมอารมณ์ โดยการศึกษาการทางานของสมอง
ในชีวิตประจาวันของเรามีสิ่งเกิดขึ้นมากมายหลายๆคนอาจคิดไม่ถึงว่าเราสามารถควบคุมสมองแต่ดันถูกอารมณ์ควบคุม
แทนสิ่งที่เป็นแบบนั้นเพราะสมองมีโครงสร้างที่สลับซับซ้อนอย่างมากที่เกินกว่าเราจะเข้าใจสิ่งที่เราทาได้ก็คือการหยุดยั้งอ
ารมณ์ไม่ให้กระทบต่อผู้อื่นและก่อให้เกิดความขัดแย้ง
ท้ายสุดท้ายนี่ผู้จัดทาหวังว่าอย่างยิ่งว่าจะเป็นประโยชน์ต่อผู้ศึกษาเป็นอย่างมาก
3
วัตถุประสงค์
1.เพื่อศึกษาการทางานของระบบสมอง 2.เพื่อศึกษาการควบคุมอารมณ์
3.อาจนาความรู้นี้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวันได้ 4.สามารถควบคุมอารมณ์ได้
ขอบเขตโครงงาน
1.การทางานของสมอง
2.การควบคุมอารมณ์
หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการและทฤษฎีที่สนับสนุนโครงงาน)
สมอง(อังกฤษ: Brain) คืออวัยวะสาคัญในสัตว์หลายชนิดตามลักษณะทางกายวิภาค หรือที่เรียกว่า encephalon
จัดว่าเป็นส่วนกลางของระบบประสาทคาว่า สมอง
นั้นส่วนใหญ่จะเรียกระบบประสาทบริเวณหัวของสัตว์มีกระดูกสันหลัง คานี้บางทีก็ใช้เรียกอวัยวะในระบบประสาทบริเวณ
หัวของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังอีกด้วย
สมองมีหน้าที่ควบคุมและสั่งการการเคลื่อนไหว, พฤติกรรม และภาวะธารงดุล (homeostasis) เช่น
การเต้นของหัวใจ, ความดันโลหิต, สมดุลของเหลวในร่างกาย และอุณหภูมิ เป็นต้น
หน้าที่ของสมองยังมีเกี่ยวข้องกับการรู้ (cognition) อารมณ์ ความจา การเรียนรู้การเคลื่อนไหว (motor learning)
และความสามารถอื่น ๆ ที่เกี่ยวกับการเรียนรู้
สมองประกอบด้วยเซลล์สองชนิด คือ เซลล์ประสาท และเซลล์เกลีย เกลียมีหน้าที่ในการดูแลและปกป้องนิวรอน
นิวรอนหรือเซลล์ประสาทเป็นเซลล์หลักที่ทาหน้าที่ส่งข้อมูลในรูปแบบของสัญญาณไฟฟ้าที่เรียกว่า ศักยะงาน (action
potential) การติดต่อระหว่างนิวรอนนั้นเกิดขึ้นได้โดยการหลั่งของสารเคมีชนิดต่าง ๆ
ที่รวมเรียกว่า สารสื่อประสาท (neurotransmitter)
ข้ามบริเวณระหว่างนิวรอนสองตัวที่เรียกว่า ไซแนปส์ สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง เช่น แมลงต่าง ๆ
ก็มีนิวรอนอยู่นับล้านในสมอง สัตว์มีกระดูกสันหลังขนาดใหญ่มักจะมีนิวรอนมากกว่าหนึ่งร้อยล้านตัวในสมอง
สมองของมนุษย์นั้นมีความพิเศษกว่าสัตว์ตรงที่ว่ามีความซับซ้อนและใหญ่กว่าเมื่อเทียบกับขนาดตัวของมนุษย์
อารมณ์
อารมณ์เป็นพลังที่ทรงอานาจอย่างหนึ่งของมนุษย์อารมณ์อาจเป็นต้นเหตุของสงคราม อาชญากรรม
ความขัดแย้งเรื่องเชื้อชาติ ละความขัดแย้ง อื่นๆ อีกหลายชนิดระหว่างมนุษย์ด้วยกัน ในทางตรงกันข้าม
อารมณ์เป็นน้าทิพย์ของชีวิต ทาให้ทุกสิ่งทุกอย่าง สวยสดงดงามและน่าอภิรมย์ ความรัก ความสนุกสนาน ความเพลิดเพลิน
ความพอใจ หรือความตลกขบขัน ล้วน
4
แต่ทาให้ชีวิต มีคุณค่า และความหมายทั้งสิ้น
อารมณ์มีความสาคัญเช่นเดียวกับการจูงใจดังได้กล่าวแล้ว อารมณ์คืออะไร? อารมณ์คือ หลายสิ่งหลายอย่าง ในทัศนะหนึ่ง
อารมณ์ คือ สภาวะของร่างกายซึ่งถูกยั่วยุ จนเกิดมีการเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยาหลายๆ อย่าง เช่น ใจสั่น,ชีพจรเต้นเร็ว,
การหายใจเร็วและแรงขึ้น, หน้าแดง เป็นต้นในอีกทัศนะหนึ่งอารมณ์
คือความรู้สึกซึ่งเกิดขึ้นเพียงบางส่วนจากสภาวะของร่างกายที่ถูกยั่วยุ อาจเป็นความรู้สึกพอใจ หรือไม่พอใจก็ได้
อารมณ์ยังเป็นสิ่งที่คนเราแสดงออกมาด้วยน้าเสียง คาพูด สีหน้าหรือท่าทาง ประการสุดท้ายอารมณ์เป็นได้ทั้ง แรงจูงใจ
หรือเป้าประสงค์ ถ้าเป็นอารมณ์ที่น่าพึงพอใจก็เป็นเป้าประสงค์เชิงนิยต(บวก) ถ้าไม่น่าพึงพอใจก็เป็นเป้าประสงค์เชิงนิเสธ
(ลบ) ในแง่ของศัพท์บัญญัติบางท่านใช้คาว่า "อาเวค" หรือ"ความสะเทือนใจ" แทน "อารมณ์"
แรงจูงใจและอารมณ์ มีความสัมพันธ์กันอย่างใกล้ชิด บ่อยครั้งความโกรธเป็นผู้เร่งเร้าพฤติกรรมทางก้าวร้าว
แม้ว่าพฤติกรรมเช่นนี้ สามารถเกิดขึ้นได้โดยไม่มีความโกรธ อารมณ์สามารถกระตุ้น (activate)และชี้นา (direct) พฤติกรรม
ในทานองเดียวกันกับแรงจูงใจ ทางชีวภาพ หรือทางจิตใจ อารมณ์อาจเกิดร่วมกับพฤติกรรมที่ถูกจูงใจ
ความรู้สึกทางเพศมิได้เป็นแต่เพียงแรงจูงใจที่ทรงอานุภาพเท่านั้น แต่ยังเป็นต้นตอของความพอใจอย่างยิ่งด้วย
อารมณ์สามารถเป็นเป้าประสงค์ เราทากิจกรรมบางอย่าง เพราะเรารู้ว่ามันจะนาความพึงพอใจมาให้
อารมณ์ หมายถึง การแสดงออกของภาวะจิตใจที่ได้รับการกระทบหรือกระตุ้นให้เกิดมีการแสดงออกต่อสิ่งที่มากระตุ้น
อารมณ์สามารถจาแนกออกได้ 2 ประเภทใหญ่
1. อารมณ์สุข คืออารมณ์ที่เกิดขึ้นจากความสบายใจ หรือ ได้รับความสมหวัง
2. อารมณ์ทุกข์ คือ อารมณ์ที่เกิดขึ้นจากความไม่สบายใจ หรือ ได้รับความไม่สมหวัง
อารมณ์พื้นฐานของคนเราได้แก่โกรธ กลัว รังเกียจแปลกใจ ดีใจและเสียใจ
ซึ่งเป็นอารมณ์พื้นฐานที่มีในสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม สัมพันธ์กับการทางานของระบบลิมบิก (limbic
system)ในสมองส่วนกลาง ในคนเรานั้นพบว่ายังมีการทางานของ สมองส่วนหน้า บริเวณ prefrontal มาเกี่ยวข้องด้วย
โดยมีการเชื่อมโยงกับระบบ ลิมบิกที่ซับซ้อนจึงทาให้คนเรามีลักษณะ อารมณ์ความรู้สึก
ที่หลายหลากมากกว่าในสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม
องค์ประกอบทางอารมณ์
อารมณ์จะประกอบไปด้วยองค์ประกอบ 3ประการ คือ
1. องค์ประกอบด้านสรีระ(Physiologicaldimension) หมายถึง การเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ ทางร่างกายที่จะต้องเกิดขึ้น
ควบคู่กับ ปฏิกิริยาทางอารมณ์ เช่น หัวใจเต้นเร็วเหงื่อออกตามร่างกาย หรือ ใบหน้าร้อนผ่าว เป็นต้น
อารมณ์ที่ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางสรีระได้มากที่สุดคือ อารมณ์กลัว และ อารมณ์โกรธ
อารมณ์กลัวจะก่อให้เกิดการหลั่งของฮอร์โมน แอดรีนาลีนจากต่อมแอดรีนัล (Adrenalgland) ส่วนอารมณ์โกรธ
จะก่อให้เกิดการหลั่งของฮอร์โมน นอร์แอดรีนาลีน (Noradrenalin)
5
2.องค์ประกอบทางด้านการนึกคิด(Cognitivedimension) หมายถึง การมีปฏิกิริยาด้านจิตใจที่เกิดขึ้น ต่อสถานการณ์
ที่กาลังเป็นอยู่และเกิดเป็นอารมณ์ขึ้นมาเช่นชอบ -ไม่ชอบ หรือ ถูกใจ-ไม่ถูกใจ เป็นต้น
3.องค์ประกอบทางด้านการมีประสบการณ์(Experientialdimension) หมายถึง การเรียนรู้ที่เกิดขึ้นภายใน
จิตใจของแต่ละ บุคคลซึ่งจะมีความแตกต่างกันไป
การตอบสนองทางอารมณ์ ประกอบด้วยปัจจัยต่างๆ ดังนี้
1. ปฏิกิริยาทางอารมณ์ เช่น การวิ่งหนีจากสิ่งที่เรากลัว
2. การตอบสนองทางระบบประสาทอิสระ เช่นหัวใจเต้นแรงขึ้นและเหงื่อออกบริเวณฝ่ามือเมื่อตกใจกลัว
3. พฤติกรรมที่แสดงออกมา เช่นการยิ้ม หน้านิ่วคิ้วขมวด
4. ความรู้สึก เช่น ความโกรธ ความปีติ ความเศร้าโศก
การเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยาที่เกิดขึ้นระหว่างที่อามรณ์รุนแรงเป็นผลจากการกระตุ้น ของระบบประสาทเสรี
เพื่อเป็นการเตรียมพร้อมสาหรับภาวะฉุกเฉิน
ปัจจุบันเชื่อว่า ระบบประสาทส่วนกลางของการตอบสนองทางอารมณ์ ถูกควบคุมโดย และ ซึ่งประกอบด้วย และ อารมณ์
ยังขึ้นอยู่กับสารส่งต่อ พลังประสาท ในสมองปัจจุบันนี้เป็นที่ยอมรับกันว่า"อาการซึมเศร้าเกี่ยวข้องกับระดับของ ที่ลดลง
ยาที่ทาให้ระดับของ ลดลง จะทาให้เกิดอาการซึมเศร้า ส่วนยาต้านซึมเศร้า ทาให้ระดับของ สูงขึ้น
การแสดงออกทางอารมณ์
ก. การแสดงออกทางอารมณ์โดยกาเนิด การแสดงอารมณ์พื้นฐานเป็นสิ่งที่มีมาตั้งแต่กาเนิด
เด็กทุกชาติทุกภาษาจะร้องไห้เมื่อเจ็บปวดหรือเสียใจ และหัวเราะเมื่อสุขใจ
จากการศึกษาเด็กที่ตาบอดหรือหูหนวกตั้งแต่แรกเกิดพบว่า การแสดงออกของสีหน้า ท่าทาง และท่วงทีกิริยาหลายๆ อย่าง
ซึ่งเราเอาไปสัมพันธ์กับอารมณ์ชนิดต่างๆ ได้รับการพัฒนาโดยความสุกสมบูรณ์
การแสดงออกของอารมณ์เหล่านี้เกิดขึ้นในช่วงอายุที่เหมาะสม แม้ว่าจะไม่มีโอกาสสังเกตได้ในคนอื่นได้เขียนหนังสือ
ซึ่งพิมพ์ในปี 1872 ท่านกล่าวว่าวิธีแสดงออกของอารมณ์เป็นกระสวนที่ถูกถ่ายทอดทางพันธุกรรม
และแต่เดิมมีคุณค่าเพื่อความอยู่รอด ของชีวิตบางอย่าง เช่น การแสดงความรังเกียจ หรือการไม่ยอมรับ
เกิดจากการที่อินทรีย์พยายามขจัดเอาสิ่งที่ไม่ดีหรือไม่น่าพึงพอใจซึ่งได้กินเข้าไปแล้ว
การแสดงสีหน้าบางอย่างดูเหมือนจะมีความหมายสากล โดยมิได้คานึงถึงวัฒนธรรมในที่ซึ่งคนเราได้รับการเลี้ยงดู
เมื่อเอาภาพแสดงสีหน้าของความสุข ความโกรธ ความเสียใจ ความรังเกียจ ความกลัว และความประหลาดใจ
มาแสดงต่อคนชาวอเมริกัน บราซิล ซิลี อาเจนตินาและญี่ปุ่น คนเหล่านี้ไม่มี
6
ความยากลาบากในการบอกความแตกต่างของอารมณ์แต่ละชนิด
พวกชาวเขาและชาวเกาะที่อยู่ห่างไกลความเจริญก็บอกได้เช่นกัน
ข. บทบาทของการเรียนรู้ในการแสดงออกทางอารมณ์
แม้ว่าการแสดงออกของอารมณ์บางอย่างมีมาตั้งแต่กาเนิดเป็นส่วนใหญ่แล้ว
แต่อารมณ์ก็อาจได้รับการดัดแปลงมากมายโดยการเรียนรู้ ตัวอย่าง ความโกรธ
อาจแสดงออกมาโดยการต่อสู้โดยการใช้ภาษาที่ก้าวร้าว หรือโดยการลุกออกไปนอกห้อง
แน่นอนการออกจากห้องหรือการใช้คาหยาบมิใช้การแสดงความโกรธ
ซึ่งมีมาตั้งแต่แรกเกิดการแสดงออกทางอารมณ์ทางสีหน้าและท่าทาง อาจแตกต่างกันในแต่ละวัฒนธรรม ตัวอย่าง
ชาวจีนมีการแสดงออกทางอารมณ์บางอย่างแตกต่างจากชาติอื่นๆ อย่างมากการตบมือแสดงถึงความกังวลใจ
หรือความผิดหวัง การเกาหูและแก้มบ่งถึงการมีความสุข การแลบลิ้นออกมาแสดงถึงความประหลาดใจ ในสังคมตะวันตก
การตบมือหมายถึงความสุข การเกาหูแสดงถึงความกังวล และการแลบลิ้นบ่งถึงการยั่วโทสะ
เมื่อมีเหตุการณ์ สถานการณ์ หรือสิ่งเร้าที่กระตุ้นด้านอารมณ์ การเกิดอารมณ์จะมีการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นทั้งทางร่างกาย
และจิตใจ โดยมีองค์ประกอบหลัก 3ประการ ดังนี้
1. ด้านการรับรู้ เป็นการทางานร่วมกันด้านร่างกายของระบบประสาทรับความรู้สึกจากสิ่งแวดล้อม
ส่งผ่านขึ้นไปยังสมองเพื่อแปลความหมายและรับรู้ว่าสิ่งกระตุ้นคืออะไร
อาจะเรียกว่าเป็นส่วนของความคิดที่เกิดขึ้นต่อสิ่งเร้านั้น ความคิดจะน้อมนาไปสู่การเกิดอารมณ์ตามมา
ถ้าความคิดไปในทางบวก อารมณ์ที่ตามมาก็เป็นอารมณ์ทางบวกถ้าความคิดเป็นลบอารมณ์ก็เป็นลบ เช่นกัน
2. ด้านอารมณ์ จากการรับรู้สิ่งเร้าอารมณ์ จะมีการเปรียบเทียบกับประสบการณ์เดิม
ทาให้เกิดความรู้สึกที่เป็นอารมณ์แสดงออกทั้งทางด้านจิตใจและด้านร่างกาย
ด้านร่างกายจะกระทบระบบประสาทอัตโนมัติ ส่งผลต่ออวัยวะที่มีระบบประสาทอัตโนมัติ เช่น หัวใจเต้นเร็ว
หน้าแดง เหงื่อซึมเป็นต้น
อารมณ์ที่เกิดขึ้นสามารถปรุงแต่งให้การรับรู้สิ่งเร้าหรือความคิดต่อสิ่งนั้นยิ่งเป็นบวกหรือลบมากขึ้น เช่น
เราไม่ชอบสิ่งที่เพื่อนทากับเรา เกิดอารมณ์ไม่พอใจ
อารมณ์อาจทาให้เราคิดถึงความไม่พอใจที่เคยมีต่อเพื่อนคนนี้มาก่อน ยิ่งมีอารมณ์ยิ่งคิด ยิ่งคิดมีอารมณ์ เป้ฯวัฏจักร
3. แรงผลักดัน จากรประสบการณ์ด้านอารมณ์ จะมีผลต่อแรงผลักดันภายในจิตใจ
ทาให้อารมณ์ที่เกิดขึ้นต่อสิ่งที่มาเร้าอารมณ์มีทั้งระดับอารมณ์ที่เหมาะสมสอดคล้องกับตัวกระตุ้น
และระดับอารมณ์ที่ไม่เหมาะสม อันเป็นผลมาจาก
4. ประสบการณ์การเรียนรู้และแรงผลักดันภายในจิตใจ
ส่งผลต่อลักษณะอารมณ์และแบบแผนของพฤติกรรมที่ตอบสนอง ตัวอย่าง เช่น
บางคนมีแรงผลักดันที่จะโทษว่าตนเองไม่ดี เมื่อทาอะไรผิดพลาดก็จะเกิดอารมณ์เศร้ารู้สึกผิดหวังตนเอง
ผลักดันให้เป็นคนไม่กล้าทาอะไร เพราะกลัวว่าจะผิด
จากองค์ประกอบของอารมณ์ทั้งสามด้าน เมื่อมีสิ่งเร้าที่กระตุ้นอารมณ์แลเกิดเป็นอารมณ์ขึ้น
จะมีการแสดงออกของอารมณ์ทางน้าเสียง แววตา สีหน้าท่าทาง และกาหนดทิศทางการแสดงออกของท่าทาง เช่น
อารมณ์โกรธอาจจะแสดงท่าทางจ้องหน้า พูดเสียงดัง ทุกโต๊ะ ขว้างปาข้าวของ อารมณ์เศร้าแสดงท่าทางคอตก ฟุบหน้า
ร้องไห้ พุดเสียงเบาอารมณ์ดี แสดงท่าทางกระโดดโลดเต้น ยกมีร้องไชโย เป็นต้น
7
สิ่งที่สาคัญคือ การเรียนรู้ความเข้าใจลักษณะทางอารมณ์ของตนเอง สังเกตและติดตาม การเกิดอารมณ์
รวมทั้งการแสดงออก ที่ตอบสองต่อ อารมณ์ที่เกิดขึ้น
โดยเฉพาะการเกิดอารมณ์ทางลบที่อาจทาให้เกิดการแสดงออกที่ไม่เหมาะสมและส่งผลทางลบตามมาได้
การเรียนรู้จักอารมณ์ของตนเอง จะเป็นพื้นฐานในการปรับเปลี่ยนอารมณ์ให้มีการแสดงออกที่เหมาะสมต่อไป
ลักษณะของอารมณ์ อาจแบ่งออกเป็นกลุ่มใหญ่ ได้3กลุ่ม
1. อารมณ์ด้านบวก เช่น อารมณ์ดีใจ ภูมิใจสุขใจปลาบปลื้ม พึงพอใจ
2. อารมณ์ด้านลบ เช่นอารมณ์โกรธ เกลียดริษยาเศร้า
3. อารมณ์กลาง ๆ เช่น แปลกใจ ยอมรับ
นอกจากแบ่งออกเป็นสามกลุ่มหลักแล้วอารมณ์ยังสามารถแบ่งได้เป็นกลุ่มๆ ตามระดับความรุนแรงของอารมณ์
โดยในแต่ละกลุ่ม เป็นอารมณ์ในกลุ่มเดียวกัน แต่จะมีคาทีใช่แทนระดับของอารมณ์แตกต่างกัน ดังนี้
 กลุ่มอารมณ์โกรธ มีหลายลักษณะ เช่น ไม่ชอบใจ ไม่พอใจ ไม่สบอารมณ์ ขุ่นเคืองฉุน โกรธ โมโห เดือดดาล
คับแค้น เป็นต้น
 กลุ่มอารมณ์กลัว มีหลายลักษณะ เช่น ไม่กล้าเกรงใจหยาดหวาดกลัว ตระหนกขวัญผวา อกสั่นขวัญแขวน
เป็นต้น
 กลุ่มอารมณ์กังวล มีหลายลักษณะ เช่น ลังเลสองจิตใจสองใจ ไม่แน่ใจไม่มั่นใจห่วงกังวล สับสน อึดอัดใจ
กระวนกระวาย ร้อนใจเป็นต้น
 กลุ่มอารมณ์เกลียด มีหลายลักษณะ เช่นไม่ชอบ รังเกียจเกลียดเหม็นหน้าชิงชัง เป็นต้น
 กลุ่มอารมณ์ดี มีหลายลักษณะ เช่น ดีใจ สบายใจ ชื่นใจร่าเริง สนุกสนาน คึกคัก อิ่มเอิบใจ เป็นสุขปิติตื้นตันใจ
ปลาบปลื้ม ซาบซึ้ง เป็นต้น
การตอบสนองและสรีรวิทยา
เมื่อประสบกับอารมณ์ที่รุนแรง เช่นความกลัว หรือความโกรธ เรารู้ตัวว่ามีการเปลี่ยนแปลงทางร่างกายหลายอย่าง
หัวใจเต้นเร็วหายใจเร็วขึ้นปากและคอแห้ง กล้ามเนื้อตึง เครียดเหงื่อออก แขนขาสั่นแน่นและอึดอัดในท้อง
ส่วนใหญ่ของการเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยาที่เกิดขึ้นระหว่างอารมณ์รุนแรงเป็นผลจากการกระตุ้น sympathetic division
ของระบบประสาทเสรี เพื่อเป็นการเตรียมพร้อมร่างกายสาหรับภาวะฉุกเฉิน
การเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยาเมื่ออารมณ์เกิดขึ้นมีดังนี้
1. ความต้านทานทางกระแสไฟฟ้า (electricalresistance)ของผิวหนังลดลง
2. ความดันโลหิตเพิ่มขึ้น ปริมาตรของเลือดในอวัยวะต่างๆ ของร่างกายเปลี่ยนแปลงไป
3. หัวใจเต้นเร็วขึ้นบางรายอาจมีอาการเจ็บแปลบที่บริเวณหัวใจ
4. การหายใจเร็วและแรงขึ้น
5. รูม่านตาขยายทาให้แสงตกลงไปบนจอภาพ (retina) มากขึ้น
8
6. ขนลุกชัน (goose pimples)
7. การเคลื่อนไหวของกระเพาะและลาไส้ลดลงหรือหยุดไปเลย
เลือดจะเปลี่ยนทิศทางจากกระเพาะและลาไส้ไปยังสมองและกล้ามเนื้อลาย
8. กล้ามเนื้อตึงหรือกระตุก
9. มีการเปลี่ยนแปลงในส่วนประกอบของเลือดที่เห็นชัดที่สุดคือระดับน้าตาลในเลือดสูงขึ้น
เพื่อทาให้พลังงานเพิ่มมากขึ้น
ปัจจัยที่เกี่ยวกับอารมณ์
1. พันธุกรรมพันธุกรรมนอกจากมีส่วนในการกาหนดคนเราทางด้านร่างกายแล้ว ยังมีผลต่อลักษณะอุปนิสัยด้วย
เด็กจะมีลักษณะอุปนิสัยและอารมณ์ของเด็กที่มีมาแต่กานิด ซึ่งเรียกว่าพื้นอารมณ์
2. การเลี้ยงดูและสภาพแวดล้อมสภาพแวดล้อมและการเลี้ยงดูก็มีอิทธิพลต่อพัฒนาการทางด้านอารมณ์ของเด็กในระ
ยะต่อไปเช่นกัน พ่อแม่จึงมีบทบาทอย่างมากต่อพัฒนาการทางอารมณ์ของเด็ก โดยเฉพาะในช่วงต้นของชีวิต
เด็กที่โยเยเลี้ยงยากหากพ่อแม่ให้ความรัก ความอบอุ่น
ยอมรับเด็กอย่างที่เด็กเป็นก็ย่อมจะทาให้พื้นอารมณ์ที่รุนแรงนี้เบาบางลงได้ แต่หากพ่อแม่ไม่อดกลั้น
มีการใช้อารมณ์กับเด็ก ก็จะยิ่งทาให้เด็กมีปฏิกิริยาทางอารมณ์ที่รุนแรงมากขึ้น
3. การทางานของสมองส่วนของสมองที่ทาหน้าที่เกี่ยวข้องกับอารมณ์มีอยู่หลายแห่งเช่น ระบบลิมบิก (limbic
system) ทาหน้าที่รับรู้และประเมินสถานการณ์ต่างๆ บริเวณที่เรียกว่าอะมิกดาลา (amygdala)
เป็นจุดเชื่อมโยงที่สาคัญระหว่างการประเมินข้อมูลจากประสาทรับรู้ต่างๆ ของสมองบริวเณคอร์ติคัล คอร์เท็ก
(Cortical cortex) กับการแสดงออกด้านพฤติกรรมของอารมณ์ต่างๆ
นอกจากนี้อะมิกดาลายังมีส่วนสาคัญในการรับรู้สิ่งที่เป็นอันตราย
กระตุ้นให้ร่างกายมีการตื่นตัวพร้อมที่จะรับมือต่อสิ่งนั้น
จากการทดลองพบว่าในสัตว์ที่ดุร้ายเมื่อผ่าตัดเอาส่วนที่เป็นอะมิกดาลาออกไป สัตว์จะมีลักษณะเชื่อง เฉย
ไม่ดุร้ายเหมือนเดิม
4. การทางานของระบบประสาทอัตโนมัติของคนเราแบ่งออกเป็น2
ระบบใหญ่ได้แก่ระบบซิมพาเธติกและระบบพาราซิมพาเธติก
1. ระบบซิมพาเธติก (Sympathetic nervoussystem) จะทางานเมื่อคนเราสบกับภาวะเครียดหรือตื่นเต้น
โดยสารสื่อประสาทในสมองที่เกี่ยวข้องคือ นอร์เอพิเนฟริน(norepinephrine) หรือบางครั้งเรียกว่าอะดรีนนาลีน
(adrenaline) ทาให้มีการใช้พลังงานในร่างกายเพื่อการปรับตัวต่อสิ่งที่มากระตุ้นนี้ เกิดการเปลี่ยนแปลงทางร่างกาย
เช่นขณะเดินเข้าบ้านในซอยเปลี่ยวมีชายแปลกหน้า 2คน เดินเข้ามาหามีที่ประสงค์ร้าย
ระบบซิมพาเธติกก็จะทางานโดยหัวใจเต้นเร็ว ความดันเลือดเพิ่ม น้าตาลในเลือดสูงขึ้น หายใจลึกและเร็ว
ม่านตาขยายตัวปากคอแห้ง และกล้ามเนื้อเกร็งตัว เป็นต้น
2. ระบบพาราซิมพาเธติก(Parasympathetic nervoussystem) การทางานจะเด่นเมื่อคนเราอยู่ในสภาวะผ่อนคลาย
9
5. และเป็นภาวะที่มีการเก็บ สะสมพลังงานไว้ในตัวโดยสารสื่อประสาทในสมองที่เกี่ยวข้องคืออะเซทิลโคลีน
(acetylcholine) การเปลี่ยนแปลงของร่างกายจะเป็นไปในทางตรงกันข้ามกับข้างต้น เช่น
หัวใจเต้นช้าลงกล้ามเนื้อผ่อนคลาย ระบบย่อยอาหาร และดูดซึมมีการทางานมากขึ้น
ความผิดปกติของระบบทั้งสองนี้ส่งผลต่อภาวะอารมณ์ของคนเราได้ เช่นในโรคไทรอยด์เป็นพิษจะมีการหลั่ง
ฮอร์โมนไทรอยด์ออกมามาก ซึ่งจะไปกระตุ้นให้มีการหลั่งอะดรีนาลีนอกมามาก
ผู้ที่เป็นจะมีอารมณ์หงุดหงิดวิตกกังวลง่าย หรือแม้แต่ในกรณีทั่วๆ ไปผู้ที่อยู่ในภาวะหิวอาหาร น้าตาลในเลือดจะต่า
ซึ่งจะไปกระตุ้นให้ร่างกายหลังอะดรีนาลีนออกมามาก จะเกิดอารมณ์หงุดหงิดฉุนเฉียวได้ง่ายเป็นต้น
6. สภาวะจิตปัจจัยที่กล่าวทั้ง 4ประการข้างต้น
ทาให้ดูเสมือนว่าอารมณ์เป็นเพียงปฏิกิริยาตอบสนองตามธรรมชาติที่คนเรามีต่อสิ่งต่างๆ ที่มากระตุ้น
แต่ในความเป็นจริงแล้ว มนุษย์เรามีความสามารถในการกลั่นกรองจัดลาดับความสาคัญของข้อมูลต่างๆ
และนอกจากการรับรู้และการประเมินแล้ว
การแสดงออกซึ่งอารมณ์ก็ยังไม่ได้เป็นไปในแบบอัตโนมัติตามสัญชาตญาณไปเสียทั้งหมด
หาแต่ยังมีปัจจัยด้านสภาวะจิตเช่นความเหนี่ยวรั้งคุณธรรม จริยธรรม มาประกอบด้วย
ซึ่งเป็นลักษณะที่เรียกว่ามีการกากับด้วย "ปัญญา" ตัวอย่าง เช่น
มีคนชักชวนให้เราร่วมมือในการโกงการสอบโดยจะให้ค่าตอบแทน
เรารู้สึกว่าค่าตอบแทนเป็นเงินจานวนมากและอยากได้เงินมาใช้คนชักชวนยังบอกว่าโอกาสถูกจับได้น้อยมาก
และถ้าหากจับได้เขาจะไม่ชัดทอด
ความรู้สึกอยากอย่างนี้หากไม่มีปัญญาช่วยกากับจะทาให้มีพฤติกรรมตอบสนองไปตามความต้องการ
แต่หากใช้ปัญญาไตร่ตรองจะเห็นผลที่ตามมาโดยเฉพาะสภาวะจิตใจของเราเองที่ทาความผิดแม้ไม่มีใครรู้ก็ตาม
การพัฒนาสภาวะจิตให้มีปัญญากากับจึงช่วยให้การดาเนินชีวิตพ้นจากความทุกข์จากการยึดติดยึดมั่นในสิ่งต่างๆ
ผลกระทบของอารมณ์
ผลกระทบของอารมณ์ต่อร่างกายที่เห็นได้ชัดคือรบกวนการทางานของความคิด ในขณะที่สภาวะจิตใจเต็มไปด้วยอารมณ์
ประสิทธิภาพในการคิดจะลดลง ไม่ว่าจะเป็นความคิดด้วยเหตุผล
หรือการใช้ความสามารถของสมองเพื่อความคิดในด้านต่างๆ เช่น คานวณ ความจา เป็นต้นจะสังเกตว่าในสภาพที่มีอารมณ์
การรับรู้ข้อมูลต่างๆ จะแย่ลงเป็นลักษณะของการขาดสมาธิ
อันเป็นผลจากประสิทธิภาพการทางานของสมองลดลงผลกระทบประการต่อมา
ด้านร่างกายจะกระทบต่อระบบการทางานของอวัยวะอื่นๆ
โดยเฉพาะอวัยวะที่อยู่ภายใต้การทางานของระบบประสาทอัตโนมัติ เช่น ระบบหัวใจและหลอดเลือด ระบบทางเดินอาหาร
แต่ถ้าตกอยู่ภายใต้ภาวะอารมณ์ที่กดดันเป็นเวลานานจะส่งผลต่อระบบภูมิคุ้มกันของร่ากาย ทาให้ร่างกายอ่อนแอลง
มีความเสี่ยงต่อการเจ็บป่วย
ผลกระทบของอารมณ์ต่อจิตใจและพฤติกรรม เมื่อเกิดอารมณ์ทางลบทาให้สภาพจิตใจของคนคนนั้นไม่แจ่มใสไม่เบิกบาน
ส่งผลต่อวิธีคิดและการแสดงออกทางพฤติกรรมตามมา เช่นในคนที่มีความโกรธแค้นอย่างมาก
อาจแสดงพฤติกรรมรุนแรงโดยไม่สามารถพิจารณาไตร่ตรองให้รอบคอบได้
ผลกระทบต่อจิตใจอีกประการหนึ่งเป็นผลจากการตกอยู่ภายใต้อารมณ์ทางลบเป็นเวลานานจนไม่สามารถปรับตัวได้
อาจนาไปสู่สภาวะการเจ็บป่วยทางจิต โดยเฉพาะการเกิดโรคซึมเศร้า ซึ่งเป็น
10
ผลจากความกดดันทางอารมณ์เป็นเวลานานจนรู้สึกว่าไม่สามารถหารทางออกได้
เมื่อเกิดภาวะซึมเศร้าลักษณะอารมณ์จะหดหู่ ไม่สามารถสนุกได้อย่างที่เคย เบื่ออาหาร นอนไม่หลับเก็บตัว
มีความคิดทางลบต่อตนเอง และอาจคิดทาร้ายตนเอง
ผลกระทบของอารมณ์ต่อผู้อื่น การที่สภาวะอารมณ์เป็นบวกหรือเป็นลบส่งผลต่อบุคคลที่อยู่รอบข้าง
โดยเฉพาะอารมณ์ทางลบมีผลต่อความสัมพันธ์ของบุคคล เนื่องจากอารมณ์เป็นเครื่องมืออย่างหนึ่งในการสื่อสารกับผู้อื่น
ผลกระทบที่เกิดขึ้นอาจเกิดกับบุคคลใกล้ชิด คนในครอบครัว และคนอื่นๆ ที่มีความสัมพันธ์ทางสังคม ตัวอย่างเช่น
การสื่อสารระหว่างแม่และทารก อารมณ์จะเป็นองค์ประกอบสาคัญของการสื่อสาร ซึ่งนาไปสู่ความสัมพันธ์ที่ดีหรือไม่ดีได้
การรู้จักเข้าใจอารมณ์ผู้อื่น
นอกจากเข้าใจและรู้จักอารมณ์ของตนเองแล้ว
การฝึกสังเกตอารมณ์ผู้อื่นจะทาให้เราสามารถแสดงอารมณ์ของเราตอบสนองผู้อื่นได้เหมาะสม
โดยเฉพาะกับคนที่มีความสัมพันธ์ใกล้ชิดควรทาความเข้าใจการแสดงออกทางอารมณ์ จะทา
ให้มีความสุขในการใช้ชีวิตร่วมกัน ส่งผลให้สภาพอารมณ์ทั้งของเราและผู้อื่นดีขึ้น
เทคนิคในการรู้จักและเข้าใจอารมณ์ผู้อื่นทาได้ดังนี้
1. ให้ความสนใจการแสดงออกของผู้อื่น โดยการสังเกตสีหน้า แววตา ท่าทาง การพูด น้าเสียง
ตลอดจนการแสดงออกอื่นๆ โดยเฉพาะการออกด้านร่างกายมักบอกอารมณ์ได้โดยตรง
เพราะบางครั้งเขาอาจไม่พูดบอกความรู้สึกของตนเอง เช่นพ่อแม่ อาจมีความเครียดบางเรื่อง แต่ไม่เล่าให้ลูกๆ ฟัง
หากเราสังเกตการณ์แสดงออกจะรับรู้ได้ และถ้าตอบสนองด้วยการเข้าหา ดูแลเอาใจใส่ท่าน
อาจช่วยคลายความตึงเครียดลง ในบ้านจะมีบรรยากาศที่ดีขึ้น
2. อ่านอารมณ์ความรู้สึกผู้อื่น จากการสังเกตสนใจแสดงออกของผู้อื่นจะทาให้พอทราบว่าเขารู้สึกอย่างไรแต่บางสถา
นการณ์อาจต้องถามเพื่อให้แน่ใจว่าสิ่งที่เราคิดตรงกับ ความรู้สึกจริงของเขาหรือไม่ เช่น
ใกล้สอบเราเห็นน้องเงียบลงคงจะเครียดเรื่องอ่านหนังสือไม่ทันหากเราเข้าไปปลอบน้องว่าอ่านไปเรื่อยๆ
อาจไม่ตรงกับความรู้สึกของน้องที่กังวลอยู่ ควรใช้วิธีพูดคุยซักถามด้วยความเอาใจใส่
น้องอาจกังวลไม่เข้าใจคณิตศาสตร์ที่จะต้องสอบเราจะได้สามารถหาทางช่วยให้ตรงจุดที่เป็นปัญหา
11
วิธีการดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
งบประมาณ
ขั้นตอนและแผนการดาเนินงาน
ลาดั
บ
ที่
ขั้นตอน สัปดา
ห์
1 2 3 4 5 6 7 8 9 1
0
1
1
1
2
1
3
1
4
1
5
1
6
ผู้รับผิดช
อบ
1 คิดหัวข้อโครงงาน
2 ศึกษาและค้นคว้าข้
อมูล
3 จัดทาโครงร่าง
4 ปฏิบัติการสร้างโคร
งงาน
5 ปรับปรุงทดสอบ
6 การทาเอกสารายงา
น
7 ประเมินผลงาน
8 นาเสนอโครงงาน
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
สถานที่ดาเนินการ
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
แหล่งอ้างอิง(เอกสารหรือแหล่งข้อมูลต่างๆที่นามาใช้โครงงาน)
http://www.stou.ac.th/Offices/rdec/udon/upload/socities3_4.html
https://www.novabizz.com/NovaAce/Brain.htm
การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์.

More Related Content

What's hot

โครงงานคอมพิวเตอร์1
โครงงานคอมพิวเตอร์1โครงงานคอมพิวเตอร์1
โครงงานคอมพิวเตอร์1Pimsucha02
 
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์jumboguide
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Bai'mon Chankaew
 
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556Nattapon
 
2562 final-project 02-rungtiwa-finally
2562 final-project 02-rungtiwa-finally2562 final-project 02-rungtiwa-finally
2562 final-project 02-rungtiwa-finallyRungtiwaWongchai
 
ใบงานที่ 2 - 8
ใบงานที่ 2 - 8ใบงานที่ 2 - 8
ใบงานที่ 2 - 8PluemSupichaya
 
โครงงาน รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ฉบับที่ 19 (ฉบับชั่วคราว)
โครงงาน รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ฉบับที่ 19 (ฉบับชั่วคราว)โครงงาน รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ฉบับที่ 19 (ฉบับชั่วคราว)
โครงงาน รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ฉบับที่ 19 (ฉบับชั่วคราว)tangmo77
 
ใบงานที่5 โครงร่างโครงาน
ใบงานที่5 โครงร่างโครงานใบงานที่5 โครงร่างโครงาน
ใบงานที่5 โครงร่างโครงานPopeye Kotchakorn
 
งานคู่คอม
งานคู่คอมงานคู่คอม
งานคู่คอมnam pedpuai
 
งานคู่คอม
งานคู่คอมงานคู่คอม
งานคู่คอมnam pedpuai
 
โครงงาน ฮอร์โมนมนุษย์
โครงงาน ฮอร์โมนมนุษย์ โครงงาน ฮอร์โมนมนุษย์
โครงงาน ฮอร์โมนมนุษย์ dgnjamez
 
โครงร่างโครงงานคอม
โครงร่างโครงงานคอมโครงร่างโครงงานคอม
โครงร่างโครงงานคอมScott Tape
 
บทที่3 (เสร็จ)
บทที่3 (เสร็จ)บทที่3 (เสร็จ)
บทที่3 (เสร็จ)Annop Phetchakhong
 
กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์tangkwakamonwan
 

What's hot (18)

โครงงานคอมพิวเตอร์1
โครงงานคอมพิวเตอร์1โครงงานคอมพิวเตอร์1
โครงงานคอมพิวเตอร์1
 
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
 
2562 final-project 02-rungtiwa-finally
2562 final-project 02-rungtiwa-finally2562 final-project 02-rungtiwa-finally
2562 final-project 02-rungtiwa-finally
 
ใบงานที่ 2 - 8
ใบงานที่ 2 - 8ใบงานที่ 2 - 8
ใบงานที่ 2 - 8
 
โครงงาน รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ฉบับที่ 19 (ฉบับชั่วคราว)
โครงงาน รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ฉบับที่ 19 (ฉบับชั่วคราว)โครงงาน รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ฉบับที่ 19 (ฉบับชั่วคราว)
โครงงาน รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ฉบับที่ 19 (ฉบับชั่วคราว)
 
ใบงานที่5 โครงร่างโครงาน
ใบงานที่5 โครงร่างโครงานใบงานที่5 โครงร่างโครงาน
ใบงานที่5 โครงร่างโครงาน
 
Nutkamon1
Nutkamon1Nutkamon1
Nutkamon1
 
Kamonchanok sankunta
Kamonchanok sankuntaKamonchanok sankunta
Kamonchanok sankunta
 
งานคู่คอม
งานคู่คอมงานคู่คอม
งานคู่คอม
 
งานคู่คอม
งานคู่คอมงานคู่คอม
งานคู่คอม
 
โครงงาน ฮอร์โมนมนุษย์
โครงงาน ฮอร์โมนมนุษย์ โครงงาน ฮอร์โมนมนุษย์
โครงงาน ฮอร์โมนมนุษย์
 
โครงร่างโครงงานคอม
โครงร่างโครงงานคอมโครงร่างโครงงานคอม
โครงร่างโครงงานคอม
 
Star 22 26 32
Star 22 26 32Star 22 26 32
Star 22 26 32
 
บทที่3 (เสร็จ)
บทที่3 (เสร็จ)บทที่3 (เสร็จ)
บทที่3 (เสร็จ)
 
กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
Resume
ResumeResume
Resume
 

Similar to การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์.

แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Benya Chaiwan
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Benya Chaiwan
 
ใบงานที่6-โครงร่างโครงงาน
ใบงานที่6-โครงร่างโครงงานใบงานที่6-โครงร่างโครงงาน
ใบงานที่6-โครงร่างโครงงานNatthanaSriloer
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Thanwarath Khemthong
 
The massage with herb for health
The massage with herb for healthThe massage with herb for health
The massage with herb for healthSirintra Chaiwong
 
2562 final-project-31 (1)
2562 final-project-31 (1)2562 final-project-31 (1)
2562 final-project-31 (1)KUMBELL
 
2562 final-project 11-thunyarat
2562 final-project 11-thunyarat2562 final-project 11-thunyarat
2562 final-project 11-thunyaratthunyaratnatai
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ 2
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ 2แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ 2
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ 2Butsakorn Satittheeratham
 

Similar to การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์. (20)

Comdaniel
ComdanielComdaniel
Comdaniel
 
Great
GreatGreat
Great
 
Daniellll
DaniellllDaniellll
Daniellll
 
Daniellll
DaniellllDaniellll
Daniellll
 
Com term2
Com term2Com term2
Com term2
 
Com final
Com finalCom final
Com final
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
ใบงานที่6-โครงร่างโครงงาน
ใบงานที่6-โครงร่างโครงงานใบงานที่6-โครงร่างโครงงาน
ใบงานที่6-โครงร่างโครงงาน
 
2561 project -2
2561 project -22561 project -2
2561 project -2
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
Oh good
Oh goodOh good
Oh good
 
Oh good
Oh goodOh good
Oh good
 
2561 project com
2561 project com2561 project com
2561 project com
 
The massage with herb for health
The massage with herb for healthThe massage with herb for health
The massage with herb for health
 
2562 final-project-31 (1)
2562 final-project-31 (1)2562 final-project-31 (1)
2562 final-project-31 (1)
 
2562 final-project 11-thunyarat
2562 final-project 11-thunyarat2562 final-project 11-thunyarat
2562 final-project 11-thunyarat
 
Benyapa 607 35
Benyapa 607 35Benyapa 607 35
Benyapa 607 35
 
2561 project 609
2561 project 6092561 project 609
2561 project 609
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ 2
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ 2แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ 2
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ 2
 

การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์.

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีและสารสนเทศและการสื่อสาร6 ปีการศึกษา 2560 ชื่อโครงงาน การทางานของระบบสมองและการควบคุมอารมณ์ ชื่อผู้ทาโครงงาน นาย นันทพงศ์ พิลัยลาภ เลขที่ 20 ม.6/6 ชื่อ อาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ใบงาน การจัดทาเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม นาย นันทพงศ์พิลัยลาภ เลขที่ 20ม.6/6 คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน(ภาษาไทย) การทางานของระบบสมองและการควบคุมอารมณ์ ชื่อโครงงาน(ภาษาอังกฤษ) Brain system and controlled an emotion. ประเภทโครงงาน โครงงานประเภททฤษฎี ชื่อผู้ทาโครงงาน นาย นันทพงศ์พิลัยลาภ ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2ปีการศึกษา 2560 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน การจัดทาโครงงานครั้งนี้มีจุดประสงค์สร้างทฤษฎีการควบคุมอารมณ์ โดยการศึกษาการทางานของสมอง ในชีวิตประจาวันของเรามีสิ่งเกิดขึ้นมากมายหลายๆคนอาจคิดไม่ถึงว่าเราสามารถควบคุมสมองแต่ดันถูกอารมณ์ควบคุม แทนสิ่งที่เป็นแบบนั้นเพราะสมองมีโครงสร้างที่สลับซับซ้อนอย่างมากที่เกินกว่าเราจะเข้าใจสิ่งที่เราทาได้ก็คือการหยุดยั้งอ ารมณ์ไม่ให้กระทบต่อผู้อื่นและก่อให้เกิดความขัดแย้ง ท้ายสุดท้ายนี่ผู้จัดทาหวังว่าอย่างยิ่งว่าจะเป็นประโยชน์ต่อผู้ศึกษาเป็นอย่างมาก
  • 3. 3 วัตถุประสงค์ 1.เพื่อศึกษาการทางานของระบบสมอง 2.เพื่อศึกษาการควบคุมอารมณ์ 3.อาจนาความรู้นี้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวันได้ 4.สามารถควบคุมอารมณ์ได้ ขอบเขตโครงงาน 1.การทางานของสมอง 2.การควบคุมอารมณ์ หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการและทฤษฎีที่สนับสนุนโครงงาน) สมอง(อังกฤษ: Brain) คืออวัยวะสาคัญในสัตว์หลายชนิดตามลักษณะทางกายวิภาค หรือที่เรียกว่า encephalon จัดว่าเป็นส่วนกลางของระบบประสาทคาว่า สมอง นั้นส่วนใหญ่จะเรียกระบบประสาทบริเวณหัวของสัตว์มีกระดูกสันหลัง คานี้บางทีก็ใช้เรียกอวัยวะในระบบประสาทบริเวณ หัวของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังอีกด้วย สมองมีหน้าที่ควบคุมและสั่งการการเคลื่อนไหว, พฤติกรรม และภาวะธารงดุล (homeostasis) เช่น การเต้นของหัวใจ, ความดันโลหิต, สมดุลของเหลวในร่างกาย และอุณหภูมิ เป็นต้น หน้าที่ของสมองยังมีเกี่ยวข้องกับการรู้ (cognition) อารมณ์ ความจา การเรียนรู้การเคลื่อนไหว (motor learning) และความสามารถอื่น ๆ ที่เกี่ยวกับการเรียนรู้ สมองประกอบด้วยเซลล์สองชนิด คือ เซลล์ประสาท และเซลล์เกลีย เกลียมีหน้าที่ในการดูแลและปกป้องนิวรอน นิวรอนหรือเซลล์ประสาทเป็นเซลล์หลักที่ทาหน้าที่ส่งข้อมูลในรูปแบบของสัญญาณไฟฟ้าที่เรียกว่า ศักยะงาน (action potential) การติดต่อระหว่างนิวรอนนั้นเกิดขึ้นได้โดยการหลั่งของสารเคมีชนิดต่าง ๆ ที่รวมเรียกว่า สารสื่อประสาท (neurotransmitter) ข้ามบริเวณระหว่างนิวรอนสองตัวที่เรียกว่า ไซแนปส์ สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง เช่น แมลงต่าง ๆ ก็มีนิวรอนอยู่นับล้านในสมอง สัตว์มีกระดูกสันหลังขนาดใหญ่มักจะมีนิวรอนมากกว่าหนึ่งร้อยล้านตัวในสมอง สมองของมนุษย์นั้นมีความพิเศษกว่าสัตว์ตรงที่ว่ามีความซับซ้อนและใหญ่กว่าเมื่อเทียบกับขนาดตัวของมนุษย์ อารมณ์
  • 4. อารมณ์เป็นพลังที่ทรงอานาจอย่างหนึ่งของมนุษย์อารมณ์อาจเป็นต้นเหตุของสงคราม อาชญากรรม ความขัดแย้งเรื่องเชื้อชาติ ละความขัดแย้ง อื่นๆ อีกหลายชนิดระหว่างมนุษย์ด้วยกัน ในทางตรงกันข้าม อารมณ์เป็นน้าทิพย์ของชีวิต ทาให้ทุกสิ่งทุกอย่าง สวยสดงดงามและน่าอภิรมย์ ความรัก ความสนุกสนาน ความเพลิดเพลิน ความพอใจ หรือความตลกขบขัน ล้วน 4 แต่ทาให้ชีวิต มีคุณค่า และความหมายทั้งสิ้น อารมณ์มีความสาคัญเช่นเดียวกับการจูงใจดังได้กล่าวแล้ว อารมณ์คืออะไร? อารมณ์คือ หลายสิ่งหลายอย่าง ในทัศนะหนึ่ง อารมณ์ คือ สภาวะของร่างกายซึ่งถูกยั่วยุ จนเกิดมีการเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยาหลายๆ อย่าง เช่น ใจสั่น,ชีพจรเต้นเร็ว, การหายใจเร็วและแรงขึ้น, หน้าแดง เป็นต้นในอีกทัศนะหนึ่งอารมณ์ คือความรู้สึกซึ่งเกิดขึ้นเพียงบางส่วนจากสภาวะของร่างกายที่ถูกยั่วยุ อาจเป็นความรู้สึกพอใจ หรือไม่พอใจก็ได้ อารมณ์ยังเป็นสิ่งที่คนเราแสดงออกมาด้วยน้าเสียง คาพูด สีหน้าหรือท่าทาง ประการสุดท้ายอารมณ์เป็นได้ทั้ง แรงจูงใจ หรือเป้าประสงค์ ถ้าเป็นอารมณ์ที่น่าพึงพอใจก็เป็นเป้าประสงค์เชิงนิยต(บวก) ถ้าไม่น่าพึงพอใจก็เป็นเป้าประสงค์เชิงนิเสธ (ลบ) ในแง่ของศัพท์บัญญัติบางท่านใช้คาว่า "อาเวค" หรือ"ความสะเทือนใจ" แทน "อารมณ์" แรงจูงใจและอารมณ์ มีความสัมพันธ์กันอย่างใกล้ชิด บ่อยครั้งความโกรธเป็นผู้เร่งเร้าพฤติกรรมทางก้าวร้าว แม้ว่าพฤติกรรมเช่นนี้ สามารถเกิดขึ้นได้โดยไม่มีความโกรธ อารมณ์สามารถกระตุ้น (activate)และชี้นา (direct) พฤติกรรม ในทานองเดียวกันกับแรงจูงใจ ทางชีวภาพ หรือทางจิตใจ อารมณ์อาจเกิดร่วมกับพฤติกรรมที่ถูกจูงใจ ความรู้สึกทางเพศมิได้เป็นแต่เพียงแรงจูงใจที่ทรงอานุภาพเท่านั้น แต่ยังเป็นต้นตอของความพอใจอย่างยิ่งด้วย อารมณ์สามารถเป็นเป้าประสงค์ เราทากิจกรรมบางอย่าง เพราะเรารู้ว่ามันจะนาความพึงพอใจมาให้ อารมณ์ หมายถึง การแสดงออกของภาวะจิตใจที่ได้รับการกระทบหรือกระตุ้นให้เกิดมีการแสดงออกต่อสิ่งที่มากระตุ้น อารมณ์สามารถจาแนกออกได้ 2 ประเภทใหญ่ 1. อารมณ์สุข คืออารมณ์ที่เกิดขึ้นจากความสบายใจ หรือ ได้รับความสมหวัง 2. อารมณ์ทุกข์ คือ อารมณ์ที่เกิดขึ้นจากความไม่สบายใจ หรือ ได้รับความไม่สมหวัง อารมณ์พื้นฐานของคนเราได้แก่โกรธ กลัว รังเกียจแปลกใจ ดีใจและเสียใจ ซึ่งเป็นอารมณ์พื้นฐานที่มีในสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม สัมพันธ์กับการทางานของระบบลิมบิก (limbic system)ในสมองส่วนกลาง ในคนเรานั้นพบว่ายังมีการทางานของ สมองส่วนหน้า บริเวณ prefrontal มาเกี่ยวข้องด้วย โดยมีการเชื่อมโยงกับระบบ ลิมบิกที่ซับซ้อนจึงทาให้คนเรามีลักษณะ อารมณ์ความรู้สึก ที่หลายหลากมากกว่าในสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม องค์ประกอบทางอารมณ์ อารมณ์จะประกอบไปด้วยองค์ประกอบ 3ประการ คือ
  • 5. 1. องค์ประกอบด้านสรีระ(Physiologicaldimension) หมายถึง การเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ ทางร่างกายที่จะต้องเกิดขึ้น ควบคู่กับ ปฏิกิริยาทางอารมณ์ เช่น หัวใจเต้นเร็วเหงื่อออกตามร่างกาย หรือ ใบหน้าร้อนผ่าว เป็นต้น อารมณ์ที่ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางสรีระได้มากที่สุดคือ อารมณ์กลัว และ อารมณ์โกรธ อารมณ์กลัวจะก่อให้เกิดการหลั่งของฮอร์โมน แอดรีนาลีนจากต่อมแอดรีนัล (Adrenalgland) ส่วนอารมณ์โกรธ จะก่อให้เกิดการหลั่งของฮอร์โมน นอร์แอดรีนาลีน (Noradrenalin) 5 2.องค์ประกอบทางด้านการนึกคิด(Cognitivedimension) หมายถึง การมีปฏิกิริยาด้านจิตใจที่เกิดขึ้น ต่อสถานการณ์ ที่กาลังเป็นอยู่และเกิดเป็นอารมณ์ขึ้นมาเช่นชอบ -ไม่ชอบ หรือ ถูกใจ-ไม่ถูกใจ เป็นต้น 3.องค์ประกอบทางด้านการมีประสบการณ์(Experientialdimension) หมายถึง การเรียนรู้ที่เกิดขึ้นภายใน จิตใจของแต่ละ บุคคลซึ่งจะมีความแตกต่างกันไป การตอบสนองทางอารมณ์ ประกอบด้วยปัจจัยต่างๆ ดังนี้ 1. ปฏิกิริยาทางอารมณ์ เช่น การวิ่งหนีจากสิ่งที่เรากลัว 2. การตอบสนองทางระบบประสาทอิสระ เช่นหัวใจเต้นแรงขึ้นและเหงื่อออกบริเวณฝ่ามือเมื่อตกใจกลัว 3. พฤติกรรมที่แสดงออกมา เช่นการยิ้ม หน้านิ่วคิ้วขมวด 4. ความรู้สึก เช่น ความโกรธ ความปีติ ความเศร้าโศก การเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยาที่เกิดขึ้นระหว่างที่อามรณ์รุนแรงเป็นผลจากการกระตุ้น ของระบบประสาทเสรี เพื่อเป็นการเตรียมพร้อมสาหรับภาวะฉุกเฉิน ปัจจุบันเชื่อว่า ระบบประสาทส่วนกลางของการตอบสนองทางอารมณ์ ถูกควบคุมโดย และ ซึ่งประกอบด้วย และ อารมณ์ ยังขึ้นอยู่กับสารส่งต่อ พลังประสาท ในสมองปัจจุบันนี้เป็นที่ยอมรับกันว่า"อาการซึมเศร้าเกี่ยวข้องกับระดับของ ที่ลดลง ยาที่ทาให้ระดับของ ลดลง จะทาให้เกิดอาการซึมเศร้า ส่วนยาต้านซึมเศร้า ทาให้ระดับของ สูงขึ้น การแสดงออกทางอารมณ์ ก. การแสดงออกทางอารมณ์โดยกาเนิด การแสดงอารมณ์พื้นฐานเป็นสิ่งที่มีมาตั้งแต่กาเนิด เด็กทุกชาติทุกภาษาจะร้องไห้เมื่อเจ็บปวดหรือเสียใจ และหัวเราะเมื่อสุขใจ จากการศึกษาเด็กที่ตาบอดหรือหูหนวกตั้งแต่แรกเกิดพบว่า การแสดงออกของสีหน้า ท่าทาง และท่วงทีกิริยาหลายๆ อย่าง ซึ่งเราเอาไปสัมพันธ์กับอารมณ์ชนิดต่างๆ ได้รับการพัฒนาโดยความสุกสมบูรณ์
  • 6. การแสดงออกของอารมณ์เหล่านี้เกิดขึ้นในช่วงอายุที่เหมาะสม แม้ว่าจะไม่มีโอกาสสังเกตได้ในคนอื่นได้เขียนหนังสือ ซึ่งพิมพ์ในปี 1872 ท่านกล่าวว่าวิธีแสดงออกของอารมณ์เป็นกระสวนที่ถูกถ่ายทอดทางพันธุกรรม และแต่เดิมมีคุณค่าเพื่อความอยู่รอด ของชีวิตบางอย่าง เช่น การแสดงความรังเกียจ หรือการไม่ยอมรับ เกิดจากการที่อินทรีย์พยายามขจัดเอาสิ่งที่ไม่ดีหรือไม่น่าพึงพอใจซึ่งได้กินเข้าไปแล้ว การแสดงสีหน้าบางอย่างดูเหมือนจะมีความหมายสากล โดยมิได้คานึงถึงวัฒนธรรมในที่ซึ่งคนเราได้รับการเลี้ยงดู เมื่อเอาภาพแสดงสีหน้าของความสุข ความโกรธ ความเสียใจ ความรังเกียจ ความกลัว และความประหลาดใจ มาแสดงต่อคนชาวอเมริกัน บราซิล ซิลี อาเจนตินาและญี่ปุ่น คนเหล่านี้ไม่มี 6 ความยากลาบากในการบอกความแตกต่างของอารมณ์แต่ละชนิด พวกชาวเขาและชาวเกาะที่อยู่ห่างไกลความเจริญก็บอกได้เช่นกัน ข. บทบาทของการเรียนรู้ในการแสดงออกทางอารมณ์ แม้ว่าการแสดงออกของอารมณ์บางอย่างมีมาตั้งแต่กาเนิดเป็นส่วนใหญ่แล้ว แต่อารมณ์ก็อาจได้รับการดัดแปลงมากมายโดยการเรียนรู้ ตัวอย่าง ความโกรธ อาจแสดงออกมาโดยการต่อสู้โดยการใช้ภาษาที่ก้าวร้าว หรือโดยการลุกออกไปนอกห้อง แน่นอนการออกจากห้องหรือการใช้คาหยาบมิใช้การแสดงความโกรธ ซึ่งมีมาตั้งแต่แรกเกิดการแสดงออกทางอารมณ์ทางสีหน้าและท่าทาง อาจแตกต่างกันในแต่ละวัฒนธรรม ตัวอย่าง ชาวจีนมีการแสดงออกทางอารมณ์บางอย่างแตกต่างจากชาติอื่นๆ อย่างมากการตบมือแสดงถึงความกังวลใจ หรือความผิดหวัง การเกาหูและแก้มบ่งถึงการมีความสุข การแลบลิ้นออกมาแสดงถึงความประหลาดใจ ในสังคมตะวันตก การตบมือหมายถึงความสุข การเกาหูแสดงถึงความกังวล และการแลบลิ้นบ่งถึงการยั่วโทสะ เมื่อมีเหตุการณ์ สถานการณ์ หรือสิ่งเร้าที่กระตุ้นด้านอารมณ์ การเกิดอารมณ์จะมีการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นทั้งทางร่างกาย และจิตใจ โดยมีองค์ประกอบหลัก 3ประการ ดังนี้ 1. ด้านการรับรู้ เป็นการทางานร่วมกันด้านร่างกายของระบบประสาทรับความรู้สึกจากสิ่งแวดล้อม ส่งผ่านขึ้นไปยังสมองเพื่อแปลความหมายและรับรู้ว่าสิ่งกระตุ้นคืออะไร อาจะเรียกว่าเป็นส่วนของความคิดที่เกิดขึ้นต่อสิ่งเร้านั้น ความคิดจะน้อมนาไปสู่การเกิดอารมณ์ตามมา ถ้าความคิดไปในทางบวก อารมณ์ที่ตามมาก็เป็นอารมณ์ทางบวกถ้าความคิดเป็นลบอารมณ์ก็เป็นลบ เช่นกัน 2. ด้านอารมณ์ จากการรับรู้สิ่งเร้าอารมณ์ จะมีการเปรียบเทียบกับประสบการณ์เดิม ทาให้เกิดความรู้สึกที่เป็นอารมณ์แสดงออกทั้งทางด้านจิตใจและด้านร่างกาย ด้านร่างกายจะกระทบระบบประสาทอัตโนมัติ ส่งผลต่ออวัยวะที่มีระบบประสาทอัตโนมัติ เช่น หัวใจเต้นเร็ว หน้าแดง เหงื่อซึมเป็นต้น อารมณ์ที่เกิดขึ้นสามารถปรุงแต่งให้การรับรู้สิ่งเร้าหรือความคิดต่อสิ่งนั้นยิ่งเป็นบวกหรือลบมากขึ้น เช่น
  • 7. เราไม่ชอบสิ่งที่เพื่อนทากับเรา เกิดอารมณ์ไม่พอใจ อารมณ์อาจทาให้เราคิดถึงความไม่พอใจที่เคยมีต่อเพื่อนคนนี้มาก่อน ยิ่งมีอารมณ์ยิ่งคิด ยิ่งคิดมีอารมณ์ เป้ฯวัฏจักร 3. แรงผลักดัน จากรประสบการณ์ด้านอารมณ์ จะมีผลต่อแรงผลักดันภายในจิตใจ ทาให้อารมณ์ที่เกิดขึ้นต่อสิ่งที่มาเร้าอารมณ์มีทั้งระดับอารมณ์ที่เหมาะสมสอดคล้องกับตัวกระตุ้น และระดับอารมณ์ที่ไม่เหมาะสม อันเป็นผลมาจาก 4. ประสบการณ์การเรียนรู้และแรงผลักดันภายในจิตใจ ส่งผลต่อลักษณะอารมณ์และแบบแผนของพฤติกรรมที่ตอบสนอง ตัวอย่าง เช่น บางคนมีแรงผลักดันที่จะโทษว่าตนเองไม่ดี เมื่อทาอะไรผิดพลาดก็จะเกิดอารมณ์เศร้ารู้สึกผิดหวังตนเอง ผลักดันให้เป็นคนไม่กล้าทาอะไร เพราะกลัวว่าจะผิด จากองค์ประกอบของอารมณ์ทั้งสามด้าน เมื่อมีสิ่งเร้าที่กระตุ้นอารมณ์แลเกิดเป็นอารมณ์ขึ้น จะมีการแสดงออกของอารมณ์ทางน้าเสียง แววตา สีหน้าท่าทาง และกาหนดทิศทางการแสดงออกของท่าทาง เช่น อารมณ์โกรธอาจจะแสดงท่าทางจ้องหน้า พูดเสียงดัง ทุกโต๊ะ ขว้างปาข้าวของ อารมณ์เศร้าแสดงท่าทางคอตก ฟุบหน้า ร้องไห้ พุดเสียงเบาอารมณ์ดี แสดงท่าทางกระโดดโลดเต้น ยกมีร้องไชโย เป็นต้น 7 สิ่งที่สาคัญคือ การเรียนรู้ความเข้าใจลักษณะทางอารมณ์ของตนเอง สังเกตและติดตาม การเกิดอารมณ์ รวมทั้งการแสดงออก ที่ตอบสองต่อ อารมณ์ที่เกิดขึ้น โดยเฉพาะการเกิดอารมณ์ทางลบที่อาจทาให้เกิดการแสดงออกที่ไม่เหมาะสมและส่งผลทางลบตามมาได้ การเรียนรู้จักอารมณ์ของตนเอง จะเป็นพื้นฐานในการปรับเปลี่ยนอารมณ์ให้มีการแสดงออกที่เหมาะสมต่อไป ลักษณะของอารมณ์ อาจแบ่งออกเป็นกลุ่มใหญ่ ได้3กลุ่ม 1. อารมณ์ด้านบวก เช่น อารมณ์ดีใจ ภูมิใจสุขใจปลาบปลื้ม พึงพอใจ 2. อารมณ์ด้านลบ เช่นอารมณ์โกรธ เกลียดริษยาเศร้า 3. อารมณ์กลาง ๆ เช่น แปลกใจ ยอมรับ นอกจากแบ่งออกเป็นสามกลุ่มหลักแล้วอารมณ์ยังสามารถแบ่งได้เป็นกลุ่มๆ ตามระดับความรุนแรงของอารมณ์ โดยในแต่ละกลุ่ม เป็นอารมณ์ในกลุ่มเดียวกัน แต่จะมีคาทีใช่แทนระดับของอารมณ์แตกต่างกัน ดังนี้  กลุ่มอารมณ์โกรธ มีหลายลักษณะ เช่น ไม่ชอบใจ ไม่พอใจ ไม่สบอารมณ์ ขุ่นเคืองฉุน โกรธ โมโห เดือดดาล คับแค้น เป็นต้น  กลุ่มอารมณ์กลัว มีหลายลักษณะ เช่น ไม่กล้าเกรงใจหยาดหวาดกลัว ตระหนกขวัญผวา อกสั่นขวัญแขวน เป็นต้น  กลุ่มอารมณ์กังวล มีหลายลักษณะ เช่น ลังเลสองจิตใจสองใจ ไม่แน่ใจไม่มั่นใจห่วงกังวล สับสน อึดอัดใจ กระวนกระวาย ร้อนใจเป็นต้น
  • 8.  กลุ่มอารมณ์เกลียด มีหลายลักษณะ เช่นไม่ชอบ รังเกียจเกลียดเหม็นหน้าชิงชัง เป็นต้น  กลุ่มอารมณ์ดี มีหลายลักษณะ เช่น ดีใจ สบายใจ ชื่นใจร่าเริง สนุกสนาน คึกคัก อิ่มเอิบใจ เป็นสุขปิติตื้นตันใจ ปลาบปลื้ม ซาบซึ้ง เป็นต้น การตอบสนองและสรีรวิทยา เมื่อประสบกับอารมณ์ที่รุนแรง เช่นความกลัว หรือความโกรธ เรารู้ตัวว่ามีการเปลี่ยนแปลงทางร่างกายหลายอย่าง หัวใจเต้นเร็วหายใจเร็วขึ้นปากและคอแห้ง กล้ามเนื้อตึง เครียดเหงื่อออก แขนขาสั่นแน่นและอึดอัดในท้อง ส่วนใหญ่ของการเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยาที่เกิดขึ้นระหว่างอารมณ์รุนแรงเป็นผลจากการกระตุ้น sympathetic division ของระบบประสาทเสรี เพื่อเป็นการเตรียมพร้อมร่างกายสาหรับภาวะฉุกเฉิน การเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยาเมื่ออารมณ์เกิดขึ้นมีดังนี้ 1. ความต้านทานทางกระแสไฟฟ้า (electricalresistance)ของผิวหนังลดลง 2. ความดันโลหิตเพิ่มขึ้น ปริมาตรของเลือดในอวัยวะต่างๆ ของร่างกายเปลี่ยนแปลงไป 3. หัวใจเต้นเร็วขึ้นบางรายอาจมีอาการเจ็บแปลบที่บริเวณหัวใจ 4. การหายใจเร็วและแรงขึ้น 5. รูม่านตาขยายทาให้แสงตกลงไปบนจอภาพ (retina) มากขึ้น 8 6. ขนลุกชัน (goose pimples) 7. การเคลื่อนไหวของกระเพาะและลาไส้ลดลงหรือหยุดไปเลย เลือดจะเปลี่ยนทิศทางจากกระเพาะและลาไส้ไปยังสมองและกล้ามเนื้อลาย 8. กล้ามเนื้อตึงหรือกระตุก 9. มีการเปลี่ยนแปลงในส่วนประกอบของเลือดที่เห็นชัดที่สุดคือระดับน้าตาลในเลือดสูงขึ้น เพื่อทาให้พลังงานเพิ่มมากขึ้น ปัจจัยที่เกี่ยวกับอารมณ์ 1. พันธุกรรมพันธุกรรมนอกจากมีส่วนในการกาหนดคนเราทางด้านร่างกายแล้ว ยังมีผลต่อลักษณะอุปนิสัยด้วย เด็กจะมีลักษณะอุปนิสัยและอารมณ์ของเด็กที่มีมาแต่กานิด ซึ่งเรียกว่าพื้นอารมณ์ 2. การเลี้ยงดูและสภาพแวดล้อมสภาพแวดล้อมและการเลี้ยงดูก็มีอิทธิพลต่อพัฒนาการทางด้านอารมณ์ของเด็กในระ ยะต่อไปเช่นกัน พ่อแม่จึงมีบทบาทอย่างมากต่อพัฒนาการทางอารมณ์ของเด็ก โดยเฉพาะในช่วงต้นของชีวิต เด็กที่โยเยเลี้ยงยากหากพ่อแม่ให้ความรัก ความอบอุ่น ยอมรับเด็กอย่างที่เด็กเป็นก็ย่อมจะทาให้พื้นอารมณ์ที่รุนแรงนี้เบาบางลงได้ แต่หากพ่อแม่ไม่อดกลั้น มีการใช้อารมณ์กับเด็ก ก็จะยิ่งทาให้เด็กมีปฏิกิริยาทางอารมณ์ที่รุนแรงมากขึ้น
  • 9. 3. การทางานของสมองส่วนของสมองที่ทาหน้าที่เกี่ยวข้องกับอารมณ์มีอยู่หลายแห่งเช่น ระบบลิมบิก (limbic system) ทาหน้าที่รับรู้และประเมินสถานการณ์ต่างๆ บริเวณที่เรียกว่าอะมิกดาลา (amygdala) เป็นจุดเชื่อมโยงที่สาคัญระหว่างการประเมินข้อมูลจากประสาทรับรู้ต่างๆ ของสมองบริวเณคอร์ติคัล คอร์เท็ก (Cortical cortex) กับการแสดงออกด้านพฤติกรรมของอารมณ์ต่างๆ นอกจากนี้อะมิกดาลายังมีส่วนสาคัญในการรับรู้สิ่งที่เป็นอันตราย กระตุ้นให้ร่างกายมีการตื่นตัวพร้อมที่จะรับมือต่อสิ่งนั้น จากการทดลองพบว่าในสัตว์ที่ดุร้ายเมื่อผ่าตัดเอาส่วนที่เป็นอะมิกดาลาออกไป สัตว์จะมีลักษณะเชื่อง เฉย ไม่ดุร้ายเหมือนเดิม 4. การทางานของระบบประสาทอัตโนมัติของคนเราแบ่งออกเป็น2 ระบบใหญ่ได้แก่ระบบซิมพาเธติกและระบบพาราซิมพาเธติก 1. ระบบซิมพาเธติก (Sympathetic nervoussystem) จะทางานเมื่อคนเราสบกับภาวะเครียดหรือตื่นเต้น โดยสารสื่อประสาทในสมองที่เกี่ยวข้องคือ นอร์เอพิเนฟริน(norepinephrine) หรือบางครั้งเรียกว่าอะดรีนนาลีน (adrenaline) ทาให้มีการใช้พลังงานในร่างกายเพื่อการปรับตัวต่อสิ่งที่มากระตุ้นนี้ เกิดการเปลี่ยนแปลงทางร่างกาย เช่นขณะเดินเข้าบ้านในซอยเปลี่ยวมีชายแปลกหน้า 2คน เดินเข้ามาหามีที่ประสงค์ร้าย ระบบซิมพาเธติกก็จะทางานโดยหัวใจเต้นเร็ว ความดันเลือดเพิ่ม น้าตาลในเลือดสูงขึ้น หายใจลึกและเร็ว ม่านตาขยายตัวปากคอแห้ง และกล้ามเนื้อเกร็งตัว เป็นต้น 2. ระบบพาราซิมพาเธติก(Parasympathetic nervoussystem) การทางานจะเด่นเมื่อคนเราอยู่ในสภาวะผ่อนคลาย 9 5. และเป็นภาวะที่มีการเก็บ สะสมพลังงานไว้ในตัวโดยสารสื่อประสาทในสมองที่เกี่ยวข้องคืออะเซทิลโคลีน (acetylcholine) การเปลี่ยนแปลงของร่างกายจะเป็นไปในทางตรงกันข้ามกับข้างต้น เช่น หัวใจเต้นช้าลงกล้ามเนื้อผ่อนคลาย ระบบย่อยอาหาร และดูดซึมมีการทางานมากขึ้น ความผิดปกติของระบบทั้งสองนี้ส่งผลต่อภาวะอารมณ์ของคนเราได้ เช่นในโรคไทรอยด์เป็นพิษจะมีการหลั่ง ฮอร์โมนไทรอยด์ออกมามาก ซึ่งจะไปกระตุ้นให้มีการหลั่งอะดรีนาลีนอกมามาก ผู้ที่เป็นจะมีอารมณ์หงุดหงิดวิตกกังวลง่าย หรือแม้แต่ในกรณีทั่วๆ ไปผู้ที่อยู่ในภาวะหิวอาหาร น้าตาลในเลือดจะต่า ซึ่งจะไปกระตุ้นให้ร่างกายหลังอะดรีนาลีนออกมามาก จะเกิดอารมณ์หงุดหงิดฉุนเฉียวได้ง่ายเป็นต้น 6. สภาวะจิตปัจจัยที่กล่าวทั้ง 4ประการข้างต้น ทาให้ดูเสมือนว่าอารมณ์เป็นเพียงปฏิกิริยาตอบสนองตามธรรมชาติที่คนเรามีต่อสิ่งต่างๆ ที่มากระตุ้น แต่ในความเป็นจริงแล้ว มนุษย์เรามีความสามารถในการกลั่นกรองจัดลาดับความสาคัญของข้อมูลต่างๆ และนอกจากการรับรู้และการประเมินแล้ว การแสดงออกซึ่งอารมณ์ก็ยังไม่ได้เป็นไปในแบบอัตโนมัติตามสัญชาตญาณไปเสียทั้งหมด หาแต่ยังมีปัจจัยด้านสภาวะจิตเช่นความเหนี่ยวรั้งคุณธรรม จริยธรรม มาประกอบด้วย
  • 10. ซึ่งเป็นลักษณะที่เรียกว่ามีการกากับด้วย "ปัญญา" ตัวอย่าง เช่น มีคนชักชวนให้เราร่วมมือในการโกงการสอบโดยจะให้ค่าตอบแทน เรารู้สึกว่าค่าตอบแทนเป็นเงินจานวนมากและอยากได้เงินมาใช้คนชักชวนยังบอกว่าโอกาสถูกจับได้น้อยมาก และถ้าหากจับได้เขาจะไม่ชัดทอด ความรู้สึกอยากอย่างนี้หากไม่มีปัญญาช่วยกากับจะทาให้มีพฤติกรรมตอบสนองไปตามความต้องการ แต่หากใช้ปัญญาไตร่ตรองจะเห็นผลที่ตามมาโดยเฉพาะสภาวะจิตใจของเราเองที่ทาความผิดแม้ไม่มีใครรู้ก็ตาม การพัฒนาสภาวะจิตให้มีปัญญากากับจึงช่วยให้การดาเนินชีวิตพ้นจากความทุกข์จากการยึดติดยึดมั่นในสิ่งต่างๆ ผลกระทบของอารมณ์ ผลกระทบของอารมณ์ต่อร่างกายที่เห็นได้ชัดคือรบกวนการทางานของความคิด ในขณะที่สภาวะจิตใจเต็มไปด้วยอารมณ์ ประสิทธิภาพในการคิดจะลดลง ไม่ว่าจะเป็นความคิดด้วยเหตุผล หรือการใช้ความสามารถของสมองเพื่อความคิดในด้านต่างๆ เช่น คานวณ ความจา เป็นต้นจะสังเกตว่าในสภาพที่มีอารมณ์ การรับรู้ข้อมูลต่างๆ จะแย่ลงเป็นลักษณะของการขาดสมาธิ อันเป็นผลจากประสิทธิภาพการทางานของสมองลดลงผลกระทบประการต่อมา ด้านร่างกายจะกระทบต่อระบบการทางานของอวัยวะอื่นๆ โดยเฉพาะอวัยวะที่อยู่ภายใต้การทางานของระบบประสาทอัตโนมัติ เช่น ระบบหัวใจและหลอดเลือด ระบบทางเดินอาหาร แต่ถ้าตกอยู่ภายใต้ภาวะอารมณ์ที่กดดันเป็นเวลานานจะส่งผลต่อระบบภูมิคุ้มกันของร่ากาย ทาให้ร่างกายอ่อนแอลง มีความเสี่ยงต่อการเจ็บป่วย ผลกระทบของอารมณ์ต่อจิตใจและพฤติกรรม เมื่อเกิดอารมณ์ทางลบทาให้สภาพจิตใจของคนคนนั้นไม่แจ่มใสไม่เบิกบาน ส่งผลต่อวิธีคิดและการแสดงออกทางพฤติกรรมตามมา เช่นในคนที่มีความโกรธแค้นอย่างมาก อาจแสดงพฤติกรรมรุนแรงโดยไม่สามารถพิจารณาไตร่ตรองให้รอบคอบได้ ผลกระทบต่อจิตใจอีกประการหนึ่งเป็นผลจากการตกอยู่ภายใต้อารมณ์ทางลบเป็นเวลานานจนไม่สามารถปรับตัวได้ อาจนาไปสู่สภาวะการเจ็บป่วยทางจิต โดยเฉพาะการเกิดโรคซึมเศร้า ซึ่งเป็น 10 ผลจากความกดดันทางอารมณ์เป็นเวลานานจนรู้สึกว่าไม่สามารถหารทางออกได้ เมื่อเกิดภาวะซึมเศร้าลักษณะอารมณ์จะหดหู่ ไม่สามารถสนุกได้อย่างที่เคย เบื่ออาหาร นอนไม่หลับเก็บตัว มีความคิดทางลบต่อตนเอง และอาจคิดทาร้ายตนเอง ผลกระทบของอารมณ์ต่อผู้อื่น การที่สภาวะอารมณ์เป็นบวกหรือเป็นลบส่งผลต่อบุคคลที่อยู่รอบข้าง โดยเฉพาะอารมณ์ทางลบมีผลต่อความสัมพันธ์ของบุคคล เนื่องจากอารมณ์เป็นเครื่องมืออย่างหนึ่งในการสื่อสารกับผู้อื่น
  • 11. ผลกระทบที่เกิดขึ้นอาจเกิดกับบุคคลใกล้ชิด คนในครอบครัว และคนอื่นๆ ที่มีความสัมพันธ์ทางสังคม ตัวอย่างเช่น การสื่อสารระหว่างแม่และทารก อารมณ์จะเป็นองค์ประกอบสาคัญของการสื่อสาร ซึ่งนาไปสู่ความสัมพันธ์ที่ดีหรือไม่ดีได้ การรู้จักเข้าใจอารมณ์ผู้อื่น นอกจากเข้าใจและรู้จักอารมณ์ของตนเองแล้ว การฝึกสังเกตอารมณ์ผู้อื่นจะทาให้เราสามารถแสดงอารมณ์ของเราตอบสนองผู้อื่นได้เหมาะสม โดยเฉพาะกับคนที่มีความสัมพันธ์ใกล้ชิดควรทาความเข้าใจการแสดงออกทางอารมณ์ จะทา ให้มีความสุขในการใช้ชีวิตร่วมกัน ส่งผลให้สภาพอารมณ์ทั้งของเราและผู้อื่นดีขึ้น เทคนิคในการรู้จักและเข้าใจอารมณ์ผู้อื่นทาได้ดังนี้ 1. ให้ความสนใจการแสดงออกของผู้อื่น โดยการสังเกตสีหน้า แววตา ท่าทาง การพูด น้าเสียง ตลอดจนการแสดงออกอื่นๆ โดยเฉพาะการออกด้านร่างกายมักบอกอารมณ์ได้โดยตรง เพราะบางครั้งเขาอาจไม่พูดบอกความรู้สึกของตนเอง เช่นพ่อแม่ อาจมีความเครียดบางเรื่อง แต่ไม่เล่าให้ลูกๆ ฟัง หากเราสังเกตการณ์แสดงออกจะรับรู้ได้ และถ้าตอบสนองด้วยการเข้าหา ดูแลเอาใจใส่ท่าน อาจช่วยคลายความตึงเครียดลง ในบ้านจะมีบรรยากาศที่ดีขึ้น 2. อ่านอารมณ์ความรู้สึกผู้อื่น จากการสังเกตสนใจแสดงออกของผู้อื่นจะทาให้พอทราบว่าเขารู้สึกอย่างไรแต่บางสถา นการณ์อาจต้องถามเพื่อให้แน่ใจว่าสิ่งที่เราคิดตรงกับ ความรู้สึกจริงของเขาหรือไม่ เช่น ใกล้สอบเราเห็นน้องเงียบลงคงจะเครียดเรื่องอ่านหนังสือไม่ทันหากเราเข้าไปปลอบน้องว่าอ่านไปเรื่อยๆ อาจไม่ตรงกับความรู้สึกของน้องที่กังวลอยู่ ควรใช้วิธีพูดคุยซักถามด้วยความเอาใจใส่ น้องอาจกังวลไม่เข้าใจคณิตศาสตร์ที่จะต้องสอบเราจะได้สามารถหาทางช่วยให้ตรงจุดที่เป็นปัญหา 11 วิธีการดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
  • 12. งบประมาณ ขั้นตอนและแผนการดาเนินงาน ลาดั บ ที่ ขั้นตอน สัปดา ห์ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 0 1 1 1 2 1 3 1 4 1 5 1 6 ผู้รับผิดช อบ 1 คิดหัวข้อโครงงาน 2 ศึกษาและค้นคว้าข้ อมูล 3 จัดทาโครงร่าง 4 ปฏิบัติการสร้างโคร งงาน 5 ปรับปรุงทดสอบ 6 การทาเอกสารายงา น 7 ประเมินผลงาน 8 นาเสนอโครงงาน ผลที่คาดว่าจะได้รับ