SlideShare a Scribd company logo
1 of 4
Download to read offline
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6
ปีการศึกษา 2560
ชื่อโครงงาน ระยะเวลาการงีบที่ให้ผลดีต่อสมอง
ชื่อผู้ทาโครงงาน
1นางสาว วารุณี เครือแก้ว เลขที่ 31 ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 6 ห้อง2
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
นางสาว วารุณี เครือแก้ว เลขที่31
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
ระยะเวลาการงีบที่ให้ผลดีต่อสมอง
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
how long to nap for maximum productivity
ประเภทโครงงาน โครงงานสารวจและรวบรวมข้อมูล
ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาววารุณี เครือแก้ว
ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่1และภาคเรียนที่2 ปีการศึกษา2560
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน)
การนอนเป็นสิ่งที่จาเป็นต้องทาแต่เนื่องจากระยะเวลาที่มีอยู่จากัดและความต้องการใช้เวลาให้เป็น
ประโยชน์สูงสุด เพื่อการสอบเข้ามหาลัยทาให้นักเรียนหลายคนเลือกที่จะไม่นอนหลับซึ่งไม่เป็นผลดีต่อสุขภาพ ซึ่งหาก
ทาติดต่อกันเป็นระยะเวลานานจะส่งผลเสียถึงระบบการทางานของสมองอีกด้วย การอ่านหนังสือสอบเข้ามหาลัยเป็น
สิ่งที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ แต่สามารถเลี่ยงที่จะไม่นอนหลับได้ หรือ จากผลการวิจัยพบว่าเมื่อเรางีบจะมีผลดีต่อการทางาน
ของสมอง การงีบมีตั้งแต่งีบระยะเวลาสั้นๆ(10-20นาที) จนถึงการงีบที่ใช้ระยะเวลาถึงหนึ่งชั่วโมงครึ่ง นักวิจัยหลายๆ
ที่ได้แบ่งการงีบออกเป็นช่วงๆโดยมีเกณฑ์เป็นระยะเวลาที่แตกต่างกันออกไป พบว่าการงีบแต่ละช่วงเวลาให้ผลที่
แตกต่างกันเพราะสิ่งที่เรียกว่าช่วงการนอนหลับ(REM) เช่นการงีบ10-20นาทีจะเป็นการนอนที่อยู่ในช่วงnon-rapid
eye movement (NREM)เป็นระยะเวลานอนที่เพิ่มพลังงานและความสดชื่นเหมาะสาหรับผู้ที่ต้องการจะตื่นขึ้น
มาแล้วกระปรี้กระเปร่า หรือการงีบ30 นาทีจะไม่เป็นผลดีต่อสมองมากนัก นักวิจัยกล่าวว่าหลังจากตื่นจะมีอาการมึน
งง หรือปวดหัวเล็กน้อยและอาการดังกล่าวนี้จะหายไปต้องใช้ระยะเวลาประมาณ 30 นาที ซึ่งการนอนแต่ละช่วงเวลา
ก็ให้ผลต่างกันทั้งสิ้น ดังนั้นผู้จัดทาจึงคิดว่าหากศึกษาช่วงการนอนให้ดีและแบ่งเวลาอย่างเหมาะสมจะส่งผลให้สามารถ
หลีกเลี่ยงการอ่านหนังสือที่ทาไห้ไม่ได้นอนหรือหลีกเลี่ยงการนอนที่ทาให้ไม่ได้อ่านหนังสือ ซึ่งจะกลายเป็นผลเสียใน
ภายหลังได้
3
วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ)
1. ศึกษาข้อดีที่เกิดจากการงีบ
2. ศึกษาระยะเวลาที่เหมาะสมในการงีบ
3. สามารถจัดตารางการนอนที่มีประสิทธิภาพ
ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน)
1. ศึกษาข้อดีที่เกิดจากการงีบในช่วงระยะเวลาที่แตกต่างกัน
2. ศึกษาระยะเวลาที่เหมาะสมและไม่เหมาะสมในการงีบ
3. ศึกษาว่าในการงีบแต่ละครั้งสามารถส่งผลดีได้นานกี่ชั่วโมง
หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน)
การนอนแบ่งเป็น 2 ช่วงใหญ่ๆ คือช่วง REM (Rapid Eye Movement) และช่วง NON REM (Non Rapid
Eye Movement)
NON REM (Non Rapid Eyes Movement)
เป็นช่วงของการนอนตั้งแต่เริ่มหลับ มีความฝันเกิดขึ้นน้อยมาก และหากฝัน ความฝันที่เกิดขึ้นจะเป็นฝันที่ใกล้เคียงกับ
ความเป็นจริงมากกว่าฝันในช่วง REM ช่วงการหลับแบบ NON REM แบ่งออกเป็น 3 ขั้น ดังนี้
Stage 1 : เป็นช่วงที่เราเพิ่งจะเริ่มหลับ โดยทั่วไปจะเป็นช่วงสั้นๆ ประมาณ 5-10 นาที หลังจากหลับตาลง
ใน Stage นี้สมองจะเริ่มทางานช้าลง ถ้าเราถูกปลุกให้ตื่นตอนนี้ เราจะไม่ค่อยงัวเงียหรือบางทีก็จะรู้สึกว่าเรายังไม่ได้
นอน คลื่นสมองจะเป็นคลื่น Alpha และ Theta (คลื่น Alpha ที่ขึ้นลงอยู่ระหว่าง 8-14 รอบ และ Theta ขึ้นลง
ระหว่าง 4-7 รอบต่อวินาที) บางทีตาอาจจะกลอกไปมาช้าๆได้ ในการนอน Stage1 บางคนอาจจะเคยเจอ
ปรากฎการณ์ ตกใจตื่น (Hypnic Jerk) หรือการรู้สึกเหมือนกาลังจะตกจากที่สูง แล้วก็สะดุ้งตัวตื่นขึ้นมา นอกจากนี้
บางคนอาจจะได้ยินหรือเห็นอะไรบางอย่าง ซึ่งต่างประเทศเรียกกันว่า Hypnagogic Hallucination การนอน
Stage1 ไม่ค่อยมีผลกับร่างกายมากนัก
Stage 2 : เป็นช่วงรอยต่อระหว่างการเริ่มหลับไปยังหลับลึก คลื่นสมองจะทางานเร็วขึ้นมาก โดยจะอยู่ในรูป
ของคลื่น Beta ในระยะนี้นี่เองหัวใจจะเริ่มเต้นช้าลง อุณหภูมิในร่างกายจะเริ่มลดลงเล็กน้อย โดยช่วงนี้จะใช้เวลา
ประมาณ 20 นาที ในช่วงนี้สมองส่วนของ Cerebral Cortex และ Thalamus ที่มีหน้าที่เกี่ยวกับความทรงจา, ความ
สนใจ, การรับรู้ต่างๆ, ความคิด, ภาษา, และสติ จะทางาน ดังนั้นการนอนสั้นๆเพียง 30 – 40 นาที ก็เพียงพอที่จะ
ทาให้เรากระตุ้นการทางานของสมองในส่วนของการเก็บข้อมูลเข้าความทรงจาระยะสั้น เพิ่มสมาธิ และยังทาให้ตื่นมา
ไม่งัวเงียมากนัก เนื่องจาก Thalamus ยังทางานอยู่ ร่างกายจะรับรู้ต่อสิ่งกระตุ้นภายนอก เช่น เสียง การสัมผัส ฯลฯ
ได้ไม่ยากมากนัก และเราจะไม่ฝัน
Stage 3 : การหลับลึก (บางตาราจะแบ่งการนอนระยะนี้เป็น 2 stage คือ Stage 3 และ Stage 4 ซึ่งมี คลื่น
สมองต่างกันเล็กน้อย แต่นับตั้งแต่ปี 2007 ทั้งสอง Stages ได้ถูกรวมเรียกเป็น Stage 3) ในช่วงนี้เองที่ร่างกายจะ
ตอบสนองกับสิ่งรบกวนภายนอกน้อยลงมาก ถ้าเราถูกปลุกช่วงนี้เราจะรู้สึกงัวเงียมากที่สุด โดยปกติการหลับใน
4
Stage นี้คลื่นสมองจะเป็นรูปแบบ Delta ซะเป็นส่วนใหญ่ ร่างกายจะอยู่ในสภาวะพักผ่อนมากที่สุดในช่วงนี้เอง การ
หลั่ง Growth Hormone เพื่อซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอของร่างกาย จะเกิดขึ้นมากที่สุดในช่วงนี้ ในการหลับแบบ Non
REM สามารถเกิดการฝันได้ โดยการฝันส่วนใหญ่ของ Non REM จะเกิดขึ้นช่วงกลางของการหลับลึก ความฝันในช่วง
นี้จะเป็นฝันที่ค่อนข้างสมจริง ดังนั้น การละเมอ หรือการฉี่รดที่นอนก็จะเกิดขึ้นในช่วงนี้
REM (Rapid Eyes Movement)
คือการนอนหลับช่วงที่ตาเราจะเคลื่อนไหวไปมาอย่างรวดเร็ว ในช่วงนี้สมองของเราจะทางานใกล้เคียงกับตอนที่เราตื่น
จึงทาให้ช่วงนี้เป็นช่วงที่คนเราจะฝันมากกว่าการนอนหลับช่วงอื่นๆ และการฝันนั้นจะค่อนข้างโลดโผน เห็นสิ่งที่ไม่มี
อยู่ในโลกปกติ สามารถทาอะไรพิสดารได้ อย่างเช่น เห็นปีศาจมาตามฆ่า สามารถเหาะเหินเดินอากาศได้ หรือฝันว่า
เห็นภูติผีปีศาจต่างๆ ในช่วงนี้เองร่างกายจะสามารถพุ่งจากช่วงหลับ ไปเป็นช่วงครึ่งหลับครึ่งตื่น ซึ่งเมื่อเราอยู่ในช่วง
REM เราจะควบคุมกล้ามเนื้อต่างๆ ไม่ค่อยได้ (Temporary Paralysis) เพื่อป้องกันการทาอันตรายตัวเอง หรือ ผู้อื่น
การนอนหลับช่วง REM มีประโยชน์อยู่สองอย่าง คือ ช่วยเรื่องการเรียนรู้ถาวร และการสร้างจินตนาการ
เมื่อมีความจาเป็นต้องนอนน้อยๆ เราก็สามารถใช้ประโยชน์จากข้อมูลที่กล่าวมาในตอนต้นได้เช่นกัน วิธีการนี้
เรียกว่า Power Nap ซึ่งก็คือ การนอนระยะสั้นๆเพื่อให้ร่างกายได้พักบ้าง จะใช้ระยะเวลาในการนอนประมาณ 25-
30 นาที เพื่อให้ร่างกายผ่านช่วง Non REM Stage 1 ไปยังช่วง Non REM Stage 2 ร่างกายจะรู้สึกว่าได้นอน
พอสมควร ซึ่ง Power Nap นี้จะสามารถทดแทนการนอนได้ประมาณ 2 ชั่วโมงต่อครั้งเลยทีเดียว แต่ถ้าทาอย่างนี้
ร่างกายจะไม่ค่อยสร้าง Growth Hormones เพื่อซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอ ดังนั้นจึงไม่ควรทาในระยะยาว
Trick สาหรับคนที่ต้องการประยุกต์ใช้วิธีนี้เข้ากับการนอนปกติ แต่มีข้อแม้ว่า คุณต้อง นอนเป็นเวลาทุกๆวัน ถ้าทาได้
ก็อ่านต่อเลยครับ การใช้ Power Nap ให้ได้ผลระยะยาวนั้น จาเป็นต้องใช้ควบคู่กับการนอนยาวประมาณ 3 - 4
ชั่วโมง (แล้วแต่คน) ให้เราเริ่มนอนเวลาเดียวกันทุกวัน เป็นเวลามากกว่า 1 สัปดาห์ขึ้นไป แล้วตั้งนาฬิกาปลุกให้ตัวเรา
ตื่นอยู่ในช่วง REM ครั้งที่ 2 (ปกติการนอนจนครบ 1 รอบ จะใช้เวลาประมาณ 90 นาที +/- 15 นาที) ถ้าเราไม่งัวเงีย
เวลาตื่นแสดงว่าใช้ได้แล้ว แต่ถ้างัวเงีย ให้เลื่อนนาฬิกาให้ เร็วขึ้นหรือช้าลง ประมาณ 5 นาที สาหรับวันถัดไป เพื่อหา
ช่วง Non REM Stage 1 หรือ REM พอทาอย่างนี้ระหว่างวันเราอาจจะง่วงบ้าง ก็ให้ใช้ Power Nap ช่วย 2 ครั้ง
(โดยปกติ ควรจะเป็นช่วงก่อนทานข้าวกลางวัน และ ก่อนทานข้าวเย็น) รวมแล้วจะทาให้เราใช้เวลานอน แค่ประมาณ
4-5 ชั่วโมง แต่จะได้ความสดชื่นใกล้เคียงกับ การนอนเต็มที่ 8 ชั่วโมงเลยทีเดียว
ข้อเสียของการทาแบบนี้ คือ เราจะไม่ค่อยได้สร้างความทรงจาระยะยาวเท่าไหร่ เนื่องจากช่วง REM ที่เกี่ยวข้อง
โดยตรงกับเรื่องนี้ มีช่วงค่อนข้างสั้น ดังนั้นวิธีนี้จึงไม่เหมาะกับ คนที่จะเรียนรู้อะไรใหม่ๆ แบบถาวรเท่าไหร่นัก
การนอนกลางวัน ฟังดูเหมือนเป็นเหมือนกิจวัตรของคนขี้เกียจ เป็นกิจกรรมของเด็ก คนแก่หรือคนป่วย แล้วทาไมผู้มี
ชื่อเสียง เช่น วินสตัน เชอร์ชิล , อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์ และมาร์กาเร็ต แธตเชอร์ก็ยังชอบงีบหลับระหว่างวันเช่นกันล่ะ
การงีบหลับระหว่างวันมีความสาคัญอย่างไรนะ? การนอนกลางวันถือเป็นเคล็ดลับสาคัญของการเพิ่มประสิทธิภาพการ
ทางาน ความจา และการตื่นตัวได้หรือเปล่า?
ดร.ฮาร์วีย์ ไซมอน ผู้ช่วยศาสตราจารย์คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด กล่าวถึงการงีบหลับระหว่างวันของผู้
มีอายุ 50 ปีขึ้นไป ว่าหากเป็นไปโดยสมัครใจ คือไม่ได้เกิดจากการอดนอนตอนกลางคืนจะถือเป็นประโยชน์ต่อสุขภาพ
โดยอ้างจากผลการศึกษาพนักงานต้อนรับบนเครื่องบิน 200 คน ที่ทางานวันละ 9 ชั่วโมง รวม 8 วัน จากทั้งหมด 12
วัน พบว่า คนที่ได้งีบหลับวันละ 40 นาที จะมีความตื่นตัวและประสิทธิภาพการทางานดีขึ้น

More Related Content

Similar to โครงงานคอมพิวเตอร์

2557 โครงงาน
2557 โครงงาน2557 โครงงาน
2557 โครงงาน
bernfai_baifern
 
แบบเสนอร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
Wiroonanong tawkum
 

Similar to โครงงานคอมพิวเตอร์ (20)

2557 โครงงาน
2557 โครงงาน2557 โครงงาน
2557 โครงงาน
 
Woot
WootWoot
Woot
 
โครงร่าง
โครงร่างโครงร่าง
โครงร่าง
 
2557 โครงงาน1
2557 โครงงาน12557 โครงงาน1
2557 โครงงาน1
 
2562 final-project (2).docx
2562 final-project  (2).docx2562 final-project  (2).docx
2562 final-project (2).docx
 
Woraprat
WorapratWoraprat
Woraprat
 
2562 final-project 11-thunyarat
2562 final-project 11-thunyarat2562 final-project 11-thunyarat
2562 final-project 11-thunyarat
 
2561 project 609
2561 project 6092561 project 609
2561 project 609
 
2561 project -2
2561 project -22561 project -2
2561 project -2
 
แบบเสนอร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
Com final
Com finalCom final
Com final
 
Nutkamon1
Nutkamon1Nutkamon1
Nutkamon1
 
2561 project 06
2561 project 062561 project 06
2561 project 06
 
2562 final-project 06
2562 final-project 062562 final-project 06
2562 final-project 06
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
Projeck tawan
Projeck tawanProjeck tawan
Projeck tawan
 
Fill
FillFill
Fill
 
sleepping
sleeppingsleepping
sleepping
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 

โครงงานคอมพิวเตอร์

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6 ปีการศึกษา 2560 ชื่อโครงงาน ระยะเวลาการงีบที่ให้ผลดีต่อสมอง ชื่อผู้ทาโครงงาน 1นางสาว วารุณี เครือแก้ว เลขที่ 31 ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 6 ห้อง2 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ นางสาว วารุณี เครือแก้ว เลขที่31 คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) ระยะเวลาการงีบที่ให้ผลดีต่อสมอง ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) how long to nap for maximum productivity ประเภทโครงงาน โครงงานสารวจและรวบรวมข้อมูล ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาววารุณี เครือแก้ว ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่1และภาคเรียนที่2 ปีการศึกษา2560 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน) การนอนเป็นสิ่งที่จาเป็นต้องทาแต่เนื่องจากระยะเวลาที่มีอยู่จากัดและความต้องการใช้เวลาให้เป็น ประโยชน์สูงสุด เพื่อการสอบเข้ามหาลัยทาให้นักเรียนหลายคนเลือกที่จะไม่นอนหลับซึ่งไม่เป็นผลดีต่อสุขภาพ ซึ่งหาก ทาติดต่อกันเป็นระยะเวลานานจะส่งผลเสียถึงระบบการทางานของสมองอีกด้วย การอ่านหนังสือสอบเข้ามหาลัยเป็น สิ่งที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ แต่สามารถเลี่ยงที่จะไม่นอนหลับได้ หรือ จากผลการวิจัยพบว่าเมื่อเรางีบจะมีผลดีต่อการทางาน ของสมอง การงีบมีตั้งแต่งีบระยะเวลาสั้นๆ(10-20นาที) จนถึงการงีบที่ใช้ระยะเวลาถึงหนึ่งชั่วโมงครึ่ง นักวิจัยหลายๆ ที่ได้แบ่งการงีบออกเป็นช่วงๆโดยมีเกณฑ์เป็นระยะเวลาที่แตกต่างกันออกไป พบว่าการงีบแต่ละช่วงเวลาให้ผลที่ แตกต่างกันเพราะสิ่งที่เรียกว่าช่วงการนอนหลับ(REM) เช่นการงีบ10-20นาทีจะเป็นการนอนที่อยู่ในช่วงnon-rapid eye movement (NREM)เป็นระยะเวลานอนที่เพิ่มพลังงานและความสดชื่นเหมาะสาหรับผู้ที่ต้องการจะตื่นขึ้น มาแล้วกระปรี้กระเปร่า หรือการงีบ30 นาทีจะไม่เป็นผลดีต่อสมองมากนัก นักวิจัยกล่าวว่าหลังจากตื่นจะมีอาการมึน งง หรือปวดหัวเล็กน้อยและอาการดังกล่าวนี้จะหายไปต้องใช้ระยะเวลาประมาณ 30 นาที ซึ่งการนอนแต่ละช่วงเวลา ก็ให้ผลต่างกันทั้งสิ้น ดังนั้นผู้จัดทาจึงคิดว่าหากศึกษาช่วงการนอนให้ดีและแบ่งเวลาอย่างเหมาะสมจะส่งผลให้สามารถ หลีกเลี่ยงการอ่านหนังสือที่ทาไห้ไม่ได้นอนหรือหลีกเลี่ยงการนอนที่ทาให้ไม่ได้อ่านหนังสือ ซึ่งจะกลายเป็นผลเสียใน ภายหลังได้
  • 3. 3 วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ) 1. ศึกษาข้อดีที่เกิดจากการงีบ 2. ศึกษาระยะเวลาที่เหมาะสมในการงีบ 3. สามารถจัดตารางการนอนที่มีประสิทธิภาพ ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน) 1. ศึกษาข้อดีที่เกิดจากการงีบในช่วงระยะเวลาที่แตกต่างกัน 2. ศึกษาระยะเวลาที่เหมาะสมและไม่เหมาะสมในการงีบ 3. ศึกษาว่าในการงีบแต่ละครั้งสามารถส่งผลดีได้นานกี่ชั่วโมง หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน) การนอนแบ่งเป็น 2 ช่วงใหญ่ๆ คือช่วง REM (Rapid Eye Movement) และช่วง NON REM (Non Rapid Eye Movement) NON REM (Non Rapid Eyes Movement) เป็นช่วงของการนอนตั้งแต่เริ่มหลับ มีความฝันเกิดขึ้นน้อยมาก และหากฝัน ความฝันที่เกิดขึ้นจะเป็นฝันที่ใกล้เคียงกับ ความเป็นจริงมากกว่าฝันในช่วง REM ช่วงการหลับแบบ NON REM แบ่งออกเป็น 3 ขั้น ดังนี้ Stage 1 : เป็นช่วงที่เราเพิ่งจะเริ่มหลับ โดยทั่วไปจะเป็นช่วงสั้นๆ ประมาณ 5-10 นาที หลังจากหลับตาลง ใน Stage นี้สมองจะเริ่มทางานช้าลง ถ้าเราถูกปลุกให้ตื่นตอนนี้ เราจะไม่ค่อยงัวเงียหรือบางทีก็จะรู้สึกว่าเรายังไม่ได้ นอน คลื่นสมองจะเป็นคลื่น Alpha และ Theta (คลื่น Alpha ที่ขึ้นลงอยู่ระหว่าง 8-14 รอบ และ Theta ขึ้นลง ระหว่าง 4-7 รอบต่อวินาที) บางทีตาอาจจะกลอกไปมาช้าๆได้ ในการนอน Stage1 บางคนอาจจะเคยเจอ ปรากฎการณ์ ตกใจตื่น (Hypnic Jerk) หรือการรู้สึกเหมือนกาลังจะตกจากที่สูง แล้วก็สะดุ้งตัวตื่นขึ้นมา นอกจากนี้ บางคนอาจจะได้ยินหรือเห็นอะไรบางอย่าง ซึ่งต่างประเทศเรียกกันว่า Hypnagogic Hallucination การนอน Stage1 ไม่ค่อยมีผลกับร่างกายมากนัก Stage 2 : เป็นช่วงรอยต่อระหว่างการเริ่มหลับไปยังหลับลึก คลื่นสมองจะทางานเร็วขึ้นมาก โดยจะอยู่ในรูป ของคลื่น Beta ในระยะนี้นี่เองหัวใจจะเริ่มเต้นช้าลง อุณหภูมิในร่างกายจะเริ่มลดลงเล็กน้อย โดยช่วงนี้จะใช้เวลา ประมาณ 20 นาที ในช่วงนี้สมองส่วนของ Cerebral Cortex และ Thalamus ที่มีหน้าที่เกี่ยวกับความทรงจา, ความ สนใจ, การรับรู้ต่างๆ, ความคิด, ภาษา, และสติ จะทางาน ดังนั้นการนอนสั้นๆเพียง 30 – 40 นาที ก็เพียงพอที่จะ ทาให้เรากระตุ้นการทางานของสมองในส่วนของการเก็บข้อมูลเข้าความทรงจาระยะสั้น เพิ่มสมาธิ และยังทาให้ตื่นมา ไม่งัวเงียมากนัก เนื่องจาก Thalamus ยังทางานอยู่ ร่างกายจะรับรู้ต่อสิ่งกระตุ้นภายนอก เช่น เสียง การสัมผัส ฯลฯ ได้ไม่ยากมากนัก และเราจะไม่ฝัน Stage 3 : การหลับลึก (บางตาราจะแบ่งการนอนระยะนี้เป็น 2 stage คือ Stage 3 และ Stage 4 ซึ่งมี คลื่น สมองต่างกันเล็กน้อย แต่นับตั้งแต่ปี 2007 ทั้งสอง Stages ได้ถูกรวมเรียกเป็น Stage 3) ในช่วงนี้เองที่ร่างกายจะ ตอบสนองกับสิ่งรบกวนภายนอกน้อยลงมาก ถ้าเราถูกปลุกช่วงนี้เราจะรู้สึกงัวเงียมากที่สุด โดยปกติการหลับใน
  • 4. 4 Stage นี้คลื่นสมองจะเป็นรูปแบบ Delta ซะเป็นส่วนใหญ่ ร่างกายจะอยู่ในสภาวะพักผ่อนมากที่สุดในช่วงนี้เอง การ หลั่ง Growth Hormone เพื่อซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอของร่างกาย จะเกิดขึ้นมากที่สุดในช่วงนี้ ในการหลับแบบ Non REM สามารถเกิดการฝันได้ โดยการฝันส่วนใหญ่ของ Non REM จะเกิดขึ้นช่วงกลางของการหลับลึก ความฝันในช่วง นี้จะเป็นฝันที่ค่อนข้างสมจริง ดังนั้น การละเมอ หรือการฉี่รดที่นอนก็จะเกิดขึ้นในช่วงนี้ REM (Rapid Eyes Movement) คือการนอนหลับช่วงที่ตาเราจะเคลื่อนไหวไปมาอย่างรวดเร็ว ในช่วงนี้สมองของเราจะทางานใกล้เคียงกับตอนที่เราตื่น จึงทาให้ช่วงนี้เป็นช่วงที่คนเราจะฝันมากกว่าการนอนหลับช่วงอื่นๆ และการฝันนั้นจะค่อนข้างโลดโผน เห็นสิ่งที่ไม่มี อยู่ในโลกปกติ สามารถทาอะไรพิสดารได้ อย่างเช่น เห็นปีศาจมาตามฆ่า สามารถเหาะเหินเดินอากาศได้ หรือฝันว่า เห็นภูติผีปีศาจต่างๆ ในช่วงนี้เองร่างกายจะสามารถพุ่งจากช่วงหลับ ไปเป็นช่วงครึ่งหลับครึ่งตื่น ซึ่งเมื่อเราอยู่ในช่วง REM เราจะควบคุมกล้ามเนื้อต่างๆ ไม่ค่อยได้ (Temporary Paralysis) เพื่อป้องกันการทาอันตรายตัวเอง หรือ ผู้อื่น การนอนหลับช่วง REM มีประโยชน์อยู่สองอย่าง คือ ช่วยเรื่องการเรียนรู้ถาวร และการสร้างจินตนาการ เมื่อมีความจาเป็นต้องนอนน้อยๆ เราก็สามารถใช้ประโยชน์จากข้อมูลที่กล่าวมาในตอนต้นได้เช่นกัน วิธีการนี้ เรียกว่า Power Nap ซึ่งก็คือ การนอนระยะสั้นๆเพื่อให้ร่างกายได้พักบ้าง จะใช้ระยะเวลาในการนอนประมาณ 25- 30 นาที เพื่อให้ร่างกายผ่านช่วง Non REM Stage 1 ไปยังช่วง Non REM Stage 2 ร่างกายจะรู้สึกว่าได้นอน พอสมควร ซึ่ง Power Nap นี้จะสามารถทดแทนการนอนได้ประมาณ 2 ชั่วโมงต่อครั้งเลยทีเดียว แต่ถ้าทาอย่างนี้ ร่างกายจะไม่ค่อยสร้าง Growth Hormones เพื่อซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอ ดังนั้นจึงไม่ควรทาในระยะยาว Trick สาหรับคนที่ต้องการประยุกต์ใช้วิธีนี้เข้ากับการนอนปกติ แต่มีข้อแม้ว่า คุณต้อง นอนเป็นเวลาทุกๆวัน ถ้าทาได้ ก็อ่านต่อเลยครับ การใช้ Power Nap ให้ได้ผลระยะยาวนั้น จาเป็นต้องใช้ควบคู่กับการนอนยาวประมาณ 3 - 4 ชั่วโมง (แล้วแต่คน) ให้เราเริ่มนอนเวลาเดียวกันทุกวัน เป็นเวลามากกว่า 1 สัปดาห์ขึ้นไป แล้วตั้งนาฬิกาปลุกให้ตัวเรา ตื่นอยู่ในช่วง REM ครั้งที่ 2 (ปกติการนอนจนครบ 1 รอบ จะใช้เวลาประมาณ 90 นาที +/- 15 นาที) ถ้าเราไม่งัวเงีย เวลาตื่นแสดงว่าใช้ได้แล้ว แต่ถ้างัวเงีย ให้เลื่อนนาฬิกาให้ เร็วขึ้นหรือช้าลง ประมาณ 5 นาที สาหรับวันถัดไป เพื่อหา ช่วง Non REM Stage 1 หรือ REM พอทาอย่างนี้ระหว่างวันเราอาจจะง่วงบ้าง ก็ให้ใช้ Power Nap ช่วย 2 ครั้ง (โดยปกติ ควรจะเป็นช่วงก่อนทานข้าวกลางวัน และ ก่อนทานข้าวเย็น) รวมแล้วจะทาให้เราใช้เวลานอน แค่ประมาณ 4-5 ชั่วโมง แต่จะได้ความสดชื่นใกล้เคียงกับ การนอนเต็มที่ 8 ชั่วโมงเลยทีเดียว ข้อเสียของการทาแบบนี้ คือ เราจะไม่ค่อยได้สร้างความทรงจาระยะยาวเท่าไหร่ เนื่องจากช่วง REM ที่เกี่ยวข้อง โดยตรงกับเรื่องนี้ มีช่วงค่อนข้างสั้น ดังนั้นวิธีนี้จึงไม่เหมาะกับ คนที่จะเรียนรู้อะไรใหม่ๆ แบบถาวรเท่าไหร่นัก การนอนกลางวัน ฟังดูเหมือนเป็นเหมือนกิจวัตรของคนขี้เกียจ เป็นกิจกรรมของเด็ก คนแก่หรือคนป่วย แล้วทาไมผู้มี ชื่อเสียง เช่น วินสตัน เชอร์ชิล , อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์ และมาร์กาเร็ต แธตเชอร์ก็ยังชอบงีบหลับระหว่างวันเช่นกันล่ะ การงีบหลับระหว่างวันมีความสาคัญอย่างไรนะ? การนอนกลางวันถือเป็นเคล็ดลับสาคัญของการเพิ่มประสิทธิภาพการ ทางาน ความจา และการตื่นตัวได้หรือเปล่า? ดร.ฮาร์วีย์ ไซมอน ผู้ช่วยศาสตราจารย์คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด กล่าวถึงการงีบหลับระหว่างวันของผู้ มีอายุ 50 ปีขึ้นไป ว่าหากเป็นไปโดยสมัครใจ คือไม่ได้เกิดจากการอดนอนตอนกลางคืนจะถือเป็นประโยชน์ต่อสุขภาพ โดยอ้างจากผลการศึกษาพนักงานต้อนรับบนเครื่องบิน 200 คน ที่ทางานวันละ 9 ชั่วโมง รวม 8 วัน จากทั้งหมด 12 วัน พบว่า คนที่ได้งีบหลับวันละ 40 นาที จะมีความตื่นตัวและประสิทธิภาพการทางานดีขึ้น