SlideShare a Scribd company logo
1 of 13
Download to read offline
วิจัยในชั้นเรียน
เรื่อง
แก้ปัญหาการลอก E-R Diagram เพื่อใช้ออกแบบฐานข้อมูล
ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ชั้นปีที่ 1
ในรายวิชาระบบฐานข้อมูล ด้วยวิธีการสอบปากเปล่า
ผู้วิจัย
อาจารย์พรพิมล เผือกบาง
ฝ่ายวิชาการ แผนกคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2553
D
ocum
entForC
AT
สารบัญ
หน้า
บทที่ 1 บทนา
ความเป็นมาของการวิจัย 1
วัตถุประสงค์ของการศึกษาค้นคว้า 1
ความสาคัญของการศึกษาค้นคว้า 1
ขอบเขตของการศึกษาค้นคว้า 2
นิยามศัพท์เฉาะ 2
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
การออกแบบฐานข้อมูล 3
แนวคิดเกี่ยวกับ E-R DIAGRAM 4
ความหมายของการสอบปากเปล่า 4
บทที่ 3 วิธีดาเนินการศึกษาค้นคว้า
ขั้นตอนดาเนินการวิจัย 5
ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง 6
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย 6
การเก็บรวบรวมข้อมูล 6
การวิเคราะห์ข้อมูล 6
บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล
ผลการวิเคราะห์ข้อมูล 7
บทที่ 5 สรุป อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ
สรุปผลการวิจัย 9
การอภิปรายผล 10
ข้อเสนอแนะ 11
ประวัติย่อผู้วิจัย
D
ocum
entForC
AT
บทที่ 1
บทนา
ความเป็นมาของการวิจัย
เนื่องจากในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2553 ผู้วิจัยได้รับมอบหมายให้สอนในรายวิชา
ระบบฐานข้อมูล รหัสวิชา 3204-2005 ซึ่งรายวิชาดังกล่าวผู้เรียนจะต้องมีพื้นฐานความรู้เกี่ยวกับ
การออกแบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ และใช้สัญลักษณ์ประเภท E-R Diagram ในการแทนค่า
รูปแบบของฐานข้อมูล ดังนั้นผู้เรียนจะต้องฝึกทักษะในการทาแบบฝึกหัด เพื่อสร้างความรู้ความ
เข้าใจเพิ่มขึ้น และส่งงานตามเวลาที่กาหนด โดยผู้วิจัยจะตรวจแบบฝึกหัดเป็นรายบุคคล และ
บันทึกการส่งงานของผู้เรียนให้เป็นปัจจุบันเสมอ จึงเป็นสาเหตุให้ผู้เรียนบางส่วนที่ขาดความรู้
ความเข้าใจ และไม่สามารถทาการออกแบบฐานข้อมูลโดยใช้ E-R Diagram ได้ ใช้วิธีแก้ปัญหา
โดยการลอกงานเพื่อนมาส่ง ให้มีงานส่งครบตามที่ได้รับมอบหมาย ผู้วิจัยจึงมีแนวความคิดที่จะ
หาวิธีในการแก้ปัญหาของนักเรียนที่ลอกงานเพื่อนมาส่ง ให้มีความรู้ความเข้าใจมากขึ้น และมี
ความมั่นใจในการออกแบบฐานข้อมูลโดยใช้ E-R Diagram ด้วยตนเองเพิ่มมากขึ้น
วัตถุประสงค์ของการศึกษาค้นคว้า
1. เพื่อแก้ปัญหาการลอกงานการออกแบบฐานข้อมูลด้วย E-R Diagram ของนักศึกษา
ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ปีที่ 1 ห้อง 3 สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ โรงเรียนชลบุรี
บริหารธุรกิจและเทคโนโลยี
2. เพื่อให้ผู้เรียนมีความกระตือรือร้นในการทบทวนเนื้อหาที่เรียนเพื่อเตรียมตัวสอบ
3. เพื่อให้ผู้เรียนทราบความหมายของสัญลักษณ์ E-R Diagram ของแต่ละสัญลักษณ์
4. เพื่อให้ผู้เรียนมีทักษะเพิ่มขึ้นในการออกแบบฐานข้อมูลโดยใช้ E-R Diagram
ความสาคัญของการศึกษาค้นคว้า
เพื่อนาผลการวิจัยที่ได้ไปใช้ในการแก้ปัญหาการลอกงานของนักศึกษา หรือใช้เป็น
แนวทางในการเรียนการสอนวิชาในสาขาคอมพิวเตอร์ให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
D
ocum
entForC
AT
ขอบเขตของการศึกษาค้นคว้า
1. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
ในการศึกษาครั้งนี้เป็นนักศึกษาชั้นปีที่ 1 ห้อง 3 สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ ภาคเรียนที่
1 ปีการศึกษา 2553 โรงเรียนชลบุรีบริหารธุรกิจและเทคโนโลยี จานวน 23 คน
2. ตัวแปรที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้า
2.1 ตัวแปรต้น ได้แก่ แก้ปัญหาการลอก E-R Diagram เพื่อใช้ออกแบบฐานข้อมูล
ด้วยวิธีการสอบปากเปล่า
2.2 ตัวแปรตาม ได้แก่ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาระดับชั้น ปวส. 1/3
สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
นิยามศัพท์เฉพาะ
1. โรงเรียนชลบุรีบริหารธุรกิจและเทคโนโลยี หมายถึง โรงเรียนเอกชนที่ได้รับ
อนุญาตจัดตั้งตามพระราชบัญญัติโรงเรียนเอกชนในวันที่ 2 เดือนมิถุนายน พ.ศ.2540 โดยตั้งอยู่
เลขที่ 478 ถนนราษฎร์ประสงค์ ตาบลมะขามหย่ง อาเภอเมืองชลบุรี จังหวัดชลบุรี
2. นักศึกษา หมายถึง บุคคลที่ ศึกษาในระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพสูง ชั้นปีที่ 1 ห้อง
3 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2553 สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ ในโรงเรียนชลบุรีบริหารธุรกิจและ
เทคโนโลยี
D
ocum
entForC
AT
บทที่ 2
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
ในการศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการแก้ปัญหาการลอก E-R Diagram
เพื่อใช้ออกแบบฐานข้อมูลของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ชั้นปีที่ 1 ใน
รายวิชาระบบฐานข้อมูล ด้วยวิธีการสอบปากเปล่า ผู้วิจัยได้จัดลาดับตามลาดับสาระดังนี้
1. การออกแบบฐานข้อมูล
2. แนวคิดเกี่ยวกับ E-R Diagram
3. ความหมายของการสอบปากเปล่า
การออกแบบฐานข้อมูล
การออกแบบฐานข้อมูล (Designing Databases) มีความสาคัญต่อการจัดการระบบ
ฐานข้อมูล (DBMS) ทั้งนี้เนื่องจากข้อมูลที่อยู่ภายในฐานข้อมูลจะต้องศึกษาถึงความสัมพันธ์ของ
ข้อมูล โครงสร้างของข้อมูลการเข้าถึงข้อมูลและกระบวนการที่โปรแกรมประยุกต์จะเรียกใช้
ฐานข้อมูล ดังนั้น เราจึงสามารถแบ่งวิธีการสร้างฐานข้อมูลได้ 3 ประเภท
1. รูปแบบข้อมูลแบบลาดับขั้น หรือโครงสร้างแบบลาดับขั้น (Hierarchical data
model) วิธีการสร้างฐาน ข้อมูลแบบลาดับขั้นถูกพัฒนาโดยบริษัท ไอบีเอ็ม จากัด ในปี 1980 ได้รับ
ความนิยมมาก ในการพัฒนาฐานข้อมูลบนเครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่และขนาดกลาง โดยที่
โครงสร้างข้อมูลจะสร้างรูปแบบเหมือนต้นไม้ โดยความสัมพันธ์เป็นแบบหนึ่งต่อหลาย (One- to -
Many)
2. รูปแบบข้อมูลแบบเครือข่าย (Network data Model) ฐานข้อมูลแบบเครือข่ายมี
ความคล้ายคลึงกับฐาน ข้อมูลแบบลาดับชั้น ต่างกันที่โครงสร้างแบบเครือข่าย อาจจะมีการติดต่อ
หลายต่อหนึ่ง (Many-to-one) หรือ หลายต่อหลาย (Many-to-many) กล่าวคือลูก (Child) อาจมี
พ่อแม่ (Parent) มากกว่าหนึ่ง สาหรับตัวอย่างฐานข้อมูลแบบเครือข่ายใหลองพิจารณาการจัดการ
ข้อมูลของห้องสมุด ซึ่งรายการจะประกอบด้วย ชื่อเรื่อง ผู้แต่ง สานักพิมพ์ ที่อยู่ ประเภทหนังสือ
และปีที่พิมพ์
3. รูปแบบความสัมพันธ์ข้อมูล (Relation data model) เป็นลักษณะการออกแบบ
ฐานข้อมูลโดยจัดข้อมูลให้อยู่ในรูปของตารางที่มีระบบคล้ายแฟ้ม โดยที่ข้อมูลแต่ละแถว (Row)
ของตารางจะแทนเรคอร์ด (Record) ส่วน ข้อมูลนแนวดิ่งจะแทนคอลัมน์ (Column) ซึ่งเป็น
D
ocum
entForC
AT
ขอบเขตของข้อมูล (Field) โดยที่ตารางแต่ละตารางที่สร้างขึ้นจะเป็นอิสระ ดังนั้นผู้ออกแบบ
ฐานข้อมูลจะต้องมีการวางแผนถึงตารางข้อมูลที่จาเป็นต้องใช้ เช่นระบบฐานข้อมูลบริษัทแห่งหนึ่ง
ประกอบด้วย ตารางประวัติพนักงาน ตารางแผนกและตารางข้อมูลโครงการ แสดงประวัติพนักงาน
ตารางแผนก และตารางข้อมูลโครงการ
แนวคิดเกี่ยวกับ ER-DIAGRAM
ER-DIAGRAM ประกอบด้วยองค์ประกอบพื้นฐานดังนี้
 เอนทิตี้ (Entity) เป็นวัตถุ หรือสิ่งของที่เราสนใจในระบบงานนั้น ๆ
 แอททริบิว (Attribute) เป็นคุณสมบัติของวัตถุที่เราสนใจ
 ความสัมพันธ์ (Relationship) คือ ความสัมพันธ์ระหว่างเอนทิตี้
เอนทิตี้ (Entity)
เอนทิตี้ หมายถึง สิ่งของหรือวัตถุที่เราสนใจ ซึ่งอาจจับต้องได้และเป็นได้ทั้ง
นามธรรม โดยทั่วไป เอนทิตี้จะมีลักษณะที่แยกออกจากกันไป เช่น เอนทิตี้พนักงาน จะแยก
ออกเป็นของพนักงานเลย เอนทิตี้เงินเดือนของพนักงานคนหนึ่งก็อาจเป็นเอนทิตี้หนึ่งในระบบของ
โรงงาน โดยทั่วไปแล้ว เอนทิตี้จะมีกลุ่มที่บอกคุณสมบัติที่บอกลักษณะของเอนทิตี้ เช่น พนักงานมี
รหัส ชื่อ นามสกุล และแผนก โดยจะมีค่าของคุณสมบัติบางกลุ่มที่ทาให้สามารถแยกเอนทิตี้ออก
จากเอนทิตี้อื่นได้ เช่น รหัสพนักงานที่จะไม่มีพนักงานคนไหนใช้ซ้ากันเลย เราเรียกค่าวของ
คุณสมบัติกลุ่มนี้ว่าเป็นคีย์ของเอนทิตี้
แอททริบิวท์ (Attribute)
Attribute คือ คุณสมบัติของวัตถุหรือสิ่งของที่เราสนใจ โดยอธิบายรายละเอียดต่าง ๆ ที่
เกี่ยวข้องกับลักษณะของเอนทิตี้ โดยคุณสมบัตินี้มีอยู่ในทุกเอนทิตี้ เช่น ชื่อ นามสกุล ที่อยู่ แผนก
เป็น Attribute ของเอนทิตี้พนักงานโดยทั่วไปแล้วโมเดลข้อมูล เรามักจะพบว่า Attribute มี
ลักษณะข้อมูลพื้นฐานอยู่โดยที่ไม่ต้องมีคาอธิบายมากมาย และ Attribute ก็ไม่สามารถอยู่แบบ
โดด ๆ ได้โดยที่ไม่มีเอนทิตี้หรือความสัมพันธ์
ความสัมพันธ์ (Relationship)
เอนทิตี้แต่จะต้องมีความสัมพันธ์ร่วมกัน โดยจะมีชื่อแสดงความสัมพันธ์ร่วมกันซึ่งจะใช้
รูปภาพสัญลักษณ์สี่เหลี่ยมรูปว่าวแสดงความสัมพันธ์ระหว่างเอนทิตี้และระบุชื่อความสัมพันธ์ลง
ในสี่เหลี่ยม
ความหมายของการสอบปากเปล่า
“การสอบปากเปล่า” ซึ่งหมายถึงการสอบโดยวิธีซักถามให้ตอบด้วยวาจา
D
ocum
entForC
AT
บทที่ 3
วิธีดาเนินการศึกษาค้นคว้า
การศึกษาค้นคว้าครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อแก้ปัญหาการลอก E-R Diagram เพื่อใช้
ออกแบบฐานข้อมูลของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ชั้นปีที่ 1 ใน
รายวิชาระบบฐานข้อมูล ด้วยวิธีการสอบปากเปล่า ได้ดาเนินการศึกษาตามลาดับดังนี้
1. ขั้นตอนการดาเนินการวิจัย
2. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
3. เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
4. การเก็บรวบรวมข้อมูล
5. การวิเคราะห์ข้อมูล
1. ขั้นตอนการดาเนินการตามวิจัย
ผู้วิจัยได้กาหนด ขั้นตอนในการวิจัยไว้ดังนี้
1. จัดทาฉลากคาถามจานวน 5 ชุด
2. แจ้งผู้เรียนเกี่ยวกับการสอบปากเปล่าเป็นรายบุคคลล่วงหน้า 1 สัปดาห์ โดยแจ้ง
รายละเอียดในการสอบและหลักการเก็บคะแนนจาการสอบปากเปล่าเป็นรายบุคคล เพื่อให้
ผู้เรียนมีการเตรียมตัวล่วงหน้า
3. ดาเนินการสอบปากเปล่าในชั่วโมงเรียนจานวน 4 ชั่วโมง โดยสุ่มจากเลขประจาตัว
และให้นักศึกษาสุ่มจับคาถาม 1 ชุด (10 คะแนน)
4. ให้ผู้เรียนเตรียมกระดาษเปล่า ปากกา เพื่อดาเนินการสอบปากเปล่าเป็นรายบุคคล
(สามารถสอบได้ครั้งละ 2 คน โดยสุ่มจับคาถามไม่ซ้ากัน)
5. ผู้เรียนสุ่มจับคาถามแล้วเขียนคาตอบลงในกระดาษที่เตรียมมา และตอบคาถามจาก
การซักถามของผู้วิจัย
6. ผู้วิจัยถามวัดเพื่อความเข้าใจ โดยสร้างบรรยากาศที่เป็นกันเองและไม่ทาให้ผู้เรียนเกิด
ความเครียดจากการตอบคาถาม
7. ถ้าผู้เรียนตอบคาถามข้อใดไม่ได้ ครูแนะนาเพิ่มเติมในประเด็นที่ยังขาดความเข้าใจ
และให้โอกาสผู้เรียนกลับไปทบทวบแล้วมาสอบปากเปล่าใหม่ โดยพิจารณาให้คะแนนตามความ
เหมาะสม
8. ครูแนะนาผู้เรียนเพื่อดาเนินการสอบทุกข้อแล้ว
D
ocum
entForC
AT
9. วิเคราะห์ข้อมูลในภาพรวมโดยใช้ค่าสถิติความถี่ และร้อยละ
2. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
ในการศึกษาครั้งนี้เป็นนักศึกษาชั้นปีที่ 1 ห้อง 3 สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ ภาคเรียนที่
1 ปีการศึกษา 2553 โรงเรียนชลบุรีบริหารธุรกิจและเทคโนโลยี จานวน 23 คน
3. เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
ในการวิจัยครั้งนี้เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น เพื่อศึกษาการแก้ปัญหา
การลอก E-R Diagram เพื่อใช้ออกแบบฐานข้อมูลของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ
ชั้นสูง (ปวส.) ชั้นปีที่ 1 ในรายวิชาระบบฐานข้อมูล ด้วยวิธีการสอบปากเปล่า มีดังนี้
1. จัดทาแบบทดสอบแบบเขียน-ตอบ และอธิบายหลักการทางานของ E-R Diagram
ดังกล่าวตามความเข้าใจ จานวน 5 ชุด
2. จัดทาฉลากเพื่อเลือกแบบทดสอบจานวน 5 ชุด
3. จัดทาเอกสารบันทึกผลการสอบ
4. การเก็บรวบรวมข้อมูล
ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ผู้วิจัยนาเครื่องมือที่สร้างขึ้นไปใช้กับนักเรียน และเก็บข้อมูลด้วย
ตนเอง โดยดาเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลระหว่างวันที่ 17 สิงหาคม 2553 ถึง 14 กันยายน
2553
5. การวิเคราะห์ข้อมูล
1. นาผลที่ได้จากเอกสารในบันทึกคะแนนมาพิจารณาว่าผ่านเกณฑ์ตามที่กาหนดหรือไม่
โดยกาหนดการผ่านเกณฑ์ตั้งแต่ 60% ขึ้นไป
2. ผู้เรียนที่มีคะแนนไม่ถึงเกณฑ์จะให้โอกาสกลับไปทบทวนเนื้อหาเพื่อสอบแก้ตัวใหม่
3. นาผลที่ได้รับจากการสังเกตพฤติกรรมและการตอบคาถามของผู้เรียนมาใช้เป็นข้อมูล
ในการแก้ไขรูปแบบการสอนในครั้งต่อไป
D
ocum
entForC
AT
บทที่ 4
ผลการวิเคราะห์ข้อมูล
เมื่อเก็บรวบรวมข้อมูลแล้ว ผู้ศึกษาได้นาข้อมูลมาวิเคราะห์ผลดังนี้
1. จากการดาเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลในการสอบปากเปล่าเป็นรายบุคคลโดยให้ผู้เรียน
สุ่มจับแบบคาถามเรื่องการออกแบบฐานข้อมูลโดยใช้ E-R Diagram ที่ผู้สอนได้จัดเตรียมไว้ จาก
การสนอบปากเปล่าเป็นรายบุคคล
ตารางที่ 1 แสดงจานวนและร้อยละของผู้เรียนในการสอบปากเปล่าเป็นรายบุคคล
สอบครั้งที่
จานวนผู้เรียน (ร้อยละ)
ผ่านเกณฑ์ 60% ไม่ผ่านเกณฑ์ รวม
1
12
(52.17%)
11
(47.82%)
23
2
8
(72.72%)
3
(27.27%)
11
3
2
(66.66%)
1
(33.33%)
3
รวม
22
(95.65%)
1
(4.34%)
จากตารางที่ 1 พบว่า ผู้เรียนที่มาสอบปากเปล่าส่วนใหญ่ที่ผ่านเกณฑ์ 60% จานวน 22
คน คิดเป็นร้อยละ 95.65 และผู้เรียนที่สอบไม่ผ่านจานวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 0
D
ocum
entForC
AT
2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิเคราะห์ข้อมูลโดยหาร้อยละ
ตารางที่ 1 แสดงคะแนนจากการทาแบบทดสอบ
คนที่ ชื่อ – สกุล
คะแนน
รวม ร้อยละ
ครั้งที่ 1 ครั้งที่ 2 ครั้งที่ 3
1 นายณัฐพล ยั่งยืน 9 7 6 22 73.33
2 นางสาวปานประดับ ความดี 6 5 7 18 60
3 นางสาวผกามาศ ธนูการ 8 8 9 25 83.33
4 นางสาวพรธิภา บุตร์ดาวงษ์ 8 9 6 23 76.66
5 นางสาวพรพรรณ จูสวัสดิ์ 8 8 8 24 80
6 นายพิทยารักษ์ บุญกอง 7 8 8 23 76.66
7 นางสาวยุวดี ยอดทอง 8 10 9 27 90
8 นางสาววิรัญญา จันพฤกษ์ 8 10 9 27 90
9 นายศิริพัฒน์ อุปถัมภ์ 8 9 8 25 83.33
10 นางสาวสุพรรษา คาแดง 7 8 8 23 76.66
11 นางสาวสุภร แสงทอง 7 8 8 23 76.66
12 นางสาวสุภาพร แคล้วคลาด 8 7 6 21 70
13 นางสาวอรไท ไชยโชติ 8 8 9 25 83.33
14 นางสางอังคณา สกุณาเรืองศรี 8 7 9 24 80
15 นายณัฐพล คาคลี่ 7 10 6 23 76.66
16 นายศิลา สุขปิติ 0 7 7 14 46.66
17 นายเบญจรงค์ สุขเจริญ 7 8 7 22 73.33
18 นางสาวสุพัสษา นาคสมบูรณ์ 7 6 8 21 70
19 นายศุภฤกษ์ สะอาดดี 8 8 6 22 73.33
20 นางสาวแพรวธิภา เชี่ยวเวช 7 8 6 21 70
21 นางสาวชลาลัย ฤทธิโยธิน 7 8 7 22 73.33
22 นางสาวอนุสรา เบ้าสุข 8 8 5 21 70
23 นางสาวนิภาภรณ์ กันชิด 8 8 7 23 76.66
รวมคะแนนทั้งสิ้น 519
คะแนนเฉลี่ย 22.56
ร้อยละ 75.21
จากตาราง 2 พบว่า ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังจากทาแบบทดสอบ มีค่าคะแนน
รวมเฉลี่ย 22.56 จากคะแนนเต็ม 30 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 75.21 ดังนั้นความสามารถในการ
ออกแบบฐานข้อมูลโดยใช้ E-R Diagram ของระดับปวส.1 เท่ากับ 75.21
D
ocum
entForC
AT
บทที่ 5
สรุป อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ
การจัดการเรียนการสอนในปัจจุบัน กาหนดให้มีการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่ยึด
ผู้เรียนเป็นสาคัญ ที่ให้ผู้เรียนมีความรู้ด้านทฤษฎี มีทักษะ ในสาขาวิชาชีพ มีคุณธรรมจริยธรรม
ตามความมุ่งหมายของสังคม การจัดการเรียนการสอนในรายวิชา ระบบฐานข้อมูล รหัสวิชา
3204-2005 ซึ่งเป็นวิชาชีพได้กาหนดให้นักศึกษาระดับ ปวส. 1 เรียนเป็นรายวิชาบังคับนั้น
ผู้สอนพบปัญหาว่านักศึกษาที่เรียนในรายวิชาระบบฐานข้อมูลส่วนใหญ่ยังไม่เคยออกแบบ
ฐานข้อมูลโดยใช้สัญลักษณ์ที่เรียกว่า E-R Diagram มาก่อน ซึ่งในการจัดการสอนในวิชานี้ มี
ทั้งภาคทฤษฎี และปฏิบัติ ซึ่งในการปฏิบัติจะใช้โปรแกรม 2 โปรแกรม เพื่อประกอบการเรียน
ภาคปฏิบัติคือ โปรแกรม Microsoft Access และโปรแกรม MySQL และต้องนาผลการ
ออกแบบ E-R Diagram มาประยุกต์ใช้กับโปรแกรมที่เหมาะสมกับฐานข้อมูลซึ่งอาจกล่าวได้ว่า
E-R Diagram เป็นพื้นฐานที่สาคัญในการออกแบบงานด้านฐานข้อมูลเป็นอย่างยิ่ง
วัตถุประสงค์ของการศึกษาค้นคว้า
1. เพื่อแก้ปัญหาการลอกงานการออกแบบฐานข้อมูลด้วย E-R Diagram ของนักศึกษา
ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ปีที่ 1 ห้อง 3 สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ โรงเรียนชลบุรี
บริหารธุรกิจและเทคโนโลยี
5. เพื่อให้ผู้เรียนมีความกระตือรือร้นในการทบทวนเนื้อหาที่เรียนเพื่อเตรียมตัวสอบ
6. เพื่อให้ผู้เรียนทราบความหมายของสัญลักษณ์ E-R Diagram ของแต่ละสัญลักษณ์
7. เพื่อให้ผู้เรียนมีทักษะเพิ่มขึ้นในการออกแบบฐานข้อมูลโดยใช้ E-R Diagram
วิธีการดาเนินการศึกษาค้นคว้า
ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
ในการศึกษาครั้งนี้เป็นนักศึกษาชั้นปีที่ 1 ห้อง 3 สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ ภาคเรียนที่
1 ปีการศึกษา 2553 โรงเรียนชลบุรีบริหารธุรกิจและเทคโนโลยี จานวน 23 คน
ตัวแปรที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้า
ตัวแปรต้น ได้แก่ แก้ปัญหาการลอก E-R Diagram เพื่อใช้ออกแบบฐานข้อมูลด้วย
วิธีการสอบปากเปล่า
D
ocum
entForC
AT
ตัวแปรตาม ได้แก่ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาระดับชั้น ปวส. 1/3 สาขาวิชา
คอมพิวเตอร์ธุรกิจ
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
1. จัดทาแบบทดสอบแบบเขียน-ตอบ และอธิบายหลักการทางานของ E-R Diagram
ดังกล่าวตามความเข้าใจ จานวน 5 ชุด
4. จัดทาฉลากเพื่อเลือกแบบทดสอบจานวน 5 ชุด
5. จัดทาเอกสารบันทึกผลการสอบ
การเก็บรวบรวมข้อมูล
1. ดาเนินการสอบปากเปล่าในชั่วโมงเรียนจานวน 4 ชั่วโมง โดยสุ่มจากเลขประจาตัว
และให้นักศึกษาสุ่มจับคาถาม 1 ชุด (10 คะแนน)
2. ผู้เรียนสุ่มจับคาถามแล้วเขียนคาตอบลงในกระดาษที่เตรียมมา และตอบคาถามจาก
การซักถามของผู้วิจัย
3. วิเคราะห์ข้อมูลในภาพรวมโดยใช้ค่าสถิติความถี่ และร้อยละ
การวิเคราะห์ข้อมูล
1. นาผลที่ได้จากเอกสารในบันทึกคะแนนมาพิจารณาว่าผ่านเกณฑ์ตามที่กาหนดหรือไม่
โดยกาหนดการผ่านเกณฑ์ตั้งแต่ 60% ขึ้นไป
2. ผู้เรียนที่มีคะแนนไม่ถึงเกณฑ์จะให้โอกาสกลับไปทบทวนเนื้อหาเพื่อสอบแก้ตัวใหม่
3. นาผลที่ได้รับจากการสังเกตพฤติกรรมและการตอบคาถามของผู้เรียนมาใช้เป็นข้อมูล
ในการแก้ไขรูปแบบการสอนในครั้งต่อไป
การอภิปรายผล
จากผลการวิเคราะห์ข้อมูล สามารถนาผลการวิจัยมาอภิปรายผล ได้ดังนี้
1. จากการสอบปากเปล่าเป็นรายบุคคลของผู้เรียนจานวน 23 คน มีผู้เรียนสอบผ่าน
เกณฑ์ 22 คน และสอบไม่ผ่านเกณฑ์ 1 คน
2. จากการสังเกตพฤติกรรมของผู้เรียนสามารถสรุปได้ดังนี้
2.1 ผู้เรียนส่วนใหญ่มีความกระตือรือร้นในการทบทวนบทเรียนเกี่ยวกับการใช้ E-R
Diagram ในการออกแบบฐานข้อมูลมากขึ้น ส่วนผู้เรียนที่เคยลอกแบบฝึกหัดหรืองานจากเพื่อน
ก็เริ่มกล้าที่จะซักถามเพื่อนและครูมากขึ้นในสิ่งที่ผู้เรียนสงสัยหรือไม่เข้าใจ
D
ocum
entForC
AT
2.2 ผู้เรียนที่มีคะแนนไม่ดีหรือต้องการได้คะแนนเพิ่มขึ้น ก็อนุญาตให้สอบใหม่อีกครั้ง
โดยให้ผู้เรียนกลับไปทบทวนเนื้อหาใหม่ ทาให้ผู้เรียนมีความกระตือรือร้นมากขึ้น
2.3 ผู้วิจัยได้ทราบว่ามีผู้เรียนบางส่วนที่ยังประยุกต์ใช้สัญลักษณ์ E-R Diagram ใน
การออกแบบฐานข้อมูลเบื้องต้นไม่ได้ เนื่องจากผู้เรียนไม่เคยมีความรู้เกี่ยวกับสัญลักษณ์ E-R
Diagram มาก่อน ซึ่งจากการสังเกตผู้เรียนจะพิจารณาคาตอบโดยใช้เวลาค่อนข้างมากต่อ 1
คาถาม
2.4 จากการสังเกตพบว่าผู้เรียนส่วนใหญ่มีการจับกลุ่มเพื่อทบทวนเนื้อหาให้กันมากขึ้น
เป็นลักษณะเพื่อนช่วยเพื่อน ซึ่งเป็นการสร้างสัมพันธไมตรีที่ดีภายในชั้นเรียน
3. ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังจากทาแบบทดสอบ มีค่าคะแนนรวมเฉลี่ย 22.56
จากคะแนนเต็ม 30 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 75.21 ดังนั้นความสามารถในการออกแบบฐานข้อมูล
โดยใช้ E-R Diagram ของระดับปวส.1 เท่ากับ 75.21
ข้อเสนอแนะ
ผู้วิจัยขอเสนอแนะแนวทางเพื่อนาข้อค้นพบในการวิจัยไปใช้ในการพัฒนาการเรียนการ
สอนคือ
1. ควรนัดผู้เรียนมาสอบนอกเวลาเรียน ซึ่งเป็นเวลาที่ผู้วิจัยว่างจากการสอนและผู้เรียนก็
ว่างจากการเรียนเพื่อไม่ให้เกิดผลกระทบกับผู้เรียนในวิชาอื่นๆ
2. ควรใช้ความอดทนและเสียสละเวลาให้แก่ผู้เรียนเป็นอย่างมากเพื่อให้การสอบเป็นไป
ตามกาหนดเวลาที่วางไว้
3. ควรนาข้อมูลจากการสอบปากเปล่ามาใช้ในการปรับปรุงวิธีการสอน และปรับปรุงงาน
ที่มอบหมายให้ผู้เรียนปฏิบัติ ให้มีระดับความยาก-ง่าย ให้เหมาะสมกับความสามารถของผู้เรียน
เพื่อให้ผู้เรียนมีความสนุกกับการเรียนไม่เบื่อหน่ายกับงานที่มอบหมาย
D
ocum
entForC
AT

More Related Content

What's hot

ระบบฐานข้อมูลเบื้องต้น
ระบบฐานข้อมูลเบื้องต้นระบบฐานข้อมูลเบื้องต้น
ระบบฐานข้อมูลเบื้องต้นTophuto Piyapan
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6nunzaza
 
Slide บรรยายโครงการสัมมนา block course
Slide บรรยายโครงการสัมมนา block courseSlide บรรยายโครงการสัมมนา block course
Slide บรรยายโครงการสัมมนา block coursexcmmagic
 
02ข้อมูลสารสนเทศความรู้
02ข้อมูลสารสนเทศความรู้02ข้อมูลสารสนเทศความรู้
02ข้อมูลสารสนเทศความรู้KruJarin Mrw
 
การจัดการข้อมูลและการแทนข้อมูล
การจัดการข้อมูลและการแทนข้อมูลการจัดการข้อมูลและการแทนข้อมูล
การจัดการข้อมูลและการแทนข้อมูลKru Jhair
 
1. ความร เบ__องต_นเก__ยวก_บสถ_ต_และการว_จ_ย
1. ความร  เบ__องต_นเก__ยวก_บสถ_ต_และการว_จ_ย1. ความร  เบ__องต_นเก__ยวก_บสถ_ต_และการว_จ_ย
1. ความร เบ__องต_นเก__ยวก_บสถ_ต_และการว_จ_ยฟ้าหลังฝน สดใสเสมอ
 
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภท
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภท
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทSorpor 'eiei
 
การเขียนบทความวิจัย
การเขียนบทความวิจัยการเขียนบทความวิจัย
การเขียนบทความวิจัยPrachyanun Nilsook
 
การเขียนบทความวิจัย
การเขียนบทความวิจัยการเขียนบทความวิจัย
การเขียนบทความวิจัยsanya111
 
การใช้เทคโนโลยีในการนำเสนองาน
การใช้เทคโนโลยีในการนำเสนองานการใช้เทคโนโลยีในการนำเสนองาน
การใช้เทคโนโลยีในการนำเสนองานTae Pheemaphon
 

What's hot (15)

Cu reflibrary110610
Cu reflibrary110610Cu reflibrary110610
Cu reflibrary110610
 
ระบบฐานข้อมูลเบื้องต้น
ระบบฐานข้อมูลเบื้องต้นระบบฐานข้อมูลเบื้องต้น
ระบบฐานข้อมูลเบื้องต้น
 
Week 1
Week 1Week 1
Week 1
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
 
Slide บรรยายโครงการสัมมนา block course
Slide บรรยายโครงการสัมมนา block courseSlide บรรยายโครงการสัมมนา block course
Slide บรรยายโครงการสัมมนา block course
 
งานคอม#2
งานคอม#2งานคอม#2
งานคอม#2
 
02ข้อมูลสารสนเทศความรู้
02ข้อมูลสารสนเทศความรู้02ข้อมูลสารสนเทศความรู้
02ข้อมูลสารสนเทศความรู้
 
การจัดการข้อมูลและการแทนข้อมูล
การจัดการข้อมูลและการแทนข้อมูลการจัดการข้อมูลและการแทนข้อมูล
การจัดการข้อมูลและการแทนข้อมูล
 
1. ความร เบ__องต_นเก__ยวก_บสถ_ต_และการว_จ_ย
1. ความร  เบ__องต_นเก__ยวก_บสถ_ต_และการว_จ_ย1. ความร  เบ__องต_นเก__ยวก_บสถ_ต_และการว_จ_ย
1. ความร เบ__องต_นเก__ยวก_บสถ_ต_และการว_จ_ย
 
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภท
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภท
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภท
 
การเขียนบทความวิจัย
การเขียนบทความวิจัยการเขียนบทความวิจัย
การเขียนบทความวิจัย
 
การเขียนบทความวิจัย
การเขียนบทความวิจัยการเขียนบทความวิจัย
การเขียนบทความวิจัย
 
3
33
3
 
วิจัย
วิจัย วิจัย
วิจัย
 
การใช้เทคโนโลยีในการนำเสนองาน
การใช้เทคโนโลยีในการนำเสนองานการใช้เทคโนโลยีในการนำเสนองาน
การใช้เทคโนโลยีในการนำเสนองาน
 

Viewers also liked

วิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียนWilaiwon Muangwong
 
ใบความรู้ที่ 5 เพชร
ใบความรู้ที่ 5 เพชรใบความรู้ที่ 5 เพชร
ใบความรู้ที่ 5 เพชรครูเพชร
 
ใบความรู้ที่ 5
ใบความรู้ที่ 5ใบความรู้ที่ 5
ใบความรู้ที่ 5ครูเพชร
 
ใบความรู้ที่ 5
ใบความรู้ที่ 5ใบความรู้ที่ 5
ใบความรู้ที่ 5ครูเพชร
 
ครูเพชร การนำเสนอข้อมูลด้วยตาราง
ครูเพชร การนำเสนอข้อมูลด้วยตารางครูเพชร การนำเสนอข้อมูลด้วยตาราง
ครูเพชร การนำเสนอข้อมูลด้วยตารางครูเพชร
 
ใบความรู้ที่ 7
ใบความรู้ที่ 7ใบความรู้ที่ 7
ใบความรู้ที่ 7ครูเพชร
 
ครูเพชร การแทรกรูปภาพลงในโปแกรมPower point
ครูเพชร การแทรกรูปภาพลงในโปแกรมPower pointครูเพชร การแทรกรูปภาพลงในโปแกรมPower point
ครูเพชร การแทรกรูปภาพลงในโปแกรมPower pointครูเพชร
 
ใบความรู้ที่ 5 เพชร
ใบความรู้ที่ 5 เพชรใบความรู้ที่ 5 เพชร
ใบความรู้ที่ 5 เพชรครูเพชร
 
สื่อการสอน หน่วยที่ 1
สื่อการสอน หน่วยที่ 1สื่อการสอน หน่วยที่ 1
สื่อการสอน หน่วยที่ 1ครูเพชร
 
ทักษะการเรียนรู้ ม.ปลาย ทร31001
ทักษะการเรียนรู้ ม.ปลาย ทร31001ทักษะการเรียนรู้ ม.ปลาย ทร31001
ทักษะการเรียนรู้ ม.ปลาย ทร31001Thidarat Termphon
 

Viewers also liked (11)

วิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียน
 
471
471471
471
 
ใบความรู้ที่ 5 เพชร
ใบความรู้ที่ 5 เพชรใบความรู้ที่ 5 เพชร
ใบความรู้ที่ 5 เพชร
 
ใบความรู้ที่ 5
ใบความรู้ที่ 5ใบความรู้ที่ 5
ใบความรู้ที่ 5
 
ใบความรู้ที่ 5
ใบความรู้ที่ 5ใบความรู้ที่ 5
ใบความรู้ที่ 5
 
ครูเพชร การนำเสนอข้อมูลด้วยตาราง
ครูเพชร การนำเสนอข้อมูลด้วยตารางครูเพชร การนำเสนอข้อมูลด้วยตาราง
ครูเพชร การนำเสนอข้อมูลด้วยตาราง
 
ใบความรู้ที่ 7
ใบความรู้ที่ 7ใบความรู้ที่ 7
ใบความรู้ที่ 7
 
ครูเพชร การแทรกรูปภาพลงในโปแกรมPower point
ครูเพชร การแทรกรูปภาพลงในโปแกรมPower pointครูเพชร การแทรกรูปภาพลงในโปแกรมPower point
ครูเพชร การแทรกรูปภาพลงในโปแกรมPower point
 
ใบความรู้ที่ 5 เพชร
ใบความรู้ที่ 5 เพชรใบความรู้ที่ 5 เพชร
ใบความรู้ที่ 5 เพชร
 
สื่อการสอน หน่วยที่ 1
สื่อการสอน หน่วยที่ 1สื่อการสอน หน่วยที่ 1
สื่อการสอน หน่วยที่ 1
 
ทักษะการเรียนรู้ ม.ปลาย ทร31001
ทักษะการเรียนรู้ ม.ปลาย ทร31001ทักษะการเรียนรู้ ม.ปลาย ทร31001
ทักษะการเรียนรู้ ม.ปลาย ทร31001
 

Similar to Research02

บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3nunzaza
 
นาย ทศพล จอมใจ
นาย  ทศพล    จอมใจนาย  ทศพล    จอมใจ
นาย ทศพล จอมใจtaltan
 
นาย ทศพล จอมใจ
นาย  ทศพล    จอมใจนาย  ทศพล    จอมใจ
นาย ทศพล จอมใจtaltan
 
นาย ทศพล จอมใจ
นาย  ทศพล    จอมใจนาย  ทศพล    จอมใจ
นาย ทศพล จอมใจtaltan
 
นาย ทศพล จอมใจ
นาย  ทศพล    จอมใจนาย  ทศพล    จอมใจ
นาย ทศพล จอมใจtaltan
 
นาย ทศพล จอมใจ
นาย  ทศพล    จอมใจนาย  ทศพล    จอมใจ
นาย ทศพล จอมใจtaltan
 
ใบความรู้ที่ 1การออกแบบฐานข้อมูล
ใบความรู้ที่ 1การออกแบบฐานข้อมูลใบความรู้ที่ 1การออกแบบฐานข้อมูล
ใบความรู้ที่ 1การออกแบบฐานข้อมูลKo Kung
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูลความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูลkruthanyaporn
 
บทที่ 3 ฐานข้อมูลและการค้นคืน
บทที่ 3 ฐานข้อมูลและการค้นคืนบทที่ 3 ฐานข้อมูลและการค้นคืน
บทที่ 3 ฐานข้อมูลและการค้นคืนSrion Janeprapapong
 
ใบงานที่ 3 เรื่องขอบข่ายและประเภท
ใบงานที่ 3 เรื่องขอบข่ายและประเภทใบงานที่ 3 เรื่องขอบข่ายและประเภท
ใบงานที่ 3 เรื่องขอบข่ายและประเภทPop Nattakarn
 
แผนการเรียนรู้สามารถช่วยพัฒนาทักษะต่างๆ [Design of Learning Environment]
แผนการเรียนรู้สามารถช่วยพัฒนาทักษะต่างๆ [Design of Learning Environment]แผนการเรียนรู้สามารถช่วยพัฒนาทักษะต่างๆ [Design of Learning Environment]
แผนการเรียนรู้สามารถช่วยพัฒนาทักษะต่างๆ [Design of Learning Environment]มาโนช นันทา
 
นวลลออ ถาวรโรจน์เสถียร เลขที่20 ม.5
นวลลออ ถาวรโรจน์เสถียร เลขที่20 ม.5นวลลออ ถาวรโรจน์เสถียร เลขที่20 ม.5
นวลลออ ถาวรโรจน์เสถียร เลขที่20 ม.5Nuanlaor Nuan
 
งานกลุ่ม3ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
งานกลุ่ม3ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์งานกลุ่ม3ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
งานกลุ่ม3ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์Earn'kanittha Thunyadee
 
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัย
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัยแนวการเขียนรายงายเชิงวิจัย
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัยwitthaya601
 
การจัดทำรายงาน
การจัดทำรายงานการจัดทำรายงาน
การจัดทำรายงานChainarong Maharak
 
ใบงานท 3 เร__องขอบข_ายและประเภท
ใบงานท   3 เร__องขอบข_ายและประเภทใบงานท   3 เร__องขอบข_ายและประเภท
ใบงานท 3 เร__องขอบข_ายและประเภทMint Jiratchaya
 

Similar to Research02 (20)

บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
นาย ทศพล จอมใจ
นาย  ทศพล    จอมใจนาย  ทศพล    จอมใจ
นาย ทศพล จอมใจ
 
นาย ทศพล จอมใจ
นาย  ทศพล    จอมใจนาย  ทศพล    จอมใจ
นาย ทศพล จอมใจ
 
นาย ทศพล จอมใจ
นาย  ทศพล    จอมใจนาย  ทศพล    จอมใจ
นาย ทศพล จอมใจ
 
นาย ทศพล จอมใจ
นาย  ทศพล    จอมใจนาย  ทศพล    จอมใจ
นาย ทศพล จอมใจ
 
นาย ทศพล จอมใจ
นาย  ทศพล    จอมใจนาย  ทศพล    จอมใจ
นาย ทศพล จอมใจ
 
ใบความรู้ที่ 1การออกแบบฐานข้อมูล
ใบความรู้ที่ 1การออกแบบฐานข้อมูลใบความรู้ที่ 1การออกแบบฐานข้อมูล
ใบความรู้ที่ 1การออกแบบฐานข้อมูล
 
Chapter 8
Chapter 8Chapter 8
Chapter 8
 
Database
DatabaseDatabase
Database
 
การจัดเก็บข้อมูล
การจัดเก็บข้อมูลการจัดเก็บข้อมูล
การจัดเก็บข้อมูล
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูลความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
 
บทที่ 3 ฐานข้อมูลและการค้นคืน
บทที่ 3 ฐานข้อมูลและการค้นคืนบทที่ 3 ฐานข้อมูลและการค้นคืน
บทที่ 3 ฐานข้อมูลและการค้นคืน
 
ใบงานที่ 3 เรื่องขอบข่ายและประเภท
ใบงานที่ 3 เรื่องขอบข่ายและประเภทใบงานที่ 3 เรื่องขอบข่ายและประเภท
ใบงานที่ 3 เรื่องขอบข่ายและประเภท
 
it-06-50
it-06-50it-06-50
it-06-50
 
แผนการเรียนรู้สามารถช่วยพัฒนาทักษะต่างๆ [Design of Learning Environment]
แผนการเรียนรู้สามารถช่วยพัฒนาทักษะต่างๆ [Design of Learning Environment]แผนการเรียนรู้สามารถช่วยพัฒนาทักษะต่างๆ [Design of Learning Environment]
แผนการเรียนรู้สามารถช่วยพัฒนาทักษะต่างๆ [Design of Learning Environment]
 
นวลลออ ถาวรโรจน์เสถียร เลขที่20 ม.5
นวลลออ ถาวรโรจน์เสถียร เลขที่20 ม.5นวลลออ ถาวรโรจน์เสถียร เลขที่20 ม.5
นวลลออ ถาวรโรจน์เสถียร เลขที่20 ม.5
 
งานกลุ่ม3ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
งานกลุ่ม3ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์งานกลุ่ม3ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
งานกลุ่ม3ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
 
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัย
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัยแนวการเขียนรายงายเชิงวิจัย
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัย
 
การจัดทำรายงาน
การจัดทำรายงานการจัดทำรายงาน
การจัดทำรายงาน
 
ใบงานท 3 เร__องขอบข_ายและประเภท
ใบงานท   3 เร__องขอบข_ายและประเภทใบงานท   3 เร__องขอบข_ายและประเภท
ใบงานท 3 เร__องขอบข_ายและประเภท
 

More from ครูเพชร

ใบความรู้ที่ 5
ใบความรู้ที่ 5ใบความรู้ที่ 5
ใบความรู้ที่ 5ครูเพชร
 
ใบความรู้ที่ 5 เพชร
ใบความรู้ที่ 5 เพชรใบความรู้ที่ 5 เพชร
ใบความรู้ที่ 5 เพชรครูเพชร
 
ใบความรู้ที่ 5
ใบความรู้ที่ 5ใบความรู้ที่ 5
ใบความรู้ที่ 5ครูเพชร
 
2. ใบความรู้ที่ 8
2. ใบความรู้ที่ 82. ใบความรู้ที่ 8
2. ใบความรู้ที่ 8ครูเพชร
 
2. ใบความรู้ที่ 7
2. ใบความรู้ที่ 72. ใบความรู้ที่ 7
2. ใบความรู้ที่ 7ครูเพชร
 
2. ใบความรู้ที่ 6
2. ใบความรู้ที่ 62. ใบความรู้ที่ 6
2. ใบความรู้ที่ 6ครูเพชร
 
2. ใบความรู้ที่ 5
2. ใบความรู้ที่ 52. ใบความรู้ที่ 5
2. ใบความรู้ที่ 5ครูเพชร
 
2. ใบความรู้ที่ 4
2. ใบความรู้ที่ 42. ใบความรู้ที่ 4
2. ใบความรู้ที่ 4ครูเพชร
 
2. ใบความรู้ที่ 4
2. ใบความรู้ที่ 42. ใบความรู้ที่ 4
2. ใบความรู้ที่ 4ครูเพชร
 
2. ใบความรู้ที่ 3
2. ใบความรู้ที่ 32. ใบความรู้ที่ 3
2. ใบความรู้ที่ 3ครูเพชร
 
2. ใบความรู้ที่ 2
2. ใบความรู้ที่ 22. ใบความรู้ที่ 2
2. ใบความรู้ที่ 2ครูเพชร
 
2. ใบความรู้ที่ 1
2. ใบความรู้ที่ 12. ใบความรู้ที่ 1
2. ใบความรู้ที่ 1ครูเพชร
 
2. ใบความรู้ที่ 1
2. ใบความรู้ที่ 12. ใบความรู้ที่ 1
2. ใบความรู้ที่ 1ครูเพชร
 

More from ครูเพชร (16)

งานนำเสนอ5
งานนำเสนอ5งานนำเสนอ5
งานนำเสนอ5
 
งานนำเสนอ5
งานนำเสนอ5งานนำเสนอ5
งานนำเสนอ5
 
ใบความรู้ที่ 5
ใบความรู้ที่ 5ใบความรู้ที่ 5
ใบความรู้ที่ 5
 
ใบความรู้ที่ 5 เพชร
ใบความรู้ที่ 5 เพชรใบความรู้ที่ 5 เพชร
ใบความรู้ที่ 5 เพชร
 
ใบความรู้ที่ 5
ใบความรู้ที่ 5ใบความรู้ที่ 5
ใบความรู้ที่ 5
 
2. ใบความรู้ที่ 8
2. ใบความรู้ที่ 82. ใบความรู้ที่ 8
2. ใบความรู้ที่ 8
 
2. ใบความรู้ที่ 7
2. ใบความรู้ที่ 72. ใบความรู้ที่ 7
2. ใบความรู้ที่ 7
 
2. ใบความรู้ที่ 6
2. ใบความรู้ที่ 62. ใบความรู้ที่ 6
2. ใบความรู้ที่ 6
 
2. ใบความรู้ที่ 5
2. ใบความรู้ที่ 52. ใบความรู้ที่ 5
2. ใบความรู้ที่ 5
 
2. ใบความรู้ที่ 4
2. ใบความรู้ที่ 42. ใบความรู้ที่ 4
2. ใบความรู้ที่ 4
 
2. ใบความรู้ที่ 4
2. ใบความรู้ที่ 42. ใบความรู้ที่ 4
2. ใบความรู้ที่ 4
 
2. ใบความรู้ที่ 3
2. ใบความรู้ที่ 32. ใบความรู้ที่ 3
2. ใบความรู้ที่ 3
 
2. ใบความรู้ที่ 2
2. ใบความรู้ที่ 22. ใบความรู้ที่ 2
2. ใบความรู้ที่ 2
 
2. ใบความรู้ที่ 1
2. ใบความรู้ที่ 12. ใบความรู้ที่ 1
2. ใบความรู้ที่ 1
 
2. ใบความรู้ที่ 1
2. ใบความรู้ที่ 12. ใบความรู้ที่ 1
2. ใบความรู้ที่ 1
 
ซอฟต์แวร์
ซอฟต์แวร์ซอฟต์แวร์
ซอฟต์แวร์
 

Research02

  • 1. วิจัยในชั้นเรียน เรื่อง แก้ปัญหาการลอก E-R Diagram เพื่อใช้ออกแบบฐานข้อมูล ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ชั้นปีที่ 1 ในรายวิชาระบบฐานข้อมูล ด้วยวิธีการสอบปากเปล่า ผู้วิจัย อาจารย์พรพิมล เผือกบาง ฝ่ายวิชาการ แผนกคอมพิวเตอร์ธุรกิจ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2553 D ocum entForC AT
  • 2. สารบัญ หน้า บทที่ 1 บทนา ความเป็นมาของการวิจัย 1 วัตถุประสงค์ของการศึกษาค้นคว้า 1 ความสาคัญของการศึกษาค้นคว้า 1 ขอบเขตของการศึกษาค้นคว้า 2 นิยามศัพท์เฉาะ 2 บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง การออกแบบฐานข้อมูล 3 แนวคิดเกี่ยวกับ E-R DIAGRAM 4 ความหมายของการสอบปากเปล่า 4 บทที่ 3 วิธีดาเนินการศึกษาค้นคว้า ขั้นตอนดาเนินการวิจัย 5 ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง 6 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย 6 การเก็บรวบรวมข้อมูล 6 การวิเคราะห์ข้อมูล 6 บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล ผลการวิเคราะห์ข้อมูล 7 บทที่ 5 สรุป อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ สรุปผลการวิจัย 9 การอภิปรายผล 10 ข้อเสนอแนะ 11 ประวัติย่อผู้วิจัย D ocum entForC AT
  • 3. บทที่ 1 บทนา ความเป็นมาของการวิจัย เนื่องจากในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2553 ผู้วิจัยได้รับมอบหมายให้สอนในรายวิชา ระบบฐานข้อมูล รหัสวิชา 3204-2005 ซึ่งรายวิชาดังกล่าวผู้เรียนจะต้องมีพื้นฐานความรู้เกี่ยวกับ การออกแบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ และใช้สัญลักษณ์ประเภท E-R Diagram ในการแทนค่า รูปแบบของฐานข้อมูล ดังนั้นผู้เรียนจะต้องฝึกทักษะในการทาแบบฝึกหัด เพื่อสร้างความรู้ความ เข้าใจเพิ่มขึ้น และส่งงานตามเวลาที่กาหนด โดยผู้วิจัยจะตรวจแบบฝึกหัดเป็นรายบุคคล และ บันทึกการส่งงานของผู้เรียนให้เป็นปัจจุบันเสมอ จึงเป็นสาเหตุให้ผู้เรียนบางส่วนที่ขาดความรู้ ความเข้าใจ และไม่สามารถทาการออกแบบฐานข้อมูลโดยใช้ E-R Diagram ได้ ใช้วิธีแก้ปัญหา โดยการลอกงานเพื่อนมาส่ง ให้มีงานส่งครบตามที่ได้รับมอบหมาย ผู้วิจัยจึงมีแนวความคิดที่จะ หาวิธีในการแก้ปัญหาของนักเรียนที่ลอกงานเพื่อนมาส่ง ให้มีความรู้ความเข้าใจมากขึ้น และมี ความมั่นใจในการออกแบบฐานข้อมูลโดยใช้ E-R Diagram ด้วยตนเองเพิ่มมากขึ้น วัตถุประสงค์ของการศึกษาค้นคว้า 1. เพื่อแก้ปัญหาการลอกงานการออกแบบฐานข้อมูลด้วย E-R Diagram ของนักศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ปีที่ 1 ห้อง 3 สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ โรงเรียนชลบุรี บริหารธุรกิจและเทคโนโลยี 2. เพื่อให้ผู้เรียนมีความกระตือรือร้นในการทบทวนเนื้อหาที่เรียนเพื่อเตรียมตัวสอบ 3. เพื่อให้ผู้เรียนทราบความหมายของสัญลักษณ์ E-R Diagram ของแต่ละสัญลักษณ์ 4. เพื่อให้ผู้เรียนมีทักษะเพิ่มขึ้นในการออกแบบฐานข้อมูลโดยใช้ E-R Diagram ความสาคัญของการศึกษาค้นคว้า เพื่อนาผลการวิจัยที่ได้ไปใช้ในการแก้ปัญหาการลอกงานของนักศึกษา หรือใช้เป็น แนวทางในการเรียนการสอนวิชาในสาขาคอมพิวเตอร์ให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น D ocum entForC AT
  • 4. ขอบเขตของการศึกษาค้นคว้า 1. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ในการศึกษาครั้งนี้เป็นนักศึกษาชั้นปีที่ 1 ห้อง 3 สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2553 โรงเรียนชลบุรีบริหารธุรกิจและเทคโนโลยี จานวน 23 คน 2. ตัวแปรที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้า 2.1 ตัวแปรต้น ได้แก่ แก้ปัญหาการลอก E-R Diagram เพื่อใช้ออกแบบฐานข้อมูล ด้วยวิธีการสอบปากเปล่า 2.2 ตัวแปรตาม ได้แก่ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาระดับชั้น ปวส. 1/3 สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ นิยามศัพท์เฉพาะ 1. โรงเรียนชลบุรีบริหารธุรกิจและเทคโนโลยี หมายถึง โรงเรียนเอกชนที่ได้รับ อนุญาตจัดตั้งตามพระราชบัญญัติโรงเรียนเอกชนในวันที่ 2 เดือนมิถุนายน พ.ศ.2540 โดยตั้งอยู่ เลขที่ 478 ถนนราษฎร์ประสงค์ ตาบลมะขามหย่ง อาเภอเมืองชลบุรี จังหวัดชลบุรี 2. นักศึกษา หมายถึง บุคคลที่ ศึกษาในระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพสูง ชั้นปีที่ 1 ห้อง 3 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2553 สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ ในโรงเรียนชลบุรีบริหารธุรกิจและ เทคโนโลยี D ocum entForC AT
  • 5. บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ในการศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการแก้ปัญหาการลอก E-R Diagram เพื่อใช้ออกแบบฐานข้อมูลของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ชั้นปีที่ 1 ใน รายวิชาระบบฐานข้อมูล ด้วยวิธีการสอบปากเปล่า ผู้วิจัยได้จัดลาดับตามลาดับสาระดังนี้ 1. การออกแบบฐานข้อมูล 2. แนวคิดเกี่ยวกับ E-R Diagram 3. ความหมายของการสอบปากเปล่า การออกแบบฐานข้อมูล การออกแบบฐานข้อมูล (Designing Databases) มีความสาคัญต่อการจัดการระบบ ฐานข้อมูล (DBMS) ทั้งนี้เนื่องจากข้อมูลที่อยู่ภายในฐานข้อมูลจะต้องศึกษาถึงความสัมพันธ์ของ ข้อมูล โครงสร้างของข้อมูลการเข้าถึงข้อมูลและกระบวนการที่โปรแกรมประยุกต์จะเรียกใช้ ฐานข้อมูล ดังนั้น เราจึงสามารถแบ่งวิธีการสร้างฐานข้อมูลได้ 3 ประเภท 1. รูปแบบข้อมูลแบบลาดับขั้น หรือโครงสร้างแบบลาดับขั้น (Hierarchical data model) วิธีการสร้างฐาน ข้อมูลแบบลาดับขั้นถูกพัฒนาโดยบริษัท ไอบีเอ็ม จากัด ในปี 1980 ได้รับ ความนิยมมาก ในการพัฒนาฐานข้อมูลบนเครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่และขนาดกลาง โดยที่ โครงสร้างข้อมูลจะสร้างรูปแบบเหมือนต้นไม้ โดยความสัมพันธ์เป็นแบบหนึ่งต่อหลาย (One- to - Many) 2. รูปแบบข้อมูลแบบเครือข่าย (Network data Model) ฐานข้อมูลแบบเครือข่ายมี ความคล้ายคลึงกับฐาน ข้อมูลแบบลาดับชั้น ต่างกันที่โครงสร้างแบบเครือข่าย อาจจะมีการติดต่อ หลายต่อหนึ่ง (Many-to-one) หรือ หลายต่อหลาย (Many-to-many) กล่าวคือลูก (Child) อาจมี พ่อแม่ (Parent) มากกว่าหนึ่ง สาหรับตัวอย่างฐานข้อมูลแบบเครือข่ายใหลองพิจารณาการจัดการ ข้อมูลของห้องสมุด ซึ่งรายการจะประกอบด้วย ชื่อเรื่อง ผู้แต่ง สานักพิมพ์ ที่อยู่ ประเภทหนังสือ และปีที่พิมพ์ 3. รูปแบบความสัมพันธ์ข้อมูล (Relation data model) เป็นลักษณะการออกแบบ ฐานข้อมูลโดยจัดข้อมูลให้อยู่ในรูปของตารางที่มีระบบคล้ายแฟ้ม โดยที่ข้อมูลแต่ละแถว (Row) ของตารางจะแทนเรคอร์ด (Record) ส่วน ข้อมูลนแนวดิ่งจะแทนคอลัมน์ (Column) ซึ่งเป็น D ocum entForC AT
  • 6. ขอบเขตของข้อมูล (Field) โดยที่ตารางแต่ละตารางที่สร้างขึ้นจะเป็นอิสระ ดังนั้นผู้ออกแบบ ฐานข้อมูลจะต้องมีการวางแผนถึงตารางข้อมูลที่จาเป็นต้องใช้ เช่นระบบฐานข้อมูลบริษัทแห่งหนึ่ง ประกอบด้วย ตารางประวัติพนักงาน ตารางแผนกและตารางข้อมูลโครงการ แสดงประวัติพนักงาน ตารางแผนก และตารางข้อมูลโครงการ แนวคิดเกี่ยวกับ ER-DIAGRAM ER-DIAGRAM ประกอบด้วยองค์ประกอบพื้นฐานดังนี้  เอนทิตี้ (Entity) เป็นวัตถุ หรือสิ่งของที่เราสนใจในระบบงานนั้น ๆ  แอททริบิว (Attribute) เป็นคุณสมบัติของวัตถุที่เราสนใจ  ความสัมพันธ์ (Relationship) คือ ความสัมพันธ์ระหว่างเอนทิตี้ เอนทิตี้ (Entity) เอนทิตี้ หมายถึง สิ่งของหรือวัตถุที่เราสนใจ ซึ่งอาจจับต้องได้และเป็นได้ทั้ง นามธรรม โดยทั่วไป เอนทิตี้จะมีลักษณะที่แยกออกจากกันไป เช่น เอนทิตี้พนักงาน จะแยก ออกเป็นของพนักงานเลย เอนทิตี้เงินเดือนของพนักงานคนหนึ่งก็อาจเป็นเอนทิตี้หนึ่งในระบบของ โรงงาน โดยทั่วไปแล้ว เอนทิตี้จะมีกลุ่มที่บอกคุณสมบัติที่บอกลักษณะของเอนทิตี้ เช่น พนักงานมี รหัส ชื่อ นามสกุล และแผนก โดยจะมีค่าของคุณสมบัติบางกลุ่มที่ทาให้สามารถแยกเอนทิตี้ออก จากเอนทิตี้อื่นได้ เช่น รหัสพนักงานที่จะไม่มีพนักงานคนไหนใช้ซ้ากันเลย เราเรียกค่าวของ คุณสมบัติกลุ่มนี้ว่าเป็นคีย์ของเอนทิตี้ แอททริบิวท์ (Attribute) Attribute คือ คุณสมบัติของวัตถุหรือสิ่งของที่เราสนใจ โดยอธิบายรายละเอียดต่าง ๆ ที่ เกี่ยวข้องกับลักษณะของเอนทิตี้ โดยคุณสมบัตินี้มีอยู่ในทุกเอนทิตี้ เช่น ชื่อ นามสกุล ที่อยู่ แผนก เป็น Attribute ของเอนทิตี้พนักงานโดยทั่วไปแล้วโมเดลข้อมูล เรามักจะพบว่า Attribute มี ลักษณะข้อมูลพื้นฐานอยู่โดยที่ไม่ต้องมีคาอธิบายมากมาย และ Attribute ก็ไม่สามารถอยู่แบบ โดด ๆ ได้โดยที่ไม่มีเอนทิตี้หรือความสัมพันธ์ ความสัมพันธ์ (Relationship) เอนทิตี้แต่จะต้องมีความสัมพันธ์ร่วมกัน โดยจะมีชื่อแสดงความสัมพันธ์ร่วมกันซึ่งจะใช้ รูปภาพสัญลักษณ์สี่เหลี่ยมรูปว่าวแสดงความสัมพันธ์ระหว่างเอนทิตี้และระบุชื่อความสัมพันธ์ลง ในสี่เหลี่ยม ความหมายของการสอบปากเปล่า “การสอบปากเปล่า” ซึ่งหมายถึงการสอบโดยวิธีซักถามให้ตอบด้วยวาจา D ocum entForC AT
  • 7. บทที่ 3 วิธีดาเนินการศึกษาค้นคว้า การศึกษาค้นคว้าครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อแก้ปัญหาการลอก E-R Diagram เพื่อใช้ ออกแบบฐานข้อมูลของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ชั้นปีที่ 1 ใน รายวิชาระบบฐานข้อมูล ด้วยวิธีการสอบปากเปล่า ได้ดาเนินการศึกษาตามลาดับดังนี้ 1. ขั้นตอนการดาเนินการวิจัย 2. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง 3. เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย 4. การเก็บรวบรวมข้อมูล 5. การวิเคราะห์ข้อมูล 1. ขั้นตอนการดาเนินการตามวิจัย ผู้วิจัยได้กาหนด ขั้นตอนในการวิจัยไว้ดังนี้ 1. จัดทาฉลากคาถามจานวน 5 ชุด 2. แจ้งผู้เรียนเกี่ยวกับการสอบปากเปล่าเป็นรายบุคคลล่วงหน้า 1 สัปดาห์ โดยแจ้ง รายละเอียดในการสอบและหลักการเก็บคะแนนจาการสอบปากเปล่าเป็นรายบุคคล เพื่อให้ ผู้เรียนมีการเตรียมตัวล่วงหน้า 3. ดาเนินการสอบปากเปล่าในชั่วโมงเรียนจานวน 4 ชั่วโมง โดยสุ่มจากเลขประจาตัว และให้นักศึกษาสุ่มจับคาถาม 1 ชุด (10 คะแนน) 4. ให้ผู้เรียนเตรียมกระดาษเปล่า ปากกา เพื่อดาเนินการสอบปากเปล่าเป็นรายบุคคล (สามารถสอบได้ครั้งละ 2 คน โดยสุ่มจับคาถามไม่ซ้ากัน) 5. ผู้เรียนสุ่มจับคาถามแล้วเขียนคาตอบลงในกระดาษที่เตรียมมา และตอบคาถามจาก การซักถามของผู้วิจัย 6. ผู้วิจัยถามวัดเพื่อความเข้าใจ โดยสร้างบรรยากาศที่เป็นกันเองและไม่ทาให้ผู้เรียนเกิด ความเครียดจากการตอบคาถาม 7. ถ้าผู้เรียนตอบคาถามข้อใดไม่ได้ ครูแนะนาเพิ่มเติมในประเด็นที่ยังขาดความเข้าใจ และให้โอกาสผู้เรียนกลับไปทบทวบแล้วมาสอบปากเปล่าใหม่ โดยพิจารณาให้คะแนนตามความ เหมาะสม 8. ครูแนะนาผู้เรียนเพื่อดาเนินการสอบทุกข้อแล้ว D ocum entForC AT
  • 8. 9. วิเคราะห์ข้อมูลในภาพรวมโดยใช้ค่าสถิติความถี่ และร้อยละ 2. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ในการศึกษาครั้งนี้เป็นนักศึกษาชั้นปีที่ 1 ห้อง 3 สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2553 โรงเรียนชลบุรีบริหารธุรกิจและเทคโนโลยี จานวน 23 คน 3. เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ในการวิจัยครั้งนี้เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น เพื่อศึกษาการแก้ปัญหา การลอก E-R Diagram เพื่อใช้ออกแบบฐานข้อมูลของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นสูง (ปวส.) ชั้นปีที่ 1 ในรายวิชาระบบฐานข้อมูล ด้วยวิธีการสอบปากเปล่า มีดังนี้ 1. จัดทาแบบทดสอบแบบเขียน-ตอบ และอธิบายหลักการทางานของ E-R Diagram ดังกล่าวตามความเข้าใจ จานวน 5 ชุด 2. จัดทาฉลากเพื่อเลือกแบบทดสอบจานวน 5 ชุด 3. จัดทาเอกสารบันทึกผลการสอบ 4. การเก็บรวบรวมข้อมูล ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ผู้วิจัยนาเครื่องมือที่สร้างขึ้นไปใช้กับนักเรียน และเก็บข้อมูลด้วย ตนเอง โดยดาเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลระหว่างวันที่ 17 สิงหาคม 2553 ถึง 14 กันยายน 2553 5. การวิเคราะห์ข้อมูล 1. นาผลที่ได้จากเอกสารในบันทึกคะแนนมาพิจารณาว่าผ่านเกณฑ์ตามที่กาหนดหรือไม่ โดยกาหนดการผ่านเกณฑ์ตั้งแต่ 60% ขึ้นไป 2. ผู้เรียนที่มีคะแนนไม่ถึงเกณฑ์จะให้โอกาสกลับไปทบทวนเนื้อหาเพื่อสอบแก้ตัวใหม่ 3. นาผลที่ได้รับจากการสังเกตพฤติกรรมและการตอบคาถามของผู้เรียนมาใช้เป็นข้อมูล ในการแก้ไขรูปแบบการสอนในครั้งต่อไป D ocum entForC AT
  • 9. บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล เมื่อเก็บรวบรวมข้อมูลแล้ว ผู้ศึกษาได้นาข้อมูลมาวิเคราะห์ผลดังนี้ 1. จากการดาเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลในการสอบปากเปล่าเป็นรายบุคคลโดยให้ผู้เรียน สุ่มจับแบบคาถามเรื่องการออกแบบฐานข้อมูลโดยใช้ E-R Diagram ที่ผู้สอนได้จัดเตรียมไว้ จาก การสนอบปากเปล่าเป็นรายบุคคล ตารางที่ 1 แสดงจานวนและร้อยละของผู้เรียนในการสอบปากเปล่าเป็นรายบุคคล สอบครั้งที่ จานวนผู้เรียน (ร้อยละ) ผ่านเกณฑ์ 60% ไม่ผ่านเกณฑ์ รวม 1 12 (52.17%) 11 (47.82%) 23 2 8 (72.72%) 3 (27.27%) 11 3 2 (66.66%) 1 (33.33%) 3 รวม 22 (95.65%) 1 (4.34%) จากตารางที่ 1 พบว่า ผู้เรียนที่มาสอบปากเปล่าส่วนใหญ่ที่ผ่านเกณฑ์ 60% จานวน 22 คน คิดเป็นร้อยละ 95.65 และผู้เรียนที่สอบไม่ผ่านจานวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 0 D ocum entForC AT
  • 10. 2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิเคราะห์ข้อมูลโดยหาร้อยละ ตารางที่ 1 แสดงคะแนนจากการทาแบบทดสอบ คนที่ ชื่อ – สกุล คะแนน รวม ร้อยละ ครั้งที่ 1 ครั้งที่ 2 ครั้งที่ 3 1 นายณัฐพล ยั่งยืน 9 7 6 22 73.33 2 นางสาวปานประดับ ความดี 6 5 7 18 60 3 นางสาวผกามาศ ธนูการ 8 8 9 25 83.33 4 นางสาวพรธิภา บุตร์ดาวงษ์ 8 9 6 23 76.66 5 นางสาวพรพรรณ จูสวัสดิ์ 8 8 8 24 80 6 นายพิทยารักษ์ บุญกอง 7 8 8 23 76.66 7 นางสาวยุวดี ยอดทอง 8 10 9 27 90 8 นางสาววิรัญญา จันพฤกษ์ 8 10 9 27 90 9 นายศิริพัฒน์ อุปถัมภ์ 8 9 8 25 83.33 10 นางสาวสุพรรษา คาแดง 7 8 8 23 76.66 11 นางสาวสุภร แสงทอง 7 8 8 23 76.66 12 นางสาวสุภาพร แคล้วคลาด 8 7 6 21 70 13 นางสาวอรไท ไชยโชติ 8 8 9 25 83.33 14 นางสางอังคณา สกุณาเรืองศรี 8 7 9 24 80 15 นายณัฐพล คาคลี่ 7 10 6 23 76.66 16 นายศิลา สุขปิติ 0 7 7 14 46.66 17 นายเบญจรงค์ สุขเจริญ 7 8 7 22 73.33 18 นางสาวสุพัสษา นาคสมบูรณ์ 7 6 8 21 70 19 นายศุภฤกษ์ สะอาดดี 8 8 6 22 73.33 20 นางสาวแพรวธิภา เชี่ยวเวช 7 8 6 21 70 21 นางสาวชลาลัย ฤทธิโยธิน 7 8 7 22 73.33 22 นางสาวอนุสรา เบ้าสุข 8 8 5 21 70 23 นางสาวนิภาภรณ์ กันชิด 8 8 7 23 76.66 รวมคะแนนทั้งสิ้น 519 คะแนนเฉลี่ย 22.56 ร้อยละ 75.21 จากตาราง 2 พบว่า ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังจากทาแบบทดสอบ มีค่าคะแนน รวมเฉลี่ย 22.56 จากคะแนนเต็ม 30 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 75.21 ดังนั้นความสามารถในการ ออกแบบฐานข้อมูลโดยใช้ E-R Diagram ของระดับปวส.1 เท่ากับ 75.21 D ocum entForC AT
  • 11. บทที่ 5 สรุป อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ การจัดการเรียนการสอนในปัจจุบัน กาหนดให้มีการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่ยึด ผู้เรียนเป็นสาคัญ ที่ให้ผู้เรียนมีความรู้ด้านทฤษฎี มีทักษะ ในสาขาวิชาชีพ มีคุณธรรมจริยธรรม ตามความมุ่งหมายของสังคม การจัดการเรียนการสอนในรายวิชา ระบบฐานข้อมูล รหัสวิชา 3204-2005 ซึ่งเป็นวิชาชีพได้กาหนดให้นักศึกษาระดับ ปวส. 1 เรียนเป็นรายวิชาบังคับนั้น ผู้สอนพบปัญหาว่านักศึกษาที่เรียนในรายวิชาระบบฐานข้อมูลส่วนใหญ่ยังไม่เคยออกแบบ ฐานข้อมูลโดยใช้สัญลักษณ์ที่เรียกว่า E-R Diagram มาก่อน ซึ่งในการจัดการสอนในวิชานี้ มี ทั้งภาคทฤษฎี และปฏิบัติ ซึ่งในการปฏิบัติจะใช้โปรแกรม 2 โปรแกรม เพื่อประกอบการเรียน ภาคปฏิบัติคือ โปรแกรม Microsoft Access และโปรแกรม MySQL และต้องนาผลการ ออกแบบ E-R Diagram มาประยุกต์ใช้กับโปรแกรมที่เหมาะสมกับฐานข้อมูลซึ่งอาจกล่าวได้ว่า E-R Diagram เป็นพื้นฐานที่สาคัญในการออกแบบงานด้านฐานข้อมูลเป็นอย่างยิ่ง วัตถุประสงค์ของการศึกษาค้นคว้า 1. เพื่อแก้ปัญหาการลอกงานการออกแบบฐานข้อมูลด้วย E-R Diagram ของนักศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ปีที่ 1 ห้อง 3 สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ โรงเรียนชลบุรี บริหารธุรกิจและเทคโนโลยี 5. เพื่อให้ผู้เรียนมีความกระตือรือร้นในการทบทวนเนื้อหาที่เรียนเพื่อเตรียมตัวสอบ 6. เพื่อให้ผู้เรียนทราบความหมายของสัญลักษณ์ E-R Diagram ของแต่ละสัญลักษณ์ 7. เพื่อให้ผู้เรียนมีทักษะเพิ่มขึ้นในการออกแบบฐานข้อมูลโดยใช้ E-R Diagram วิธีการดาเนินการศึกษาค้นคว้า ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ในการศึกษาครั้งนี้เป็นนักศึกษาชั้นปีที่ 1 ห้อง 3 สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2553 โรงเรียนชลบุรีบริหารธุรกิจและเทคโนโลยี จานวน 23 คน ตัวแปรที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้า ตัวแปรต้น ได้แก่ แก้ปัญหาการลอก E-R Diagram เพื่อใช้ออกแบบฐานข้อมูลด้วย วิธีการสอบปากเปล่า D ocum entForC AT
  • 12. ตัวแปรตาม ได้แก่ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาระดับชั้น ปวส. 1/3 สาขาวิชา คอมพิวเตอร์ธุรกิจ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย 1. จัดทาแบบทดสอบแบบเขียน-ตอบ และอธิบายหลักการทางานของ E-R Diagram ดังกล่าวตามความเข้าใจ จานวน 5 ชุด 4. จัดทาฉลากเพื่อเลือกแบบทดสอบจานวน 5 ชุด 5. จัดทาเอกสารบันทึกผลการสอบ การเก็บรวบรวมข้อมูล 1. ดาเนินการสอบปากเปล่าในชั่วโมงเรียนจานวน 4 ชั่วโมง โดยสุ่มจากเลขประจาตัว และให้นักศึกษาสุ่มจับคาถาม 1 ชุด (10 คะแนน) 2. ผู้เรียนสุ่มจับคาถามแล้วเขียนคาตอบลงในกระดาษที่เตรียมมา และตอบคาถามจาก การซักถามของผู้วิจัย 3. วิเคราะห์ข้อมูลในภาพรวมโดยใช้ค่าสถิติความถี่ และร้อยละ การวิเคราะห์ข้อมูล 1. นาผลที่ได้จากเอกสารในบันทึกคะแนนมาพิจารณาว่าผ่านเกณฑ์ตามที่กาหนดหรือไม่ โดยกาหนดการผ่านเกณฑ์ตั้งแต่ 60% ขึ้นไป 2. ผู้เรียนที่มีคะแนนไม่ถึงเกณฑ์จะให้โอกาสกลับไปทบทวนเนื้อหาเพื่อสอบแก้ตัวใหม่ 3. นาผลที่ได้รับจากการสังเกตพฤติกรรมและการตอบคาถามของผู้เรียนมาใช้เป็นข้อมูล ในการแก้ไขรูปแบบการสอนในครั้งต่อไป การอภิปรายผล จากผลการวิเคราะห์ข้อมูล สามารถนาผลการวิจัยมาอภิปรายผล ได้ดังนี้ 1. จากการสอบปากเปล่าเป็นรายบุคคลของผู้เรียนจานวน 23 คน มีผู้เรียนสอบผ่าน เกณฑ์ 22 คน และสอบไม่ผ่านเกณฑ์ 1 คน 2. จากการสังเกตพฤติกรรมของผู้เรียนสามารถสรุปได้ดังนี้ 2.1 ผู้เรียนส่วนใหญ่มีความกระตือรือร้นในการทบทวนบทเรียนเกี่ยวกับการใช้ E-R Diagram ในการออกแบบฐานข้อมูลมากขึ้น ส่วนผู้เรียนที่เคยลอกแบบฝึกหัดหรืองานจากเพื่อน ก็เริ่มกล้าที่จะซักถามเพื่อนและครูมากขึ้นในสิ่งที่ผู้เรียนสงสัยหรือไม่เข้าใจ D ocum entForC AT
  • 13. 2.2 ผู้เรียนที่มีคะแนนไม่ดีหรือต้องการได้คะแนนเพิ่มขึ้น ก็อนุญาตให้สอบใหม่อีกครั้ง โดยให้ผู้เรียนกลับไปทบทวนเนื้อหาใหม่ ทาให้ผู้เรียนมีความกระตือรือร้นมากขึ้น 2.3 ผู้วิจัยได้ทราบว่ามีผู้เรียนบางส่วนที่ยังประยุกต์ใช้สัญลักษณ์ E-R Diagram ใน การออกแบบฐานข้อมูลเบื้องต้นไม่ได้ เนื่องจากผู้เรียนไม่เคยมีความรู้เกี่ยวกับสัญลักษณ์ E-R Diagram มาก่อน ซึ่งจากการสังเกตผู้เรียนจะพิจารณาคาตอบโดยใช้เวลาค่อนข้างมากต่อ 1 คาถาม 2.4 จากการสังเกตพบว่าผู้เรียนส่วนใหญ่มีการจับกลุ่มเพื่อทบทวนเนื้อหาให้กันมากขึ้น เป็นลักษณะเพื่อนช่วยเพื่อน ซึ่งเป็นการสร้างสัมพันธไมตรีที่ดีภายในชั้นเรียน 3. ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังจากทาแบบทดสอบ มีค่าคะแนนรวมเฉลี่ย 22.56 จากคะแนนเต็ม 30 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 75.21 ดังนั้นความสามารถในการออกแบบฐานข้อมูล โดยใช้ E-R Diagram ของระดับปวส.1 เท่ากับ 75.21 ข้อเสนอแนะ ผู้วิจัยขอเสนอแนะแนวทางเพื่อนาข้อค้นพบในการวิจัยไปใช้ในการพัฒนาการเรียนการ สอนคือ 1. ควรนัดผู้เรียนมาสอบนอกเวลาเรียน ซึ่งเป็นเวลาที่ผู้วิจัยว่างจากการสอนและผู้เรียนก็ ว่างจากการเรียนเพื่อไม่ให้เกิดผลกระทบกับผู้เรียนในวิชาอื่นๆ 2. ควรใช้ความอดทนและเสียสละเวลาให้แก่ผู้เรียนเป็นอย่างมากเพื่อให้การสอบเป็นไป ตามกาหนดเวลาที่วางไว้ 3. ควรนาข้อมูลจากการสอบปากเปล่ามาใช้ในการปรับปรุงวิธีการสอน และปรับปรุงงาน ที่มอบหมายให้ผู้เรียนปฏิบัติ ให้มีระดับความยาก-ง่าย ให้เหมาะสมกับความสามารถของผู้เรียน เพื่อให้ผู้เรียนมีความสนุกกับการเรียนไม่เบื่อหน่ายกับงานที่มอบหมาย D ocum entForC AT