SlideShare a Scribd company logo
1 of 21
ระบบฐานข ้อมูลเชิงสัมพันธ์ (Relational Database) เป็นฐานข ้อมูลที่ใช ้
โมเดลเชิงสัมพันธ์ (Relational Database Model) ซึ่งผู้คิดค ้นโมเดล
เชิงสัมพันธ์นี้คือ Dr. E.F. Codd โดยใช ้หลักพื้นฐานทางคณิตศาสตร์
เนื่องด ้วยแนวคิดของแบบจาลองแบบนี้มีลักษณะที่คนใช ้กันทั่วกล่าวคือ
มีการเก็บเป็นตาราง ทาให ้ง่ายต่อการเข ้าใจและการประยุกต์ใช ้งาน ด ้วย
เหตุนี้ ระบบฐานข ้อมูลแบบนี้จึงที่ได ้รับความนิยมมากที่สุด ในแง่ของ
entity แบบจาลองแบบนี้คือ แฟ้มข ้อมูลในรูปตาราง และ attribute ก็
เปรียบเหมือนเขตข ้อมูล ส่วนความสัมพันธ์คือความสัมพันธ์ระหว่าง
entity
ความหมายของฐานข้อมูลเชิง
สัมพันธ์
คือ การเก็บข ้อมูลในรูปของตาราง (Table) หลายๆตารางที่มีความสัมพันธ์กัน ในแต่
ละตารางแบ่งออกเป็นแถวๆ และในแต่ละแถวจะแบ่งเป็นคอลัมน์ (Column) ในทาง
ทฤษฎีจะมีคาศัพท์เฉพาะแตกต่างออกไป เนื่องจากแบบจาลองแบบนี้เกิดจากทฤษฎี
ทางคณิตศาสตร์เรื่องเซ็ท (Set) ดังนั้น เราจะมีคาศัพท์เฉพาะดังตารางที่
ฐานข ้อมูลเชิงสัมพันธ์
ศัพท์เฉพาะ ศัพท์ทั่วไป
รีเลชั่น (Relation) ตาราง (Table)
ทูเปิล (Tuple)
แถว (Row) หรือ เรคคอร์ด
(Record) หรือ ระเบียน
แอททริบิวท์ (Attribute)
คอลัมน์ (Column) หรือฟิลด์
(Field)
คาร์ดินัลลิติ้ (Cardinality) จานวนแถว (Number of rows)
จานวนแอททริบิวท์ (Number of
attribute)
คีย์หลัก (Primary key) ค่าเอกลักษณ์ (Unique identifier)
โดเมน (Domain)
ขอบข่ายของค่าของข ้อมูล (Pool of
legal values)
อาจจะเขียนในรูปสมการดังต่อไปนี้ R(รหัสประจาตัวประชาชน,ชื่อ,นามสกุล
,วันเกิด) เนื่องจากแต่ละตารางสามารถมีความสัมพันธ์กันได ้ดังที่กว่าไว ้ใน
ข ้างต ้น ทาให ้การเก็บข ้อมูลในรูปแบบนี้ มีความคล่องตัวสูงเพราะเรา
สามารถแยกเก็บข ้อมูลใน หลายตารางโดยอาศัยความสัมพันธ์ดังกล่าว และ
สามารถสืบค ้นได ้จากรหัสพิเศษที่เรียกว่า กุญแจ(key)
แสดงรายละเอียดของส่วนประกอบต่าง ๆ
ของโมเดลแบบความสัมพันธ์
Dr.E.F.Codd ได ้กาหนดส่วนประกอบของโมเดลเชิงสัมพันธ์นี้ แบ่งเป็น 3
ส่วนได ้แก่
1. ส่วนที่เกี่ยวข ้องกับโครงสร ้างของข ้อมูล
2. ส่วนที่เกี่ยวกับการควบคุมความถูกต ้องให ้กับข ้อมูล
3. ส่วนในการจัดการกับข ้อมูล
แสดงตัวอย่างการสืบค้นข้อมูลโดยอาศัย
ความสัมพันธ์
Relation
โครงสร ้างของฐานข ้อมูลเชิงสัมพันธ์ จะอยู่ในลักษณะของตาราง 2 มิติ
ประกอบด ้วยทางด ้านแถว และคอลัมน์ ซึ่งจะเรียกว่า รีเลชัน (Relation)
โดยทั่ว ๆ ไป Relation หนึ่ง ๆ จะมีคุณสมบัติต่าง ๆ ดังนี้1) ไม่มี Tuples
คู่ใด ๆ เลยที่ซ้ากัน (No duplicate tuples)
2) ลาดับที่ของ Tuples ไม่มีความสาคัญ
3) ลาดับที่ของ Attributes ไม่มีความสาคัญ
4) ค่าของ Attribute จะเป็นค่าเดี่ยว ๆ (Atomic) นั่นคือ ค่าของข ้อมูลที่
ปรากฏอยู่ในตารางจะเป็นค่า ๆ เดียว เป็นลิสต์ของค่าหลาย ๆ ค่าไม่ได ้
ซึ่ง Relation ที่มีคุณสมบัติข ้อนี้จะถูกเรียกว่าเป็น Relation ที่อยู่ใน
รูปแบบ Normal form
5) ค่าของข ้อมูลในแต่ละ Attribute จะบรรจุค่าของข ้อมูลประเภท
เดียวกัน
โครงสร้างของข้อมูล (Data Structure)
1) Relation หลัก (Base Relation)
เป็น Relation ที่ถูกกาหนดขึ้นเพื่อเก็บข ้อมูลและเพื่อนาข ้อมูลไปใช ้เมื่อ
มีการสร ้าง Relation โดยใช ้Data Definition Language เช่น ใน SQL
คาสั่ง CREATE TABLE เป็นการสร ้าง Relation หลัก หลังจากนั้นก็จะทา
การเก็บข ้อมูลเพื่อการเรียกใช ้ข ้อมูลในภายหลัง Relation หลักจะเป็น
ตารางที่จัดเก็บข ้อมูลจริงไว ้
2) วิว (View) หรืออาจเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า Relation สมมุติ
(Virtual Relation)
เป็น Relation ที่ถูกสร ้างขึ้นตามความต ้องการใช ้ข ้อมูลของผู้ใช ้แต่ละคน
เนื่องจาก ผู้ใช ้แต่ละคนอาจต ้องการใช ้ข ้อมูลในลักษณะที่แตกต่างกัน
จึงทาการกาหนดวิวของตัวเองขึ้นมาจาก Relation หลัก เพื่อความ
สะดวกในการใช ้ข ้อมูล และช่วยให ้การรักษาความปลอดภัยของ
ฐานข ้อมูลทาได ้ง่ายขึ้น Relation ที่ถูกสมมติขึ้นมานี้จะไม่มีการเก็บ
ข ้อมูลจริง ๆ ในระบบฐานข ้อมูล
ชนิดของ Relations
ตารางข ้อมูลทั้งหมด จะเรียกว่า Relation แต่โดยส่วนใหญ่นิยมเรียกว่า
Table หรือ ตาราง เนื่องจากโครงสร ้างการจัดเก็บเป็นแบบตาราง ส่วนข ้อมูล
ในแต่ละแถว จะเรียกว่า ทูเพิล (Tuple) ส่วนข ้อมูลในแต่ละคอลัมน์ จะ
เรียกว่า แอตทริบิวส์ (Attribute) ดังตัวอย่างมี 4 แอตทริบิวส์ คือ SID,
Sname, GPA, Major เขียนเป็นสมการได ้ดังนี้
Student(SID,Sname,GPA,Major)
โครงสร้างของฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
คือการกาหนดขอบเขตและชนิดของข ้อมูลเพื่อป้องกันไม่ให ้ข ้อมูลที่ผู้ใช ้จัดเก็บ
มีความผิดพลาดไปจากความเป็นจริงที่ควรจะเป็น ตัวอย่างดังรูป
โดเมน (Domain)
เป็นการกาหนดโดเมนให ้กับแอตทริบิวส์ข ้อมูล GPA ซึ่งเป็นค่าเกรด
เฉลี่ย ของนักศึกษา ซึ่งค่าเกรดเฉลี่ยจะต ้องมีค่าอยู่ระหว่าง 0 - 4 ดังนั้น
จึงต ้องกาหนดโดเมนให ้กับแอตทริบิวส์ GPA เพื่อไม่ให ้ข ้อมูลผิดพลาด
ไปจากนี้
คีย์อย่างง่าย (Simple key) หมายถึง key ที่ประกอบด ้วย attribute เดียว
คีย์ประกอบ (Combine key หรือ Composite key) หมายถึง key ที่
ประกอบด ้วย attribute มากกว่า 1 attribute
คีย์คู่แข่ง (Candidate Key) คือคีย์ที่เล็กที่สุด ที่แยกความแตกต่างของ
ข ้อมูล แต่ละทูเพิลได ้ ยกตัวอย่างเช่น ในรีเลชัน Student มีข ้อมูลที่สามารถเป็น
คีย์คู่แข่ง คือแอตทริบิวส์ รหัสนักศึกษา และการใช ้แอตทริบิวส์ ชื่อรวมกับ
นามสกุล ซึ่งทั้งสองแบบสามารถระบุความแตกต่าง ของข ้อมูล แต่ละทูเพิลได ้
คีย์หลัก (Primary Key) คือคีย์คู่แข่งซึ่งได ้เลือกมาเพื่อใช ้กาหนดให ้เป็นค่า
คีย์ หลักของ รีเลชัน ซึ่งข ้อมูลที่เป็นคีย์หลักนั้นจะต ้องมีข ้อมูลที่ไม่ซ้ากัน และ
มักจะเลือกคีย์คู่แข่ง ที่มีขนาดเล็กมาเป็นคีย์หลัก ตัวอย่างเช่น การเลือกแอตทริ
บิวส์รหัสนักศึกษา มาเป็นค่าคีย์หลัก เนื่องจาก มีขนาดเล็กกว่าแอตทริบิวส์ ชื่อ
รวมกับ นามสกุล ซึ่งจะทาให ้การทางานเร็วกว่า เนื่องจากมีขนาดเล็กกว่า
คีย์รอง (Alternate Key หรือ Secondary key) คือคีย์คู่แข่งอื่นๆ ที่ไม่ได ้
ถูกเลือกมาใช ้งาน ยกตัวอย่างเช่น แอตทริบิวส์ ชื่อรวมกับนามสกุล ซึ่งไม่ได ้ถูก
เลือกให ้เป็นคีย์หลักของรีเลชัน ก็จะกลายเป็น Alternate Key
คีย์ (Key)
รีเลชัน Student มีค่าคีย์หลักคือ SID ซึ่งเป็นรหัสนักศึกษา โดยข ้อมูลของรหัส
นักศึกษาจะต ้องมีข ้อมูลที่ไม่ซ้ากัน และมีคีย์นอกของตารางคือแอตทริบิวส์
Major ซึ่งเชื่อมโยงความสัมพันธ์ไปยังแอตทริบิวส์ Major ของรีเลชัน Major ซึ่ง
ข ้อมูลทุกตัวของแอตทริบิวส์ Major ในรีเลชัน Student จะต ้องมีอยู่ในแอตทริ
บิวส์ Major ของรีเลชัน Major ส่วนตาราง Major มีคีย์หลักคือแอตทริบิวส์
Major
ซุปเปอร์คีย์ (Super key) หมายถึง attribute หรือ เซ็ทของ attribute ที่
สามารถบ่งบอกว่าแต่ละแถว (Tuple) แตกต่างกัน ในทุก ๆ ความสัมพันธ์ จะต ้อง
มีอย่างน้อย หนึ่ง super key ในเซ็ทของ attributes
คีย์นอก (Foreign Key)
 กฎที่ใช ้สาหรับรักษาความถูกต ้องของข ้อมูล แบ่งออกเป็น 2 กฎคือ กฎที่เกี่ยวข ้อง
กับเอนทิตี้ และกฎที่เกี่ยวข ้องกับการเชื่อมโยงความสัมพันธ์ของเอนทิตี้ )3.3.1.
กฎความบูรณภาพของเอนทิตี้ (Entity Integrity Rule)
กฎความบูรณภาพของเอนทิตี้ เป็นกฎที่ใช ้กาหนดเพื่อให ้ข ้อมูลของเอนทิตี้ มี
ความถูกต ้อง ซึ่งกล่าวไว ้ว่า "แอตทริบิวส์ที่ทาหน้าที่เป็นคีย์หลักของรีเลชัน ไม่
สามารถมีค่าเป็นค่าว่างได ้(Null Value)" และจะต ้องมีคุณสมบัติที่เป็นเอกลักษณ์
(Identity) คือสามารถระบุข ้อมูลแอตทริบิวส์อื่นๆ ที่อยู่ในทูเพิลเดียวกันได ้
 3.3.2. กฎความบูรณภาพของการอ้างอิง (Referential Integrity Rule)
กฎความบูรณภาพของการอ ้างอิง คือกฎที่ใช ้รักษาความถูกต ้องของข ้อมูลที่มี
ความสัมพันธ์กันของเอนทิตี้ ซึ่งได ้กล่าวไว ้ว่า "ค่าของคีย์นอกในรีเลชัน จะต ้องมี
ข ้อมูลอยู่ในอีก รีเลชันหนึ่ง ที่คีย์นอกของรีเลชันนั้นอ ้างอิงถึง"
ในบางกรณีคีย์นอกอาจเป็นค่าว่างได ้ถ ้านโยบายขององค์กร อนุญาตให ้ค่าคีย์
นอกเป็น ค่าว่างได ้กรณีหากมีการลบ หรือแก ้ไขข ้อมูล ในรีเลชันที่ถูกอ ้างอิงถึง
ซึ่งจะทาให ้สูญเสียความบูรณภาพของข ้อมูล ดังตัวอย่างรูปที่ 3.6 หากมีการแก ้ไข
หรือลบข ้อมูลของรีเลชัน Major ในแอตทริบิวส์ Major ซึ่งมีความสัมพันธ์อยู่กับ
รีเลชัน Student จะทาให ้ความสัมพันธ์ของข ้อมูลเสียหาย ดังนั้นจึงต ้องเลือก การ
กระทาเพื่อไม่ให ้ความสัมพันธ์ของข ้อมูลสูญเสียไป
3.3. กฎที่เกี่ยวข้องกับการรักษาความถูกต้อง
 1. ห ้ามทาการแก ้ไขข ้อมูลในรีเลชันที่ถูกอ ้างถึงนั้น
เนื่องจากจะทาให ้ข ้อมูลในรีเลชันที่อ ้างอิงมา ไม่สามารถ
อ ้างอิงข ้อมูลได ้
2. อนุญาตให ้ทาการแก ้ไขข ้อมูลในรีเลชันที่ถูกอ ้างอิงถึง
ได ้แต่จะต ้องตามไปแก ้ไขข ้อมูล ในรีเลชันที่อ ้างอิงมาให ้
ตรงกับข ้อมูลที่แก ้ไขใหม่ทั้งหมด
3. อนุญาตให ้ทาการแก ้ไขข ้อมูลในรีเลชันที่ถูกอ ้างอิงถึง
ได ้โดยการแก ้ไขข ้อมูลในรีเลชัน ที่อ ้างอิงมาให ้มีค่าเป็น
ค่าว่าง
กรณีการแก้ไขข้อมูล
 1. ห ้ามทาการลบข ้อมูลในรีเลชันที่ถูกอ ้างถึงนั้น เนื่องจากจะทาให ้ข ้อมูลใน
รีเลชันที่อ ้างอิงมา ไม่สามารถอ ้างอิงข ้อมูลได ้
2. อนุญาตให ้ทาการลบข ้อมูลในรีเลชันที่ถูกอ ้างอิงถึงได ้ แต่จะต ้อง ตามไป
ลบข ้อมูลในรีเลชัน ที่อ ้างอิงมาทั้งหมด
3. อนุญาตให ้ทาการลบข ้อมูลในรีเลชันที่ถูกอ ้างอิงถึงได ้ โดยการแก ้ไข
ข ้อมูลในรีเลชัน ที่อ ้างอิงมาให ้มีค่าเป็น ค่าว่าง (Null value)
 ค่าว่าง (Null Values)
ค่าของ Attribute อาจจะเป็นค่าว่าง (Null) คือ ไม่มีค่าหรือยังไม่ทราบค่าได ้
ตัวอย่างเช่น จานวนไข่ของนกกระจอกเทศ จะสามารถบอกได ้เมื่อ
นกกระจอกเทศออกไข่แล ้ว แต่ยังไม่ทราบค่า ในขณะที่จานวนไข่ของช ้างนั้น
ไม่มีค่า เป็นต ้น
กรณีการลบข้อมูล
ชื่อรีเลชั่น WHERE <COMPARISION>
Dr. E.F. Codd ได้นำทฤษฎีของเซท ซึ่งเป็นทฤษฎีทำงคณิตศำสตร์มำใช้ในกำรจัดกำรกับ ข้อมูลของฐำนเชิงสัมพันธ์ ซึ่งมีอยู่
หลำยกำรกระทำด้วยกัน ในบทนี้จะกล่ำวโดยย่อๆ เท่ำนั้น เนื่องจำกเป็นเนื้อหำทำงทฤษฎี ซึ่งกำรนำไปใช้งำนจริงนั้น จะพูดถึงในบทที่
เกี่ยวกับคำสั่งที่ใช้ จัดกำรฐำนข้อมูล ซึ่งเนื้อหำจะมีควำมใกล้เคียงกัน กำรกระทำเหล่ำนี้ได้กก่
3.4.1. Restrict
คำว่ำ Restrict เป็นโอเปอเรเตอร์ทำงคณิตศำสตร์ที่ใช้ในกำรเลือกข้อมูลจำกรีเลชั่นหนึ่ง ๆ ที่มีเงื่อนไขตรงตำมที่ระบุไว้ กล่ำวอีกนัย
หนึ่งคือ ใช้ในกำรกสดงข้อมูลของทูเพิลที่เป็นไปตำมเงื่อนไขที่ระบุไว ้้
รูปแบบ
COMPARISION ในที่นี้ หมำยถึงเงื่อนไขของข้อมูลที่ต้องกำรเรียกดู ซึ่งจะระบุชื่อกอททริบิวต์ กละค่ำเฉพำะที่ต้องกำรดูข้อมูล
โดยมีเครื่องหมำยที่ประกอบกำรระบุเงื่อนไข เช่น = (เท่ำกับ) < (น้อยกว่ำ) > (มำกกว่ำ) <> (ไม่เท่ำกับ) เป็นต้น ในกรณีที่มี
เงื่อนไขมำกกว่ำหนึ่งเงื่อนไขอำจใช้คำว่ำ OR (หรือ) AND (กละ) ประกอบกันเป็นเงื่อนไขที่ต้องกำรได้
 Union คือ การแสดงข ้อมูลตามลักษณะทฤษฎีการ Union
ของเซต คือส่วนของข ้อมูลทูเพิลที่ต่างกัน ของรีเลชัน จะนามา
ทั้งหมด ส่วนข ้อมูลทูเพิลที่เหมือนกันของรีเลชันจะนามาจาก
รีเลชันเดียว โดยรีเลชั่นที่จะมา Union กัน ต ้องเป็นรีเลชั่นที่ไป
กันได ้(Compatible Relation) นั่นคือ จะต ้องมีจานวนและชื่อ
แอททริบิวต์ที่เหมือนกันและจัดเรียงแอททริบิวต์ในตารางที่
เหมือนกัน (จากซ ้ายไปขวา) ดังตัวอย่างรูปที่ 3.8 ข ้อมูลส่วนที่
แรเงาคือข ้อมูลผลลัพธ์ของการทา Union
Union
รหัส ชื่อ จังหวัด
B001 แดง นครราชสีมา
B002 ดา กรุงเทพฯ
B003 เขียว สระบุรี
B004 ขาว นครราชสีมา
การกระทา Union
รหัส ชื่อ จังหวัด
B001 แดง นครราชสีมา
B005 ฝน กรุงเทพฯ
รหัส ชื่อ จังหวัด<>/th>
B001 แดง นครราชสีมา
B002 ดา กรุงเทพฯ
B003 เขียว สระบุรี
B004 ขาว นครราชสีมา
B005 ฝน กรุงเทพ
A B
A UNION B
ผลที่ได ้คือ
 คือการแสดงข ้อมูลทูเพิลของรีเลชัน ซึ่งไม่มีอยู่ในอีกรี
เลชันหนึ่ง ตามทฤษฎีการ Difference ของเซต เช่นถ ้านา
ข ้อมูล รีเลชัน A - รีเลชัน B ข ้อมูลที่ได ้คือข ้อมูลของรีเล
ชัน A ที่ไม่มีในรีเลชัน B ซึ่งจะให ้ผลลัพธ์ที่แตกต่างกันกับ
รีเลชัน B - รีเลชัน A โดยที่รีเลชั่นทั้งสองเป็นรีเลชั่นที่ไป
กันได ้(Compatible Relation) ดังตัวอย่างรูปที่ 3.10 ซึ่ง
ผลลัพธ์ของการทา Difference คือส่วนที่แรเงา
Difference
 เป็นการกระทาเพื่อแสดงข ้อมูลที่เป็นไปได ้ทั้งหมดที่เกิด
จากการเชื่อมโยงข ้อมูลของ 2 รีเลชั่น ที่มีค่าของข ้อมูลใน
Attribute ที่กาหนดเหมือนกันโดย Attribute นี้อาจเป็น
เพียง Attribute เดียวหรือมากกว่าก็ได ้แต่ที่สาคัญ
Attribute นี้ จะต ้องมีชื่อที่เหมือนกัน และมี Domain ของ
ข ้อมูลเดียวกัน
 เป็นการแสดงข ้อมูลจากสองรีเลชั่น โดยที่รีเลชั่นทั้งสองมี
แอททริบิวต์อย่างน้อยหนึ่งแอททริบิวต์ที่เหมือนกัน
ผลลัพธ์ที่ได ้จะเป็นค่าของแอททริบิวต์จากรีเลชั่นที่มี
จานวนแอททริบิวต์มากกว่า ซึ่งเป็นค่าของแอททริบิวต์
หนึ่งที่มีค่าหนึ่งที่จับคู่ตรงกับทุกค่าของแอททริบิวต์ที่
เหมือนกันนี้ในอีกรีเลชั่นที่มีแอททริบิวต์น้อยกว่า รูปแบบ
Division
 http://203.172.182.81/wbidatabase/unit3/unit3.php
แหล่งอ้างอิง

More Related Content

What's hot

งานนำเสนอ การจัดการฐานข้อมุล
งานนำเสนอ การจัดการฐานข้อมุลงานนำเสนอ การจัดการฐานข้อมุล
งานนำเสนอ การจัดการฐานข้อมุลchanoot29
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3nunzaza
 
การจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลYongyut Nintakan
 
แนวคิดแผนภาพกระแสข้อมูล
แนวคิดแผนภาพกระแสข้อมูลแนวคิดแผนภาพกระแสข้อมูล
แนวคิดแผนภาพกระแสข้อมูลShengyou Lin
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6nunzaza
 
การจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลABELE Snvip
 
พจนานุกรมข้อมูล
พจนานุกรมข้อมูลพจนานุกรมข้อมูล
พจนานุกรมข้อมูลtumetr
 
หน่วยที่ 3 ระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
หน่วยที่ 3 ระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์หน่วยที่ 3 ระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
หน่วยที่ 3 ระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์Kochakorn Noiket
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล Watuka Wannarun
 
05 ภาษาที่ใช้ในระบบการจัดการฐานข้อมูล
05 ภาษาที่ใช้ในระบบการจัดการฐานข้อมูล05 ภาษาที่ใช้ในระบบการจัดการฐานข้อมูล
05 ภาษาที่ใช้ในระบบการจัดการฐานข้อมูลNattipong Siangyen
 
การใช้โปรแกรม Access เบื้องต้น
การใช้โปรแกรม Access เบื้องต้นการใช้โปรแกรม Access เบื้องต้น
การใช้โปรแกรม Access เบื้องต้นtechno UCH
 
Introduction to Database
Introduction to DatabaseIntroduction to Database
Introduction to DatabaseOpas Kaewtai
 
Introduction to Database
Introduction to DatabaseIntroduction to Database
Introduction to DatabaseOpas Kaewtai
 
แบบรูป ลักษณะคุณสมบัติและข้อดีของฐานข้อมูลเชิงวัตถุ
แบบรูป ลักษณะคุณสมบัติและข้อดีของฐานข้อมูลเชิงวัตถุแบบรูป ลักษณะคุณสมบัติและข้อดีของฐานข้อมูลเชิงวัตถุ
แบบรูป ลักษณะคุณสมบัติและข้อดีของฐานข้อมูลเชิงวัตถุAmIndy Thirawut
 

What's hot (19)

งานนำเสนอ การจัดการฐานข้อมุล
งานนำเสนอ การจัดการฐานข้อมุลงานนำเสนอ การจัดการฐานข้อมุล
งานนำเสนอ การจัดการฐานข้อมุล
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
การจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูล
 
it-06-50
it-06-50it-06-50
it-06-50
 
แนวคิดแผนภาพกระแสข้อมูล
แนวคิดแผนภาพกระแสข้อมูลแนวคิดแผนภาพกระแสข้อมูล
แนวคิดแผนภาพกระแสข้อมูล
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
 
การจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูล
 
พจนานุกรมข้อมูล
พจนานุกรมข้อมูลพจนานุกรมข้อมูล
พจนานุกรมข้อมูล
 
หน่วยที่ 3 ระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
หน่วยที่ 3 ระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์หน่วยที่ 3 ระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
หน่วยที่ 3 ระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
 
SA Chapter 6
SA Chapter 6SA Chapter 6
SA Chapter 6
 
งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
 
05 ภาษาที่ใช้ในระบบการจัดการฐานข้อมูล
05 ภาษาที่ใช้ในระบบการจัดการฐานข้อมูล05 ภาษาที่ใช้ในระบบการจัดการฐานข้อมูล
05 ภาษาที่ใช้ในระบบการจัดการฐานข้อมูล
 
การใช้โปรแกรม Access เบื้องต้น
การใช้โปรแกรม Access เบื้องต้นการใช้โปรแกรม Access เบื้องต้น
การใช้โปรแกรม Access เบื้องต้น
 
Introduction to Database
Introduction to DatabaseIntroduction to Database
Introduction to Database
 
Introduction to Database
Introduction to DatabaseIntroduction to Database
Introduction to Database
 
งานคอม#2
งานคอม#2งานคอม#2
งานคอม#2
 
บทที่ 3 ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
บทที่ 3 ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์บทที่ 3 ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
บทที่ 3 ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
 
แบบรูป ลักษณะคุณสมบัติและข้อดีของฐานข้อมูลเชิงวัตถุ
แบบรูป ลักษณะคุณสมบัติและข้อดีของฐานข้อมูลเชิงวัตถุแบบรูป ลักษณะคุณสมบัติและข้อดีของฐานข้อมูลเชิงวัตถุ
แบบรูป ลักษณะคุณสมบัติและข้อดีของฐานข้อมูลเชิงวัตถุ
 

Viewers also liked

Logistics Retail Chains Industrial engineering management e-book
Logistics Retail Chains Industrial engineering management e-bookLogistics Retail Chains Industrial engineering management e-book
Logistics Retail Chains Industrial engineering management e-bookLuis Cabrera
 
Webinar: dotEU - How to Market to Europe better with the European Identity
Webinar: dotEU - How to Market to Europe better with the European IdentityWebinar: dotEU - How to Market to Europe better with the European Identity
Webinar: dotEU - How to Market to Europe better with the European IdentityResellerClub
 
HOJITA EVANGELIO DOMINGO II CUARESMA B SERIE
HOJITA EVANGELIO DOMINGO II CUARESMA B SERIEHOJITA EVANGELIO DOMINGO II CUARESMA B SERIE
HOJITA EVANGELIO DOMINGO II CUARESMA B SERIENelson Gómez
 
Java企业级开发项目实践
Java企业级开发项目实践Java企业级开发项目实践
Java企业级开发项目实践yiditushe
 
A ghost in the mirror russian soft power in ukraine
A ghost in the mirror  russian soft power in ukraineA ghost in the mirror  russian soft power in ukraine
A ghost in the mirror russian soft power in ukrainePim Piepers
 
WHEN A PSYCHOSIS IS FUNNY ...and when mental illness is stigmatized
WHEN A PSYCHOSIS IS FUNNY  ...and when mental illness is stigmatizedWHEN A PSYCHOSIS IS FUNNY  ...and when mental illness is stigmatized
WHEN A PSYCHOSIS IS FUNNY ...and when mental illness is stigmatizedRon Price
 
Pendidikan nasional yang bermoral
Pendidikan nasional yang bermoralPendidikan nasional yang bermoral
Pendidikan nasional yang bermoralahargun
 
Форми здійснення народовладдя в Україні
Форми здійснення народовладдя в УкраїніФорми здійснення народовладдя в Україні
Форми здійснення народовладдя в УкраїніKyiv National Economic University
 
Sydney heli tours aerial filming sydney
Sydney heli tours aerial filming sydneySydney heli tours aerial filming sydney
Sydney heli tours aerial filming sydneyJordon Verosiki
 
5 Trends in Economic Development You Can't Ignore
5 Trends in Economic Development You Can't Ignore5 Trends in Economic Development You Can't Ignore
5 Trends in Economic Development You Can't IgnoreGIS Planning
 
Membuat kolase album foto
Membuat kolase album fotoMembuat kolase album foto
Membuat kolase album fotoAgung Yuwono
 

Viewers also liked (13)

Logistics Retail Chains Industrial engineering management e-book
Logistics Retail Chains Industrial engineering management e-bookLogistics Retail Chains Industrial engineering management e-book
Logistics Retail Chains Industrial engineering management e-book
 
Webinar: dotEU - How to Market to Europe better with the European Identity
Webinar: dotEU - How to Market to Europe better with the European IdentityWebinar: dotEU - How to Market to Europe better with the European Identity
Webinar: dotEU - How to Market to Europe better with the European Identity
 
HOJITA EVANGELIO DOMINGO II CUARESMA B SERIE
HOJITA EVANGELIO DOMINGO II CUARESMA B SERIEHOJITA EVANGELIO DOMINGO II CUARESMA B SERIE
HOJITA EVANGELIO DOMINGO II CUARESMA B SERIE
 
Java企业级开发项目实践
Java企业级开发项目实践Java企业级开发项目实践
Java企业级开发项目实践
 
CV Κ. Βασιλειάδου
CV Κ. ΒασιλειάδουCV Κ. Βασιλειάδου
CV Κ. Βασιλειάδου
 
A ghost in the mirror russian soft power in ukraine
A ghost in the mirror  russian soft power in ukraineA ghost in the mirror  russian soft power in ukraine
A ghost in the mirror russian soft power in ukraine
 
WHEN A PSYCHOSIS IS FUNNY ...and when mental illness is stigmatized
WHEN A PSYCHOSIS IS FUNNY  ...and when mental illness is stigmatizedWHEN A PSYCHOSIS IS FUNNY  ...and when mental illness is stigmatized
WHEN A PSYCHOSIS IS FUNNY ...and when mental illness is stigmatized
 
Pendidikan nasional yang bermoral
Pendidikan nasional yang bermoralPendidikan nasional yang bermoral
Pendidikan nasional yang bermoral
 
Parte ii
Parte iiParte ii
Parte ii
 
Форми здійснення народовладдя в Україні
Форми здійснення народовладдя в УкраїніФорми здійснення народовладдя в Україні
Форми здійснення народовладдя в Україні
 
Sydney heli tours aerial filming sydney
Sydney heli tours aerial filming sydneySydney heli tours aerial filming sydney
Sydney heli tours aerial filming sydney
 
5 Trends in Economic Development You Can't Ignore
5 Trends in Economic Development You Can't Ignore5 Trends in Economic Development You Can't Ignore
5 Trends in Economic Development You Can't Ignore
 
Membuat kolase album foto
Membuat kolase album fotoMembuat kolase album foto
Membuat kolase album foto
 

Similar to งานกลุ่ม ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ ม.2/4 เลขที่ 1-18-26-29-31-34-40

การจัดเก็บข้อมูล
การจัดเก็บข้อมูลการจัดเก็บข้อมูล
การจัดเก็บข้อมูลsa
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูลความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูลkruthanyaporn
 
การจัดการฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์2
การจัดการฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์2การจัดการฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์2
การจัดการฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์2sunisa3112
 
การจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลYongyut Nintakan
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลIsareeya Keatwuttikan
 
บทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูล
บทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูลบทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูล
บทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูลniwat50
 
ระบบฐานข้อมูล
ระบบฐานข้อมูลระบบฐานข้อมูล
ระบบฐานข้อมูลchanoot29
 
รูปแบบของระบบฐานข้อมูล
รูปแบบของระบบฐานข้อมูลรูปแบบของระบบฐานข้อมูล
รูปแบบของระบบฐานข้อมูลMareeyalosocity
 
ฐานข้อมูลนะสอน
ฐานข้อมูลนะสอนฐานข้อมูลนะสอน
ฐานข้อมูลนะสอนsariya25
 
Bacic MySql & script Sql for jhcis
Bacic MySql & script Sql for jhcisBacic MySql & script Sql for jhcis
Bacic MySql & script Sql for jhcisSakarin Habusaya
 
การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูลการจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูลchanoot29
 
หน่วยที่ 1เรื่อง การจัดการข้อมูล ธนพงษ์ น่านกร ม.5
หน่วยที่ 1เรื่อง การจัดการข้อมูล ธนพงษ์  น่านกร ม.5หน่วยที่ 1เรื่อง การจัดการข้อมูล ธนพงษ์  น่านกร ม.5
หน่วยที่ 1เรื่อง การจัดการข้อมูล ธนพงษ์ น่านกร ม.5palmyZommanow
 

Similar to งานกลุ่ม ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ ม.2/4 เลขที่ 1-18-26-29-31-34-40 (20)

Db1
Db1Db1
Db1
 
Lesson 1
Lesson 1Lesson 1
Lesson 1
 
การจัดเก็บข้อมูล
การจัดเก็บข้อมูลการจัดเก็บข้อมูล
การจัดเก็บข้อมูล
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูลความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
 
การจัดการฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์2
การจัดการฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์2การจัดการฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์2
การจัดการฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์2
 
การจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูล
 
บท1
บท1บท1
บท1
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
 
บท1
บท1บท1
บท1
 
บทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูล
บทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูลบทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูล
บทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูล
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1
 
การจัดเก็บข้อมูล
การจัดเก็บข้อมูลการจัดเก็บข้อมูล
การจัดเก็บข้อมูล
 
Ch5 database system
Ch5 database systemCh5 database system
Ch5 database system
 
ระบบฐานข้อมูล
ระบบฐานข้อมูลระบบฐานข้อมูล
ระบบฐานข้อมูล
 
รูปแบบของระบบฐานข้อมูล
รูปแบบของระบบฐานข้อมูลรูปแบบของระบบฐานข้อมูล
รูปแบบของระบบฐานข้อมูล
 
ฐานข้อมูลนะสอน
ฐานข้อมูลนะสอนฐานข้อมูลนะสอน
ฐานข้อมูลนะสอน
 
Bacic MySql & script Sql for jhcis
Bacic MySql & script Sql for jhcisBacic MySql & script Sql for jhcis
Bacic MySql & script Sql for jhcis
 
แนวการสอบ ม.4
แนวการสอบ ม.4แนวการสอบ ม.4
แนวการสอบ ม.4
 
การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูลการจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูล
 
หน่วยที่ 1เรื่อง การจัดการข้อมูล ธนพงษ์ น่านกร ม.5
หน่วยที่ 1เรื่อง การจัดการข้อมูล ธนพงษ์  น่านกร ม.5หน่วยที่ 1เรื่อง การจัดการข้อมูล ธนพงษ์  น่านกร ม.5
หน่วยที่ 1เรื่อง การจัดการข้อมูล ธนพงษ์ น่านกร ม.5
 

งานกลุ่ม ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ ม.2/4 เลขที่ 1-18-26-29-31-34-40

  • 1.
  • 2. ระบบฐานข ้อมูลเชิงสัมพันธ์ (Relational Database) เป็นฐานข ้อมูลที่ใช ้ โมเดลเชิงสัมพันธ์ (Relational Database Model) ซึ่งผู้คิดค ้นโมเดล เชิงสัมพันธ์นี้คือ Dr. E.F. Codd โดยใช ้หลักพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ เนื่องด ้วยแนวคิดของแบบจาลองแบบนี้มีลักษณะที่คนใช ้กันทั่วกล่าวคือ มีการเก็บเป็นตาราง ทาให ้ง่ายต่อการเข ้าใจและการประยุกต์ใช ้งาน ด ้วย เหตุนี้ ระบบฐานข ้อมูลแบบนี้จึงที่ได ้รับความนิยมมากที่สุด ในแง่ของ entity แบบจาลองแบบนี้คือ แฟ้มข ้อมูลในรูปตาราง และ attribute ก็ เปรียบเหมือนเขตข ้อมูล ส่วนความสัมพันธ์คือความสัมพันธ์ระหว่าง entity ความหมายของฐานข้อมูลเชิง สัมพันธ์
  • 3. คือ การเก็บข ้อมูลในรูปของตาราง (Table) หลายๆตารางที่มีความสัมพันธ์กัน ในแต่ ละตารางแบ่งออกเป็นแถวๆ และในแต่ละแถวจะแบ่งเป็นคอลัมน์ (Column) ในทาง ทฤษฎีจะมีคาศัพท์เฉพาะแตกต่างออกไป เนื่องจากแบบจาลองแบบนี้เกิดจากทฤษฎี ทางคณิตศาสตร์เรื่องเซ็ท (Set) ดังนั้น เราจะมีคาศัพท์เฉพาะดังตารางที่ ฐานข ้อมูลเชิงสัมพันธ์ ศัพท์เฉพาะ ศัพท์ทั่วไป รีเลชั่น (Relation) ตาราง (Table) ทูเปิล (Tuple) แถว (Row) หรือ เรคคอร์ด (Record) หรือ ระเบียน แอททริบิวท์ (Attribute) คอลัมน์ (Column) หรือฟิลด์ (Field) คาร์ดินัลลิติ้ (Cardinality) จานวนแถว (Number of rows) จานวนแอททริบิวท์ (Number of attribute) คีย์หลัก (Primary key) ค่าเอกลักษณ์ (Unique identifier) โดเมน (Domain) ขอบข่ายของค่าของข ้อมูล (Pool of legal values)
  • 4. อาจจะเขียนในรูปสมการดังต่อไปนี้ R(รหัสประจาตัวประชาชน,ชื่อ,นามสกุล ,วันเกิด) เนื่องจากแต่ละตารางสามารถมีความสัมพันธ์กันได ้ดังที่กว่าไว ้ใน ข ้างต ้น ทาให ้การเก็บข ้อมูลในรูปแบบนี้ มีความคล่องตัวสูงเพราะเรา สามารถแยกเก็บข ้อมูลใน หลายตารางโดยอาศัยความสัมพันธ์ดังกล่าว และ สามารถสืบค ้นได ้จากรหัสพิเศษที่เรียกว่า กุญแจ(key) แสดงรายละเอียดของส่วนประกอบต่าง ๆ ของโมเดลแบบความสัมพันธ์
  • 5. Dr.E.F.Codd ได ้กาหนดส่วนประกอบของโมเดลเชิงสัมพันธ์นี้ แบ่งเป็น 3 ส่วนได ้แก่ 1. ส่วนที่เกี่ยวข ้องกับโครงสร ้างของข ้อมูล 2. ส่วนที่เกี่ยวกับการควบคุมความถูกต ้องให ้กับข ้อมูล 3. ส่วนในการจัดการกับข ้อมูล แสดงตัวอย่างการสืบค้นข้อมูลโดยอาศัย ความสัมพันธ์
  • 6. Relation โครงสร ้างของฐานข ้อมูลเชิงสัมพันธ์ จะอยู่ในลักษณะของตาราง 2 มิติ ประกอบด ้วยทางด ้านแถว และคอลัมน์ ซึ่งจะเรียกว่า รีเลชัน (Relation) โดยทั่ว ๆ ไป Relation หนึ่ง ๆ จะมีคุณสมบัติต่าง ๆ ดังนี้1) ไม่มี Tuples คู่ใด ๆ เลยที่ซ้ากัน (No duplicate tuples) 2) ลาดับที่ของ Tuples ไม่มีความสาคัญ 3) ลาดับที่ของ Attributes ไม่มีความสาคัญ 4) ค่าของ Attribute จะเป็นค่าเดี่ยว ๆ (Atomic) นั่นคือ ค่าของข ้อมูลที่ ปรากฏอยู่ในตารางจะเป็นค่า ๆ เดียว เป็นลิสต์ของค่าหลาย ๆ ค่าไม่ได ้ ซึ่ง Relation ที่มีคุณสมบัติข ้อนี้จะถูกเรียกว่าเป็น Relation ที่อยู่ใน รูปแบบ Normal form 5) ค่าของข ้อมูลในแต่ละ Attribute จะบรรจุค่าของข ้อมูลประเภท เดียวกัน โครงสร้างของข้อมูล (Data Structure)
  • 7. 1) Relation หลัก (Base Relation) เป็น Relation ที่ถูกกาหนดขึ้นเพื่อเก็บข ้อมูลและเพื่อนาข ้อมูลไปใช ้เมื่อ มีการสร ้าง Relation โดยใช ้Data Definition Language เช่น ใน SQL คาสั่ง CREATE TABLE เป็นการสร ้าง Relation หลัก หลังจากนั้นก็จะทา การเก็บข ้อมูลเพื่อการเรียกใช ้ข ้อมูลในภายหลัง Relation หลักจะเป็น ตารางที่จัดเก็บข ้อมูลจริงไว ้ 2) วิว (View) หรืออาจเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า Relation สมมุติ (Virtual Relation) เป็น Relation ที่ถูกสร ้างขึ้นตามความต ้องการใช ้ข ้อมูลของผู้ใช ้แต่ละคน เนื่องจาก ผู้ใช ้แต่ละคนอาจต ้องการใช ้ข ้อมูลในลักษณะที่แตกต่างกัน จึงทาการกาหนดวิวของตัวเองขึ้นมาจาก Relation หลัก เพื่อความ สะดวกในการใช ้ข ้อมูล และช่วยให ้การรักษาความปลอดภัยของ ฐานข ้อมูลทาได ้ง่ายขึ้น Relation ที่ถูกสมมติขึ้นมานี้จะไม่มีการเก็บ ข ้อมูลจริง ๆ ในระบบฐานข ้อมูล ชนิดของ Relations
  • 8. ตารางข ้อมูลทั้งหมด จะเรียกว่า Relation แต่โดยส่วนใหญ่นิยมเรียกว่า Table หรือ ตาราง เนื่องจากโครงสร ้างการจัดเก็บเป็นแบบตาราง ส่วนข ้อมูล ในแต่ละแถว จะเรียกว่า ทูเพิล (Tuple) ส่วนข ้อมูลในแต่ละคอลัมน์ จะ เรียกว่า แอตทริบิวส์ (Attribute) ดังตัวอย่างมี 4 แอตทริบิวส์ คือ SID, Sname, GPA, Major เขียนเป็นสมการได ้ดังนี้ Student(SID,Sname,GPA,Major) โครงสร้างของฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
  • 9. คือการกาหนดขอบเขตและชนิดของข ้อมูลเพื่อป้องกันไม่ให ้ข ้อมูลที่ผู้ใช ้จัดเก็บ มีความผิดพลาดไปจากความเป็นจริงที่ควรจะเป็น ตัวอย่างดังรูป โดเมน (Domain) เป็นการกาหนดโดเมนให ้กับแอตทริบิวส์ข ้อมูล GPA ซึ่งเป็นค่าเกรด เฉลี่ย ของนักศึกษา ซึ่งค่าเกรดเฉลี่ยจะต ้องมีค่าอยู่ระหว่าง 0 - 4 ดังนั้น จึงต ้องกาหนดโดเมนให ้กับแอตทริบิวส์ GPA เพื่อไม่ให ้ข ้อมูลผิดพลาด ไปจากนี้
  • 10. คีย์อย่างง่าย (Simple key) หมายถึง key ที่ประกอบด ้วย attribute เดียว คีย์ประกอบ (Combine key หรือ Composite key) หมายถึง key ที่ ประกอบด ้วย attribute มากกว่า 1 attribute คีย์คู่แข่ง (Candidate Key) คือคีย์ที่เล็กที่สุด ที่แยกความแตกต่างของ ข ้อมูล แต่ละทูเพิลได ้ ยกตัวอย่างเช่น ในรีเลชัน Student มีข ้อมูลที่สามารถเป็น คีย์คู่แข่ง คือแอตทริบิวส์ รหัสนักศึกษา และการใช ้แอตทริบิวส์ ชื่อรวมกับ นามสกุล ซึ่งทั้งสองแบบสามารถระบุความแตกต่าง ของข ้อมูล แต่ละทูเพิลได ้ คีย์หลัก (Primary Key) คือคีย์คู่แข่งซึ่งได ้เลือกมาเพื่อใช ้กาหนดให ้เป็นค่า คีย์ หลักของ รีเลชัน ซึ่งข ้อมูลที่เป็นคีย์หลักนั้นจะต ้องมีข ้อมูลที่ไม่ซ้ากัน และ มักจะเลือกคีย์คู่แข่ง ที่มีขนาดเล็กมาเป็นคีย์หลัก ตัวอย่างเช่น การเลือกแอตทริ บิวส์รหัสนักศึกษา มาเป็นค่าคีย์หลัก เนื่องจาก มีขนาดเล็กกว่าแอตทริบิวส์ ชื่อ รวมกับ นามสกุล ซึ่งจะทาให ้การทางานเร็วกว่า เนื่องจากมีขนาดเล็กกว่า คีย์รอง (Alternate Key หรือ Secondary key) คือคีย์คู่แข่งอื่นๆ ที่ไม่ได ้ ถูกเลือกมาใช ้งาน ยกตัวอย่างเช่น แอตทริบิวส์ ชื่อรวมกับนามสกุล ซึ่งไม่ได ้ถูก เลือกให ้เป็นคีย์หลักของรีเลชัน ก็จะกลายเป็น Alternate Key คีย์ (Key)
  • 11. รีเลชัน Student มีค่าคีย์หลักคือ SID ซึ่งเป็นรหัสนักศึกษา โดยข ้อมูลของรหัส นักศึกษาจะต ้องมีข ้อมูลที่ไม่ซ้ากัน และมีคีย์นอกของตารางคือแอตทริบิวส์ Major ซึ่งเชื่อมโยงความสัมพันธ์ไปยังแอตทริบิวส์ Major ของรีเลชัน Major ซึ่ง ข ้อมูลทุกตัวของแอตทริบิวส์ Major ในรีเลชัน Student จะต ้องมีอยู่ในแอตทริ บิวส์ Major ของรีเลชัน Major ส่วนตาราง Major มีคีย์หลักคือแอตทริบิวส์ Major ซุปเปอร์คีย์ (Super key) หมายถึง attribute หรือ เซ็ทของ attribute ที่ สามารถบ่งบอกว่าแต่ละแถว (Tuple) แตกต่างกัน ในทุก ๆ ความสัมพันธ์ จะต ้อง มีอย่างน้อย หนึ่ง super key ในเซ็ทของ attributes คีย์นอก (Foreign Key)
  • 12.  กฎที่ใช ้สาหรับรักษาความถูกต ้องของข ้อมูล แบ่งออกเป็น 2 กฎคือ กฎที่เกี่ยวข ้อง กับเอนทิตี้ และกฎที่เกี่ยวข ้องกับการเชื่อมโยงความสัมพันธ์ของเอนทิตี้ )3.3.1. กฎความบูรณภาพของเอนทิตี้ (Entity Integrity Rule) กฎความบูรณภาพของเอนทิตี้ เป็นกฎที่ใช ้กาหนดเพื่อให ้ข ้อมูลของเอนทิตี้ มี ความถูกต ้อง ซึ่งกล่าวไว ้ว่า "แอตทริบิวส์ที่ทาหน้าที่เป็นคีย์หลักของรีเลชัน ไม่ สามารถมีค่าเป็นค่าว่างได ้(Null Value)" และจะต ้องมีคุณสมบัติที่เป็นเอกลักษณ์ (Identity) คือสามารถระบุข ้อมูลแอตทริบิวส์อื่นๆ ที่อยู่ในทูเพิลเดียวกันได ้  3.3.2. กฎความบูรณภาพของการอ้างอิง (Referential Integrity Rule) กฎความบูรณภาพของการอ ้างอิง คือกฎที่ใช ้รักษาความถูกต ้องของข ้อมูลที่มี ความสัมพันธ์กันของเอนทิตี้ ซึ่งได ้กล่าวไว ้ว่า "ค่าของคีย์นอกในรีเลชัน จะต ้องมี ข ้อมูลอยู่ในอีก รีเลชันหนึ่ง ที่คีย์นอกของรีเลชันนั้นอ ้างอิงถึง" ในบางกรณีคีย์นอกอาจเป็นค่าว่างได ้ถ ้านโยบายขององค์กร อนุญาตให ้ค่าคีย์ นอกเป็น ค่าว่างได ้กรณีหากมีการลบ หรือแก ้ไขข ้อมูล ในรีเลชันที่ถูกอ ้างอิงถึง ซึ่งจะทาให ้สูญเสียความบูรณภาพของข ้อมูล ดังตัวอย่างรูปที่ 3.6 หากมีการแก ้ไข หรือลบข ้อมูลของรีเลชัน Major ในแอตทริบิวส์ Major ซึ่งมีความสัมพันธ์อยู่กับ รีเลชัน Student จะทาให ้ความสัมพันธ์ของข ้อมูลเสียหาย ดังนั้นจึงต ้องเลือก การ กระทาเพื่อไม่ให ้ความสัมพันธ์ของข ้อมูลสูญเสียไป 3.3. กฎที่เกี่ยวข้องกับการรักษาความถูกต้อง
  • 13.  1. ห ้ามทาการแก ้ไขข ้อมูลในรีเลชันที่ถูกอ ้างถึงนั้น เนื่องจากจะทาให ้ข ้อมูลในรีเลชันที่อ ้างอิงมา ไม่สามารถ อ ้างอิงข ้อมูลได ้ 2. อนุญาตให ้ทาการแก ้ไขข ้อมูลในรีเลชันที่ถูกอ ้างอิงถึง ได ้แต่จะต ้องตามไปแก ้ไขข ้อมูล ในรีเลชันที่อ ้างอิงมาให ้ ตรงกับข ้อมูลที่แก ้ไขใหม่ทั้งหมด 3. อนุญาตให ้ทาการแก ้ไขข ้อมูลในรีเลชันที่ถูกอ ้างอิงถึง ได ้โดยการแก ้ไขข ้อมูลในรีเลชัน ที่อ ้างอิงมาให ้มีค่าเป็น ค่าว่าง กรณีการแก้ไขข้อมูล
  • 14.  1. ห ้ามทาการลบข ้อมูลในรีเลชันที่ถูกอ ้างถึงนั้น เนื่องจากจะทาให ้ข ้อมูลใน รีเลชันที่อ ้างอิงมา ไม่สามารถอ ้างอิงข ้อมูลได ้ 2. อนุญาตให ้ทาการลบข ้อมูลในรีเลชันที่ถูกอ ้างอิงถึงได ้ แต่จะต ้อง ตามไป ลบข ้อมูลในรีเลชัน ที่อ ้างอิงมาทั้งหมด 3. อนุญาตให ้ทาการลบข ้อมูลในรีเลชันที่ถูกอ ้างอิงถึงได ้ โดยการแก ้ไข ข ้อมูลในรีเลชัน ที่อ ้างอิงมาให ้มีค่าเป็น ค่าว่าง (Null value)  ค่าว่าง (Null Values) ค่าของ Attribute อาจจะเป็นค่าว่าง (Null) คือ ไม่มีค่าหรือยังไม่ทราบค่าได ้ ตัวอย่างเช่น จานวนไข่ของนกกระจอกเทศ จะสามารถบอกได ้เมื่อ นกกระจอกเทศออกไข่แล ้ว แต่ยังไม่ทราบค่า ในขณะที่จานวนไข่ของช ้างนั้น ไม่มีค่า เป็นต ้น กรณีการลบข้อมูล
  • 15. ชื่อรีเลชั่น WHERE <COMPARISION> Dr. E.F. Codd ได้นำทฤษฎีของเซท ซึ่งเป็นทฤษฎีทำงคณิตศำสตร์มำใช้ในกำรจัดกำรกับ ข้อมูลของฐำนเชิงสัมพันธ์ ซึ่งมีอยู่ หลำยกำรกระทำด้วยกัน ในบทนี้จะกล่ำวโดยย่อๆ เท่ำนั้น เนื่องจำกเป็นเนื้อหำทำงทฤษฎี ซึ่งกำรนำไปใช้งำนจริงนั้น จะพูดถึงในบทที่ เกี่ยวกับคำสั่งที่ใช้ จัดกำรฐำนข้อมูล ซึ่งเนื้อหำจะมีควำมใกล้เคียงกัน กำรกระทำเหล่ำนี้ได้กก่ 3.4.1. Restrict คำว่ำ Restrict เป็นโอเปอเรเตอร์ทำงคณิตศำสตร์ที่ใช้ในกำรเลือกข้อมูลจำกรีเลชั่นหนึ่ง ๆ ที่มีเงื่อนไขตรงตำมที่ระบุไว้ กล่ำวอีกนัย หนึ่งคือ ใช้ในกำรกสดงข้อมูลของทูเพิลที่เป็นไปตำมเงื่อนไขที่ระบุไว ้้ รูปแบบ COMPARISION ในที่นี้ หมำยถึงเงื่อนไขของข้อมูลที่ต้องกำรเรียกดู ซึ่งจะระบุชื่อกอททริบิวต์ กละค่ำเฉพำะที่ต้องกำรดูข้อมูล โดยมีเครื่องหมำยที่ประกอบกำรระบุเงื่อนไข เช่น = (เท่ำกับ) < (น้อยกว่ำ) > (มำกกว่ำ) <> (ไม่เท่ำกับ) เป็นต้น ในกรณีที่มี เงื่อนไขมำกกว่ำหนึ่งเงื่อนไขอำจใช้คำว่ำ OR (หรือ) AND (กละ) ประกอบกันเป็นเงื่อนไขที่ต้องกำรได้
  • 16.  Union คือ การแสดงข ้อมูลตามลักษณะทฤษฎีการ Union ของเซต คือส่วนของข ้อมูลทูเพิลที่ต่างกัน ของรีเลชัน จะนามา ทั้งหมด ส่วนข ้อมูลทูเพิลที่เหมือนกันของรีเลชันจะนามาจาก รีเลชันเดียว โดยรีเลชั่นที่จะมา Union กัน ต ้องเป็นรีเลชั่นที่ไป กันได ้(Compatible Relation) นั่นคือ จะต ้องมีจานวนและชื่อ แอททริบิวต์ที่เหมือนกันและจัดเรียงแอททริบิวต์ในตารางที่ เหมือนกัน (จากซ ้ายไปขวา) ดังตัวอย่างรูปที่ 3.8 ข ้อมูลส่วนที่ แรเงาคือข ้อมูลผลลัพธ์ของการทา Union Union
  • 17. รหัส ชื่อ จังหวัด B001 แดง นครราชสีมา B002 ดา กรุงเทพฯ B003 เขียว สระบุรี B004 ขาว นครราชสีมา การกระทา Union รหัส ชื่อ จังหวัด B001 แดง นครราชสีมา B005 ฝน กรุงเทพฯ รหัส ชื่อ จังหวัด<>/th> B001 แดง นครราชสีมา B002 ดา กรุงเทพฯ B003 เขียว สระบุรี B004 ขาว นครราชสีมา B005 ฝน กรุงเทพ A B A UNION B ผลที่ได ้คือ
  • 18.  คือการแสดงข ้อมูลทูเพิลของรีเลชัน ซึ่งไม่มีอยู่ในอีกรี เลชันหนึ่ง ตามทฤษฎีการ Difference ของเซต เช่นถ ้านา ข ้อมูล รีเลชัน A - รีเลชัน B ข ้อมูลที่ได ้คือข ้อมูลของรีเล ชัน A ที่ไม่มีในรีเลชัน B ซึ่งจะให ้ผลลัพธ์ที่แตกต่างกันกับ รีเลชัน B - รีเลชัน A โดยที่รีเลชั่นทั้งสองเป็นรีเลชั่นที่ไป กันได ้(Compatible Relation) ดังตัวอย่างรูปที่ 3.10 ซึ่ง ผลลัพธ์ของการทา Difference คือส่วนที่แรเงา Difference
  • 19.  เป็นการกระทาเพื่อแสดงข ้อมูลที่เป็นไปได ้ทั้งหมดที่เกิด จากการเชื่อมโยงข ้อมูลของ 2 รีเลชั่น ที่มีค่าของข ้อมูลใน Attribute ที่กาหนดเหมือนกันโดย Attribute นี้อาจเป็น เพียง Attribute เดียวหรือมากกว่าก็ได ้แต่ที่สาคัญ Attribute นี้ จะต ้องมีชื่อที่เหมือนกัน และมี Domain ของ ข ้อมูลเดียวกัน
  • 20.  เป็นการแสดงข ้อมูลจากสองรีเลชั่น โดยที่รีเลชั่นทั้งสองมี แอททริบิวต์อย่างน้อยหนึ่งแอททริบิวต์ที่เหมือนกัน ผลลัพธ์ที่ได ้จะเป็นค่าของแอททริบิวต์จากรีเลชั่นที่มี จานวนแอททริบิวต์มากกว่า ซึ่งเป็นค่าของแอททริบิวต์ หนึ่งที่มีค่าหนึ่งที่จับคู่ตรงกับทุกค่าของแอททริบิวต์ที่ เหมือนกันนี้ในอีกรีเลชั่นที่มีแอททริบิวต์น้อยกว่า รูปแบบ Division