SlideShare a Scribd company logo
1 of 5
Download to read offline
ใบความรู้ที่ 1
รหัสวิชา ง32202 ชื่อวิชา การสร้างฐานข้อมูลเบื้องต้น
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับฐานข้อมูล
จานวน 4 คาบเรียน
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

1. ความหมายของข้อมูลและฐานข้อมูล
ข้อมูล (Data) หมายถึง ข้อเท็จจริงที่เกี่ยวข้องกั บสิ่งต่างๆ ทั่วไป เช่น ราคาสินค้า คะแนนของ
นักเรียนแต่ละคน ซึ่งปกติถือว่าเป็น ข้อมูลดิบ (Raw Data) ที่ยังไม่ได้ผ่านการประมวลผล
ข้อมูลที่ผ่านการประมวลผลแล้วเรียกว่า สารสนเทศ (Information) เช่น เมื่อนาคะแนนของนักเรียน
ทังหมดมาประมวลผลก็จะได้คะแนนสูงสุด คะแนนต่าสุดของนักเรียนทั้งหมด
้
ข้อมูลที่นามาจัดเก็บในฐานข้อมูลอาจอยู่ในรูปของตัวเลข ตัวอักษร ข้อความ รูปภาพ หรือเสียงก็ได้
ฐานข้อมูล (Database) หมายถึง แหล่ งเก็บรวบรวมข้อมูลกลุ่มหนึ่งที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อ หรือ
จุดประสงค์อย่างใดอย่างหนึ่ง มีโครงการและการจัดการอย่างเป็นระบบ ข้อมูลที่บันทึกเก็บไว้ สามารถ
ปรับปรุงแก้ไข สืบค้น และนามาใช้ในการจัดการสารสนเทศได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ
ฐานข้อมูลในที่นี้ หมายถึง ฐานข้อมูลที่ใช้ระบบคอมพิวเตอร์ ส่วนอุปกรณ์ที่เก็บข้อมูล ก็คือ จาน
แม่เหล็กหรือฮาร์ดดิสก์นั่นเอง ตัวอย่างฐานข้อมูลที่ใช้ กันทั่วไป ได้แก่ ฐานข้อมูลบุคลากร ฐานข้อมูล
นักศึกษา ฐานข้อมูลสินค้า ฯลฯ
ปกติฐานข้อมูลจะถูกจัดเก็บไว้ที่สวนกลางของหน่วยงานหรือองค์กร เพื่อให้ผู้ใช้งานสามารถเรียกใช้
ข้อมูลร่ วมกั นได้ โดยอาจใช้ข้อมูลได้บางส่ วนหรือทั้งหมดขึ้นอยู่กับการกาหนดสิทธิ์ในการใช้งาน
ฐานข้อมูลอาจเก็บข้อมูลไว้ในแฟ้มเดียวกันหรือแยกเก็บหลายๆ แฟ้มที่มีความสัมพันธ์กันโดยแต่ละแฟ้ม
เรียกว่า ตาราง (Table) ซึ่งมีลักษณะโครงสร้าง ดังรูป
ส่วนประกอบของฐานข้อมูลในโปรแกรม
Microsoft Access 2007
2. ความหมายของระบบฐานข้อมูล (Database System)
ระบบฐานข้อมูล (Database System) หมายถึง ส่วนประกอบต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการใช้งาน
ฐานข้อมูล อาจแบ่งเป็นฮาร์ดแวร์ (Hardware) ซอฟต์แวร์ (Software) และบุคลากร (Personnel) เหมือนระบบ
คอมพิวเตอร์ ดังนี้
 ฮาร์ดแวร์ (Hardware) หมายถึง เครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ประกอบ เช่น ฮาร์ดดิสก์ที่ใช้
เก็บฐานข้อมูล อุปกรณ์นาเข้าข้อมูลแบบต่างๆ และโปรแกรมใช้งาน
 ซอฟต์แวร์ (Software) หมายถึง โปรแกรมใช้งานและระบบการจัดการฐานข้อมูล
 บุคลากร (Personnel) หมายถึง บุคลากรที่เกี่ยวข้องกบระบบหรือผู้ใช้งานฐานข้อมูล
เพื่อให้เข้าใจได้ง่ายขึ้นอาจดูผังลักษณะการใช้งานระบบฐานข้อมูล ดังนี้

ผังลักษณะการใช้งานระบบฐานข้อมูล
 ผู้ใช้งานฐานข้อมูล หรือ ผู้ที่เกี่ยวข้องกับฐานข้อมูล แบ่งได้เป็น
1. ผู้ใช้ (User) หมายถึง ผู้ที่ต้องการใช้ฐานข้อมูลทั่วไป การใช้งานอาจทาได้โดยผ่าน
โปรแกรมใช้งานหรือผ่านระบบการจัดการฐานข้อมูลถ้ามีความรู้เกี่ยวกับระบบเพียงพอ
2. ผู้เขียนโปรแกรมใช้งาน (Application Programmer) หมายถึง ผู้ที่สร้างฐานข้อมูล และ
พัฒนาโปรแกรมใช้งานสาหรับให้ผู้ใช้สามารถใช้งานฐานข้อมูลได้ง่าย และให้ผู้บริหาร ฐานข้อมูลสามารถ
จัดการฐานข้อมูลได้สะดวกขึ้น
3. ผู้บริหารฐานข้อมูล (Database Administrator) หมายถึง ผู้ที่ออกแบบฐานข้อมูล ดูแล
รักษาและจัดการฐานข้อมูลให้ปลอดภัย ทันสมัย และถูกต้องอยู่เสมอ
การใช้งานระบบฐานข้อมูล อาจเป็นแบบใช้งานคนเดียว (Single User) หรือระบบใช้งาน หลายคน
(Multi - User) ที่เชื่อมต่อกันเป็นเครือข่าย (Network) ภายในหน่วยงานที่เรียกว่า อินทราเน็ต (Intranet) หรือ
ใช้งานผ่านระบบอินเทอร์เน็ตที่กาลังเป็นที่นิยมกันในปัจจุบัน
ระบบการจัดการฐานข้อมูล หมายถึง ชุดโปรแกรมที่ใช้ในการจัดการฐานข้อมูล เช่น การสร้าง
ฐานข้อมูล การบันทึกข้อมูล การปรับปรุงแก้ ไขข้อมูล การสืบค้นข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล การจัดทา
รายงานและอื่นๆ ตัวอย่างของโปรแกรมที่ใช้จัดการฐานข้อมูล ได้แก่ Microsoft Access, Microsoft SQL
Server, MySQL, Oracle เป็นต้น

3. ลักษณะของฐานข้อมูลแบบสัมพันธ์
1. ค่าของข้อมูลต้องเป็นค่าที่ไม่สามารถแบ่งแยกออกไปได้อีก เช่น ชื่อ
2. ค่าในแนวตั้ง (Column) หรือฟิลด์ต้องเป็นแบบเดียวกัน เช่น ถ้าเป็นฟิลด์สาหรับ เก็บชื่อก็ต้องเป็น
ชื่อจริงทั้งหมด ไม่มีชื่อเล่นมาเก็บด้วย
3. ลาดับของฟิลด์ไม่จาเป็นต้องเรียงกัน เช่น อาจใช้ฟิลด์นามสกุลก่อนฟิลด์ชื่อก็ได้
4. ชื่อฟิลด์ในตารางเดียวกันจะต้องไม่ซ้ากัน
5. ต้องกาหนดฟิลด์ใดฟิลด์หนึ่งเป็นดัชนี (Index) หรือเรียกว่า กุญแจหลัก (Primary Key)
6. ข้อมูลในแต่ละแถวหรือระเบียนต้องไม่ซ้ากันกับแถวอื่น
7. ไม่จาเป็นต้องเรียงลาดับของข้อมูลแต่ละแถวหรือระเบียน

4. คาศัพท์ที่เกี่ยวกับระบบฐานข้อมูลและการออกแบบระบบฐานข้อมูล
1. เอนทิตี (Entity) เป็นคาที่อ้างอิงถึงบุคคล สถานที่ และสิ่งของต่าง ๆ เช่น สินค้า หรือวิชา ใบสั่ง
ซื้อหรือบัตรลงทะเบียน และลูกค้าหรือนักศึกษา เป็นต้น ถ้าเราสนใจในการสร้าง ระบบฐานข้อมูลการสั่งซื้อ
สินค้า เอนทิตีของระบบนี้จะประกอบด้วย เอนทิตีลูกค้า ใบสั่งซื้อ สินค้า กับสินค้า ดังรูป
2. แอททริบิวต์ (Attribute) เป็นข้อมูลที่แสดงลักษณะของเอนทิตี เช่น แอททริบิวต์ของเอนทิตีลูกค้า
หรือนักศึกษา จะมีชื่อ ที่อยู่ และรหัสไปรษณีย์ ส่วนแอททริบิวต์ของเอนทิตีใบสั่งซื้อสินค้า จะมีรหัสใบสั่ง
ซื้อ วันที่สั่งซื้อ ชื่อสินค้า จานวนสินค้าที่สั่ง และราคาสินค้า เป็นต้น ซึ่งเราสามารถแสดงเอนทิตี รวมทั้ง
แอททริบิวต์ได้
3. ความสัมพันธ์ (Relationships) หมายถึง ความสัมพันธ์ระหว่ างเอนทิตีต่ างๆ ในระบบ เช่น ใน
ระบบการสั่งซื้อสินค้า จะประกอบด้วยเอนทิตีใบสั่งซื้อสินค้า และเอนทิตีลูกค้า ซึ่งมีความสัมพันธ์จากลูกค้า
ไปยังใบสั่งซื้อสินค้าเป็นแบบหนึ่งต่อกลุ่ม (One – to - Many) เป็นต้น
ส่วนประกอบของเอนทิตี แอททริบิวต์และความสัมพันธ์ในระบบฐานข้อมูล
ในระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์นั้น เราจะต้องกาหนดชนิดของคีย์ต่างๆ เพื่อเป็น แอททริบิวต์พิเศษที่
ทาหน้าที่บางอย่าง เช่น เป็นตัวแทนของตาราง ฯลฯ ซึ่งมีชนิดคีย์ ดังนี้
1. Primary Key (คีย์หลัก) จะเป็นฟิลด์ที่มีค่าไม่ซ้ากันเลยในแต่ละเรคอร์ดในตารางนั้น เราสามารถ
ใช้ฟิลด์ที่เป็น Primary Key นี้เป็นตัวแทนของตารางนั้นได้ทันที
2. Candidate Key (คีย์คู่แข่ง) เป็นฟิลด์หนึ่งหรือหลายฟิลด์ที่พอเอามารวมกันแล้วมีคุณสมบัติเป็น
Primary Key (ไม่ซ้า) และไม่ได้ถูกใช้เป็นคีย์หลัก เช่น รหัสจังหวัดเป็นคีย์หลัก ส่วนชื่อจังหวัดก็ไม่ซ้าเช่นกัน
แต่ไม่ได้เป็นคีย์หลักจึงเป็นคีย์คู่แข่งแทน
3. Composite Key บางตารางหาฟิลด์ไม่ซ้าไม่ได้เลย จึงต้องใช้หลายๆ ฟิลด์มารวมกันเป็น Primary
Key ฟิลด์ที่ใช้ร่วมกันนี้เราเรียกว่า Composite Key
4. Foreign Key เป็นฟิลด์ใดๆ ในตารางหนึ่ง (ฝั่ง Many) ที่มีความสัมพันธ์กับฟิลด์ที่เป็น Primary
Key ในอีกตารางหนึ่ง (ฝั่ง One) โดยที่ตารางทั้งสองมีความสัมพันธ์แบบ One – to – Many ต่อกัน
ฐานข้อมูลมีหลายแบบ แต่ที่นิยมใช้กันมากที่สุดในปัจจุบัน คือ ฐานข้อมูลแบบสัมพันธ์ (Relational
Database) ซึ่งมีโครงสร้างเป็นตารางหลายตารางที่มีความสัมพันธ์กันโดยใช้ฟิลด์ที่เหมือนกัน เช่น รหัส
นักศึกษา (StudentID)
การเปรียบเทียบคาศัพท์ทั่วไปกับคาศัพท์เทคนิคในระบบฐานข้อมูล
ศัพท์ทั่วไป
ตาราง (Table)
แถว (Row)
คอลัมน์ (Column)
จานวนแถว
จานวนคอลัมน์
ค่าเอกลักษณ์ (Unique Identifier)

ศัพท์เทคนิคในระบบแฟ้มข้อมู ล
แฟ้มข้อมูล (File)
ระเบียน (Record)
เขตข้อมูล (Field)
จานวนระเบียน
จานวนเขตข้อมูล
คีย์หลัก

ศัพท์เทคนิคในฐานข้อมู ลเชิงสัมพันธ์
รีเลชัน (Relation)
ทูเพิล (Tuple)
แอตทริบิวต์ (Attibute)
คาร์ดินาลลิตี (Cardinality)
ดีกรี (Degree)
คีย์หลัก (Primary Key)
ขอบเขตของค่าของข้อมูล

ขอบเขตของค่าของข้อมูล

โดเมน (Domain)

5. ประโยชน์ของระบบฐานข้อมูล
การจัดเก็บข้อมูลไว้ในฐานข้อมูลที่เดียวกันด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูล มีประโยชน์ ดังนี้
1) สามารถใช้ข้อมูลรวมกั นได้ ผู้ใช้แต่ ละคนสามารถที่จะใช้ข้อมูลในระบบ ฐานข้อมูลได้และ
โปรแกรมใช้งานหลายโปรแกรมอาจใช้ฐานข้อมูลรวมกันได้
2) สามารถกาหนดมาตรฐานของข้อมูลได้ ผู้บริหารฐานข้อมูลอาจกาหนดมาตรฐาน ต่างๆ ในการ
จัดเก็บข้อมูลให้เป็นลักษณะเดียวกัน เช่น โครงสร้างข้อมูล ประเภทของข้อมูล เป็นต้น
3) ลดความซ้าซ้อนของข้อมูลได้ ผู้ใช้ทุกคนที่ต้องการจัดเก็บข้อมูลจะใช้โดยผ่านระบบการจัดการ
ฐานข้อมูล ทาให้ข้อมูลไม่ซ้ากันและไม้เปลืองเนื้อที่ในการเก็บข้อมูล
4) ลดความขัดแย้งของข้อมูลได้ ข้อมูลชุดเดียวกั นที่ ปรากฏอ ยู่หลายแห่ งในฐานข้อมูลจะต้อง
ตรงกัน ถ้ามีการแก้ไขข้อมูลนี้ ระบบการจัดการฐานข้อมูลจะต้องแก้ ไขให้ถูกต้องตามกั นหมดโดย
อัตโนมัติ
5) ป้องกันและรักษาความปลอดภัยของข้อมูลได้ โดยกาหนดสิทธิ์ของผู้ใช้แต่ละคนตามระดับการ
ใช้งาน เช่น ผู้ใช้ทั่วไปอาจใช้ข้อมูลบางส่วน ผู้ใช้ที่มีหน้าที่บันทึกและแก้ ไขข้อมูลก็ มีสิทธิ์ ใช้ข้อมูล
ได้อีกระดับหนึ่ง เป็นต้น
6) ดูแลรักษาฐานข้อมูลได้ง่าย เช่น การทาสาเนาฐานข้อมูล การบูรณะฐานข้อมูลให้กลับสู่ สภาพ
ปกติ

More Related Content

What's hot

ใบความรู้ที่1
ใบความรู้ที่1ใบความรู้ที่1
ใบความรู้ที่1Orapan Chamnan
 
ใบความรู้ที่1.2
ใบความรู้ที่1.2ใบความรู้ที่1.2
ใบความรู้ที่1.2Orapan Chamnan
 
ใบความรู้ที่2
ใบความรู้ที่2ใบความรู้ที่2
ใบความรู้ที่2Orapan Chamnan
 
สารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจ
สารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจ สารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจ
สารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจ Tiger Tanatat
 
ข้อมูล
ข้อมูลข้อมูล
ข้อมูลtungraya
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศtungraya
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศtungraya
 
นาย ทศพล จอมใจ
นาย  ทศพล    จอมใจนาย  ทศพล    จอมใจ
นาย ทศพล จอมใจtaltan
 
ข้อมูลสานสนเทศ
ข้อมูลสานสนเทศข้อมูลสานสนเทศ
ข้อมูลสานสนเทศnattapas33130
 
บทที่ 2 ข้อมูล สารสนเทศ และความรู้
บทที่ 2  ข้อมูล สารสนเทศ และความรู้บทที่ 2  ข้อมูล สารสนเทศ และความรู้
บทที่ 2 ข้อมูล สารสนเทศ และความรู้รัสนา สิงหปรีชา
 
สาระสำคัญ
สาระสำคัญสาระสำคัญ
สาระสำคัญGornwika
 
02ข้อมูลสารสนเทศความรู้
02ข้อมูลสารสนเทศความรู้02ข้อมูลสารสนเทศความรู้
02ข้อมูลสารสนเทศความรู้KruJarin Mrw
 

What's hot (16)

ใบความรู้ที่1
ใบความรู้ที่1ใบความรู้ที่1
ใบความรู้ที่1
 
Lesson 1
Lesson 1Lesson 1
Lesson 1
 
ใบความรู้ที่1.2
ใบความรู้ที่1.2ใบความรู้ที่1.2
ใบความรู้ที่1.2
 
ใบความรู้ที่2
ใบความรู้ที่2ใบความรู้ที่2
ใบความรู้ที่2
 
สารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจ
สารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจ สารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจ
สารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจ
 
ข้อมูล
ข้อมูลข้อมูล
ข้อมูล
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศ
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศ
 
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
 
นาย ทศพล จอมใจ
นาย  ทศพล    จอมใจนาย  ทศพล    จอมใจ
นาย ทศพล จอมใจ
 
ข้อมูลสานสนเทศ
ข้อมูลสานสนเทศข้อมูลสานสนเทศ
ข้อมูลสานสนเทศ
 
บทที่ 2 ข้อมูล สารสนเทศ และความรู้
บทที่ 2  ข้อมูล สารสนเทศ และความรู้บทที่ 2  ข้อมูล สารสนเทศ และความรู้
บทที่ 2 ข้อมูล สารสนเทศ และความรู้
 
วิจัย1
วิจัย1วิจัย1
วิจัย1
 
สาระสำคัญ
สาระสำคัญสาระสำคัญ
สาระสำคัญ
 
it-06-50
it-06-50it-06-50
it-06-50
 
02ข้อมูลสารสนเทศความรู้
02ข้อมูลสารสนเทศความรู้02ข้อมูลสารสนเทศความรู้
02ข้อมูลสารสนเทศความรู้
 

Similar to 2. ใบความรู้ที่ 1

ลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูล
ลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูลลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูล
ลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูลปิยะดนัย วิเคียน
 
ฐานข้อมูลนะสอน
ฐานข้อมูลนะสอนฐานข้อมูลนะสอน
ฐานข้อมูลนะสอนsariya25
 
Myun dao22
Myun dao22Myun dao22
Myun dao22MyunDao
 
Myun dao22
Myun dao22Myun dao22
Myun dao22MyunDao
 
นาย ณัฐพงษ์ สุดก้องไพร
นาย ณัฐพงษ์  สุดก้องไพรนาย ณัฐพงษ์  สุดก้องไพร
นาย ณัฐพงษ์ สุดก้องไพรBen Benben
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูลความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูลสุจิตรา แสงเรือง
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูลความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูลสุจิตรา แสงเรือง
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลIsareeya Keatwuttikan
 
บทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูล
บทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูลบทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูล
บทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูลniwat50
 
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสารสนเทศ
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสารสนเทศบทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสารสนเทศ
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสารสนเทศchushi1991
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศKewalin Kaewwijit
 
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศบทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศSrion Janeprapapong
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3nunzaza
 
ใบความรู้เรื่อง ข้อมูลและสารสนเทศ
ใบความรู้เรื่อง ข้อมูลและสารสนเทศใบความรู้เรื่อง ข้อมูลและสารสนเทศ
ใบความรู้เรื่อง ข้อมูลและสารสนเทศPraphaphun Kaewmuan
 

Similar to 2. ใบความรู้ที่ 1 (20)

ลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูล
ลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูลลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูล
ลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูล
 
ฐานข้อมูลนะสอน
ฐานข้อมูลนะสอนฐานข้อมูลนะสอน
ฐานข้อมูลนะสอน
 
Myun dao22
Myun dao22Myun dao22
Myun dao22
 
Myun dao22
Myun dao22Myun dao22
Myun dao22
 
นาย ณัฐพงษ์ สุดก้องไพร
นาย ณัฐพงษ์  สุดก้องไพรนาย ณัฐพงษ์  สุดก้องไพร
นาย ณัฐพงษ์ สุดก้องไพร
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูลความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
 
การจัดเก็บข้อมูล
การจัดเก็บข้อมูลการจัดเก็บข้อมูล
การจัดเก็บข้อมูล
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูลความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
 
บท1
บท1บท1
บท1
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
 
บท1
บท1บท1
บท1
 
บทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูล
บทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูลบทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูล
บทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูล
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1
 
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสารสนเทศ
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสารสนเทศบทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสารสนเทศ
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสารสนเทศ
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศ
 
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศบทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศ
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
SA Chapter 9
SA Chapter 9SA Chapter 9
SA Chapter 9
 
ใบความรู้เรื่อง ข้อมูลและสารสนเทศ
ใบความรู้เรื่อง ข้อมูลและสารสนเทศใบความรู้เรื่อง ข้อมูลและสารสนเทศ
ใบความรู้เรื่อง ข้อมูลและสารสนเทศ
 

More from ครูเพชร

ครูเพชร การแทรกรูปภาพลงในโปแกรมPower point
ครูเพชร การแทรกรูปภาพลงในโปแกรมPower pointครูเพชร การแทรกรูปภาพลงในโปแกรมPower point
ครูเพชร การแทรกรูปภาพลงในโปแกรมPower pointครูเพชร
 
ครูเพชร การนำเสนอข้อมูลด้วยตาราง
ครูเพชร การนำเสนอข้อมูลด้วยตารางครูเพชร การนำเสนอข้อมูลด้วยตาราง
ครูเพชร การนำเสนอข้อมูลด้วยตารางครูเพชร
 
สื่อการสอน หน่วยที่ 1
สื่อการสอน หน่วยที่ 1สื่อการสอน หน่วยที่ 1
สื่อการสอน หน่วยที่ 1ครูเพชร
 
ใบความรู้ที่ 7
ใบความรู้ที่ 7ใบความรู้ที่ 7
ใบความรู้ที่ 7ครูเพชร
 
ใบความรู้ที่ 5
ใบความรู้ที่ 5ใบความรู้ที่ 5
ใบความรู้ที่ 5ครูเพชร
 
ใบความรู้ที่ 5 เพชร
ใบความรู้ที่ 5 เพชรใบความรู้ที่ 5 เพชร
ใบความรู้ที่ 5 เพชรครูเพชร
 
ใบความรู้ที่ 5 เพชร
ใบความรู้ที่ 5 เพชรใบความรู้ที่ 5 เพชร
ใบความรู้ที่ 5 เพชรครูเพชร
 
ใบความรู้ที่ 5
ใบความรู้ที่ 5ใบความรู้ที่ 5
ใบความรู้ที่ 5ครูเพชร
 
ใบความรู้ที่ 5
ใบความรู้ที่ 5ใบความรู้ที่ 5
ใบความรู้ที่ 5ครูเพชร
 
ใบความรู้ที่ 5 เพชร
ใบความรู้ที่ 5 เพชรใบความรู้ที่ 5 เพชร
ใบความรู้ที่ 5 เพชรครูเพชร
 
ใบความรู้ที่ 5
ใบความรู้ที่ 5ใบความรู้ที่ 5
ใบความรู้ที่ 5ครูเพชร
 
2. ใบความรู้ที่ 8
2. ใบความรู้ที่ 82. ใบความรู้ที่ 8
2. ใบความรู้ที่ 8ครูเพชร
 
2. ใบความรู้ที่ 7
2. ใบความรู้ที่ 72. ใบความรู้ที่ 7
2. ใบความรู้ที่ 7ครูเพชร
 
2. ใบความรู้ที่ 6
2. ใบความรู้ที่ 62. ใบความรู้ที่ 6
2. ใบความรู้ที่ 6ครูเพชร
 
2. ใบความรู้ที่ 5
2. ใบความรู้ที่ 52. ใบความรู้ที่ 5
2. ใบความรู้ที่ 5ครูเพชร
 
2. ใบความรู้ที่ 4
2. ใบความรู้ที่ 42. ใบความรู้ที่ 4
2. ใบความรู้ที่ 4ครูเพชร
 
2. ใบความรู้ที่ 4
2. ใบความรู้ที่ 42. ใบความรู้ที่ 4
2. ใบความรู้ที่ 4ครูเพชร
 

More from ครูเพชร (20)

ครูเพชร การแทรกรูปภาพลงในโปแกรมPower point
ครูเพชร การแทรกรูปภาพลงในโปแกรมPower pointครูเพชร การแทรกรูปภาพลงในโปแกรมPower point
ครูเพชร การแทรกรูปภาพลงในโปแกรมPower point
 
ครูเพชร การนำเสนอข้อมูลด้วยตาราง
ครูเพชร การนำเสนอข้อมูลด้วยตารางครูเพชร การนำเสนอข้อมูลด้วยตาราง
ครูเพชร การนำเสนอข้อมูลด้วยตาราง
 
สื่อการสอน หน่วยที่ 1
สื่อการสอน หน่วยที่ 1สื่อการสอน หน่วยที่ 1
สื่อการสอน หน่วยที่ 1
 
Research02
Research02Research02
Research02
 
ใบความรู้ที่ 7
ใบความรู้ที่ 7ใบความรู้ที่ 7
ใบความรู้ที่ 7
 
ใบความรู้ที่ 5
ใบความรู้ที่ 5ใบความรู้ที่ 5
ใบความรู้ที่ 5
 
ใบความรู้ที่ 5 เพชร
ใบความรู้ที่ 5 เพชรใบความรู้ที่ 5 เพชร
ใบความรู้ที่ 5 เพชร
 
ใบความรู้ที่ 5 เพชร
ใบความรู้ที่ 5 เพชรใบความรู้ที่ 5 เพชร
ใบความรู้ที่ 5 เพชร
 
ใบความรู้ที่ 5
ใบความรู้ที่ 5ใบความรู้ที่ 5
ใบความรู้ที่ 5
 
งานนำเสนอ5
งานนำเสนอ5งานนำเสนอ5
งานนำเสนอ5
 
งานนำเสนอ5
งานนำเสนอ5งานนำเสนอ5
งานนำเสนอ5
 
ใบความรู้ที่ 5
ใบความรู้ที่ 5ใบความรู้ที่ 5
ใบความรู้ที่ 5
 
ใบความรู้ที่ 5 เพชร
ใบความรู้ที่ 5 เพชรใบความรู้ที่ 5 เพชร
ใบความรู้ที่ 5 เพชร
 
ใบความรู้ที่ 5
ใบความรู้ที่ 5ใบความรู้ที่ 5
ใบความรู้ที่ 5
 
2. ใบความรู้ที่ 8
2. ใบความรู้ที่ 82. ใบความรู้ที่ 8
2. ใบความรู้ที่ 8
 
2. ใบความรู้ที่ 7
2. ใบความรู้ที่ 72. ใบความรู้ที่ 7
2. ใบความรู้ที่ 7
 
2. ใบความรู้ที่ 6
2. ใบความรู้ที่ 62. ใบความรู้ที่ 6
2. ใบความรู้ที่ 6
 
2. ใบความรู้ที่ 5
2. ใบความรู้ที่ 52. ใบความรู้ที่ 5
2. ใบความรู้ที่ 5
 
2. ใบความรู้ที่ 4
2. ใบความรู้ที่ 42. ใบความรู้ที่ 4
2. ใบความรู้ที่ 4
 
2. ใบความรู้ที่ 4
2. ใบความรู้ที่ 42. ใบความรู้ที่ 4
2. ใบความรู้ที่ 4
 

2. ใบความรู้ที่ 1

  • 1. ใบความรู้ที่ 1 รหัสวิชา ง32202 ชื่อวิชา การสร้างฐานข้อมูลเบื้องต้น ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับฐานข้อมูล จานวน 4 คาบเรียน -------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- 1. ความหมายของข้อมูลและฐานข้อมูล ข้อมูล (Data) หมายถึง ข้อเท็จจริงที่เกี่ยวข้องกั บสิ่งต่างๆ ทั่วไป เช่น ราคาสินค้า คะแนนของ นักเรียนแต่ละคน ซึ่งปกติถือว่าเป็น ข้อมูลดิบ (Raw Data) ที่ยังไม่ได้ผ่านการประมวลผล ข้อมูลที่ผ่านการประมวลผลแล้วเรียกว่า สารสนเทศ (Information) เช่น เมื่อนาคะแนนของนักเรียน ทังหมดมาประมวลผลก็จะได้คะแนนสูงสุด คะแนนต่าสุดของนักเรียนทั้งหมด ้ ข้อมูลที่นามาจัดเก็บในฐานข้อมูลอาจอยู่ในรูปของตัวเลข ตัวอักษร ข้อความ รูปภาพ หรือเสียงก็ได้ ฐานข้อมูล (Database) หมายถึง แหล่ งเก็บรวบรวมข้อมูลกลุ่มหนึ่งที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อ หรือ จุดประสงค์อย่างใดอย่างหนึ่ง มีโครงการและการจัดการอย่างเป็นระบบ ข้อมูลที่บันทึกเก็บไว้ สามารถ ปรับปรุงแก้ไข สืบค้น และนามาใช้ในการจัดการสารสนเทศได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ ฐานข้อมูลในที่นี้ หมายถึง ฐานข้อมูลที่ใช้ระบบคอมพิวเตอร์ ส่วนอุปกรณ์ที่เก็บข้อมูล ก็คือ จาน แม่เหล็กหรือฮาร์ดดิสก์นั่นเอง ตัวอย่างฐานข้อมูลที่ใช้ กันทั่วไป ได้แก่ ฐานข้อมูลบุคลากร ฐานข้อมูล นักศึกษา ฐานข้อมูลสินค้า ฯลฯ ปกติฐานข้อมูลจะถูกจัดเก็บไว้ที่สวนกลางของหน่วยงานหรือองค์กร เพื่อให้ผู้ใช้งานสามารถเรียกใช้ ข้อมูลร่ วมกั นได้ โดยอาจใช้ข้อมูลได้บางส่ วนหรือทั้งหมดขึ้นอยู่กับการกาหนดสิทธิ์ในการใช้งาน ฐานข้อมูลอาจเก็บข้อมูลไว้ในแฟ้มเดียวกันหรือแยกเก็บหลายๆ แฟ้มที่มีความสัมพันธ์กันโดยแต่ละแฟ้ม เรียกว่า ตาราง (Table) ซึ่งมีลักษณะโครงสร้าง ดังรูป ส่วนประกอบของฐานข้อมูลในโปรแกรม Microsoft Access 2007
  • 2. 2. ความหมายของระบบฐานข้อมูล (Database System) ระบบฐานข้อมูล (Database System) หมายถึง ส่วนประกอบต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการใช้งาน ฐานข้อมูล อาจแบ่งเป็นฮาร์ดแวร์ (Hardware) ซอฟต์แวร์ (Software) และบุคลากร (Personnel) เหมือนระบบ คอมพิวเตอร์ ดังนี้  ฮาร์ดแวร์ (Hardware) หมายถึง เครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ประกอบ เช่น ฮาร์ดดิสก์ที่ใช้ เก็บฐานข้อมูล อุปกรณ์นาเข้าข้อมูลแบบต่างๆ และโปรแกรมใช้งาน  ซอฟต์แวร์ (Software) หมายถึง โปรแกรมใช้งานและระบบการจัดการฐานข้อมูล  บุคลากร (Personnel) หมายถึง บุคลากรที่เกี่ยวข้องกบระบบหรือผู้ใช้งานฐานข้อมูล เพื่อให้เข้าใจได้ง่ายขึ้นอาจดูผังลักษณะการใช้งานระบบฐานข้อมูล ดังนี้ ผังลักษณะการใช้งานระบบฐานข้อมูล  ผู้ใช้งานฐานข้อมูล หรือ ผู้ที่เกี่ยวข้องกับฐานข้อมูล แบ่งได้เป็น 1. ผู้ใช้ (User) หมายถึง ผู้ที่ต้องการใช้ฐานข้อมูลทั่วไป การใช้งานอาจทาได้โดยผ่าน โปรแกรมใช้งานหรือผ่านระบบการจัดการฐานข้อมูลถ้ามีความรู้เกี่ยวกับระบบเพียงพอ 2. ผู้เขียนโปรแกรมใช้งาน (Application Programmer) หมายถึง ผู้ที่สร้างฐานข้อมูล และ พัฒนาโปรแกรมใช้งานสาหรับให้ผู้ใช้สามารถใช้งานฐานข้อมูลได้ง่าย และให้ผู้บริหาร ฐานข้อมูลสามารถ จัดการฐานข้อมูลได้สะดวกขึ้น 3. ผู้บริหารฐานข้อมูล (Database Administrator) หมายถึง ผู้ที่ออกแบบฐานข้อมูล ดูแล รักษาและจัดการฐานข้อมูลให้ปลอดภัย ทันสมัย และถูกต้องอยู่เสมอ
  • 3. การใช้งานระบบฐานข้อมูล อาจเป็นแบบใช้งานคนเดียว (Single User) หรือระบบใช้งาน หลายคน (Multi - User) ที่เชื่อมต่อกันเป็นเครือข่าย (Network) ภายในหน่วยงานที่เรียกว่า อินทราเน็ต (Intranet) หรือ ใช้งานผ่านระบบอินเทอร์เน็ตที่กาลังเป็นที่นิยมกันในปัจจุบัน ระบบการจัดการฐานข้อมูล หมายถึง ชุดโปรแกรมที่ใช้ในการจัดการฐานข้อมูล เช่น การสร้าง ฐานข้อมูล การบันทึกข้อมูล การปรับปรุงแก้ ไขข้อมูล การสืบค้นข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล การจัดทา รายงานและอื่นๆ ตัวอย่างของโปรแกรมที่ใช้จัดการฐานข้อมูล ได้แก่ Microsoft Access, Microsoft SQL Server, MySQL, Oracle เป็นต้น 3. ลักษณะของฐานข้อมูลแบบสัมพันธ์ 1. ค่าของข้อมูลต้องเป็นค่าที่ไม่สามารถแบ่งแยกออกไปได้อีก เช่น ชื่อ 2. ค่าในแนวตั้ง (Column) หรือฟิลด์ต้องเป็นแบบเดียวกัน เช่น ถ้าเป็นฟิลด์สาหรับ เก็บชื่อก็ต้องเป็น ชื่อจริงทั้งหมด ไม่มีชื่อเล่นมาเก็บด้วย 3. ลาดับของฟิลด์ไม่จาเป็นต้องเรียงกัน เช่น อาจใช้ฟิลด์นามสกุลก่อนฟิลด์ชื่อก็ได้ 4. ชื่อฟิลด์ในตารางเดียวกันจะต้องไม่ซ้ากัน 5. ต้องกาหนดฟิลด์ใดฟิลด์หนึ่งเป็นดัชนี (Index) หรือเรียกว่า กุญแจหลัก (Primary Key) 6. ข้อมูลในแต่ละแถวหรือระเบียนต้องไม่ซ้ากันกับแถวอื่น 7. ไม่จาเป็นต้องเรียงลาดับของข้อมูลแต่ละแถวหรือระเบียน 4. คาศัพท์ที่เกี่ยวกับระบบฐานข้อมูลและการออกแบบระบบฐานข้อมูล 1. เอนทิตี (Entity) เป็นคาที่อ้างอิงถึงบุคคล สถานที่ และสิ่งของต่าง ๆ เช่น สินค้า หรือวิชา ใบสั่ง ซื้อหรือบัตรลงทะเบียน และลูกค้าหรือนักศึกษา เป็นต้น ถ้าเราสนใจในการสร้าง ระบบฐานข้อมูลการสั่งซื้อ สินค้า เอนทิตีของระบบนี้จะประกอบด้วย เอนทิตีลูกค้า ใบสั่งซื้อ สินค้า กับสินค้า ดังรูป 2. แอททริบิวต์ (Attribute) เป็นข้อมูลที่แสดงลักษณะของเอนทิตี เช่น แอททริบิวต์ของเอนทิตีลูกค้า หรือนักศึกษา จะมีชื่อ ที่อยู่ และรหัสไปรษณีย์ ส่วนแอททริบิวต์ของเอนทิตีใบสั่งซื้อสินค้า จะมีรหัสใบสั่ง ซื้อ วันที่สั่งซื้อ ชื่อสินค้า จานวนสินค้าที่สั่ง และราคาสินค้า เป็นต้น ซึ่งเราสามารถแสดงเอนทิตี รวมทั้ง แอททริบิวต์ได้ 3. ความสัมพันธ์ (Relationships) หมายถึง ความสัมพันธ์ระหว่ างเอนทิตีต่ างๆ ในระบบ เช่น ใน ระบบการสั่งซื้อสินค้า จะประกอบด้วยเอนทิตีใบสั่งซื้อสินค้า และเอนทิตีลูกค้า ซึ่งมีความสัมพันธ์จากลูกค้า ไปยังใบสั่งซื้อสินค้าเป็นแบบหนึ่งต่อกลุ่ม (One – to - Many) เป็นต้น
  • 4. ส่วนประกอบของเอนทิตี แอททริบิวต์และความสัมพันธ์ในระบบฐานข้อมูล ในระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์นั้น เราจะต้องกาหนดชนิดของคีย์ต่างๆ เพื่อเป็น แอททริบิวต์พิเศษที่ ทาหน้าที่บางอย่าง เช่น เป็นตัวแทนของตาราง ฯลฯ ซึ่งมีชนิดคีย์ ดังนี้ 1. Primary Key (คีย์หลัก) จะเป็นฟิลด์ที่มีค่าไม่ซ้ากันเลยในแต่ละเรคอร์ดในตารางนั้น เราสามารถ ใช้ฟิลด์ที่เป็น Primary Key นี้เป็นตัวแทนของตารางนั้นได้ทันที 2. Candidate Key (คีย์คู่แข่ง) เป็นฟิลด์หนึ่งหรือหลายฟิลด์ที่พอเอามารวมกันแล้วมีคุณสมบัติเป็น Primary Key (ไม่ซ้า) และไม่ได้ถูกใช้เป็นคีย์หลัก เช่น รหัสจังหวัดเป็นคีย์หลัก ส่วนชื่อจังหวัดก็ไม่ซ้าเช่นกัน แต่ไม่ได้เป็นคีย์หลักจึงเป็นคีย์คู่แข่งแทน 3. Composite Key บางตารางหาฟิลด์ไม่ซ้าไม่ได้เลย จึงต้องใช้หลายๆ ฟิลด์มารวมกันเป็น Primary Key ฟิลด์ที่ใช้ร่วมกันนี้เราเรียกว่า Composite Key 4. Foreign Key เป็นฟิลด์ใดๆ ในตารางหนึ่ง (ฝั่ง Many) ที่มีความสัมพันธ์กับฟิลด์ที่เป็น Primary Key ในอีกตารางหนึ่ง (ฝั่ง One) โดยที่ตารางทั้งสองมีความสัมพันธ์แบบ One – to – Many ต่อกัน ฐานข้อมูลมีหลายแบบ แต่ที่นิยมใช้กันมากที่สุดในปัจจุบัน คือ ฐานข้อมูลแบบสัมพันธ์ (Relational Database) ซึ่งมีโครงสร้างเป็นตารางหลายตารางที่มีความสัมพันธ์กันโดยใช้ฟิลด์ที่เหมือนกัน เช่น รหัส นักศึกษา (StudentID) การเปรียบเทียบคาศัพท์ทั่วไปกับคาศัพท์เทคนิคในระบบฐานข้อมูล ศัพท์ทั่วไป ตาราง (Table) แถว (Row) คอลัมน์ (Column) จานวนแถว จานวนคอลัมน์ ค่าเอกลักษณ์ (Unique Identifier) ศัพท์เทคนิคในระบบแฟ้มข้อมู ล แฟ้มข้อมูล (File) ระเบียน (Record) เขตข้อมูล (Field) จานวนระเบียน จานวนเขตข้อมูล คีย์หลัก ศัพท์เทคนิคในฐานข้อมู ลเชิงสัมพันธ์ รีเลชัน (Relation) ทูเพิล (Tuple) แอตทริบิวต์ (Attibute) คาร์ดินาลลิตี (Cardinality) ดีกรี (Degree) คีย์หลัก (Primary Key)
  • 5. ขอบเขตของค่าของข้อมูล ขอบเขตของค่าของข้อมูล โดเมน (Domain) 5. ประโยชน์ของระบบฐานข้อมูล การจัดเก็บข้อมูลไว้ในฐานข้อมูลที่เดียวกันด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูล มีประโยชน์ ดังนี้ 1) สามารถใช้ข้อมูลรวมกั นได้ ผู้ใช้แต่ ละคนสามารถที่จะใช้ข้อมูลในระบบ ฐานข้อมูลได้และ โปรแกรมใช้งานหลายโปรแกรมอาจใช้ฐานข้อมูลรวมกันได้ 2) สามารถกาหนดมาตรฐานของข้อมูลได้ ผู้บริหารฐานข้อมูลอาจกาหนดมาตรฐาน ต่างๆ ในการ จัดเก็บข้อมูลให้เป็นลักษณะเดียวกัน เช่น โครงสร้างข้อมูล ประเภทของข้อมูล เป็นต้น 3) ลดความซ้าซ้อนของข้อมูลได้ ผู้ใช้ทุกคนที่ต้องการจัดเก็บข้อมูลจะใช้โดยผ่านระบบการจัดการ ฐานข้อมูล ทาให้ข้อมูลไม่ซ้ากันและไม้เปลืองเนื้อที่ในการเก็บข้อมูล 4) ลดความขัดแย้งของข้อมูลได้ ข้อมูลชุดเดียวกั นที่ ปรากฏอ ยู่หลายแห่ งในฐานข้อมูลจะต้อง ตรงกัน ถ้ามีการแก้ไขข้อมูลนี้ ระบบการจัดการฐานข้อมูลจะต้องแก้ ไขให้ถูกต้องตามกั นหมดโดย อัตโนมัติ 5) ป้องกันและรักษาความปลอดภัยของข้อมูลได้ โดยกาหนดสิทธิ์ของผู้ใช้แต่ละคนตามระดับการ ใช้งาน เช่น ผู้ใช้ทั่วไปอาจใช้ข้อมูลบางส่วน ผู้ใช้ที่มีหน้าที่บันทึกและแก้ ไขข้อมูลก็ มีสิทธิ์ ใช้ข้อมูล ได้อีกระดับหนึ่ง เป็นต้น 6) ดูแลรักษาฐานข้อมูลได้ง่าย เช่น การทาสาเนาฐานข้อมูล การบูรณะฐานข้อมูลให้กลับสู่ สภาพ ปกติ