SlideShare a Scribd company logo
1 of 16
หน่วยที่ 6
โมเดลจำลองควำมสัมพันธ์ระหว่ำงข้อมูล
โมเดลจำลองควำมสัมพันธ์ระหว่ำงข้อมูล (Entity-Relationship Model : E-R Model) เป็น
อีกแนวคิดที่ใช้เครื่องมืออย่ำงหนึ่งในกำรออกแบบฐำนข้อมูล ซึ่งได้รับควำมนิยมเช่นเดียวกับโมเดลเชิง
สัมพันธ์ ในหน่วยนี้จะกล่ำวถึงแนวคิดและขั้นตอนในกำรเขียนโมเดลแบบ E-R
แนวคิดเกี่ยวกับโมเดลแบบ E-R
กำรสร้ำงโมเดลแบบ E-R จะมีแนวคิดที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ เรื่องของเอนทิตี คุณลักษณะ
ควำมสัมพันธ์ระหว่ำงเอนทิตี รวมทั้งสัญลักษณ์ในโมเดลแบบ E-R
1. เอนทิตี
ในกำรสร้ำงโมเดลแบบ E-R จะต้องกำหนดว่ำในระบบที่ออกนั้นๆ จะประกอบด้วยเอนทิตี
อะไรบ้ำง เช่น ในระบบฐำนข้อมูลงำนทะเบียนนักศึกษำจะประกอบด้วยเอนทิตีนักศึกษำเอนทิตีกำร
ลงทะเบียน เอนทิตีวิชำ และเอนทิตีอำจำรย์เป็นต้น
2. คุณลักษณะของเอนทิตี
เป็นกำรกำหนดแอททริบิวต์ต่ำงๆ ในแต่ละเอนทิตีนั่นเอง นอกจำกนี้ยังอำจประกอบด้วย
รำยละเอียด เช่น แอททริบิวต์ใดเป็นคีย์หรือเป็นข้อมูลที่แปลค่ำมำ เป็นต้น
3. ควำมสัมพันธ์ระหว่ำงเอนทิตี
เป็นกำรระบุว่ำเอนทิตีต่ำงๆ มีควำมสัมพันธ์กันอย่ำงไร ลักษณะควำมสัมพันธ์อำจเป็นแบบหนึ่ง
ต่อหนึ่ง หนึ่งต่อกลุ่ม หรือแบบกลุ่มต่อกลุ่ม โดยคำนึงถึงกำรที่ข้อมูลทุกข้อมูลหรือเพียงบำงข้อมูลของ
เอนทิตีหนึ่ง มีควำมสัมพันธ์กับข้อมูลของเอนทิตีหนึ่ง ซึ่งพอจะกล่ำวให้ละเอียดลงไปได้ดังนี้
3.1 แบบ Total Participation เป็นลักษณะที่ข้อมูลทุกข้อมูลของเอนทิตีหนึ่งมีควำมสัมพธ์กับ
ข้อมูลของอีกเอนทิตีหนึ่ง ตัวอย่ำงเช่น ถ้ำกำหนดว่ำอำจำรย์แต่ละคนจะสังกัดคณะวิชำใด คณะวิชำหนึ่ง
เท่ำนั้น จะสำมำรถแสดงดัง รูปที่ 6.1
อำจำรย์ควำมสัมพันธ์ “ทำงำน” คณะวิชำ
จำกตัวอย่ำงข้ำงต้น จะเห็นได้ว่ำ ถ้ำไม่มีเอนทิตีอำจำรย์ ก็ย่อมจะไม่มีเอนทิตีคณะวิชำ ใน
ลักษณะเช่นนี้เรำเรียกเอนทิตีคณะวิชำว่ำเป็น เอนทิตีชนิดอ่อนแอ (Weak Entity)
เอนทิตีอ่อนแอ จะมีควำมสัมพันธ์กับอีกเอนทิตีหนึ่งที่มีควำมหมำยกับตัวมัน (Owner Entity)
และเรำเรียกควำมสัมพันธ์ระหว่ำงเอนทิตีอ่อนแอกับเอทิตีที่มีควำมหมำยกับตัวมันว่ำเป็นควำมสัมพันธ์
ชนิด Identifying Relationship
3.2 แบบ Partial Participation เป็นลักษณะที่ข้อมูลของเอนทิตีหนึ่ง มีควำมสัมพันธ์กับข้อมูลของ
อีกเอนทิตีหนึ่ง ตัวอย่ำง กำหนดว่ำจะมีอำจำรย์เพียงบำงคนเท่ำนั้นที่เป็นคณบดี จะสำมำรถแสดงดังรูปที 6.2
อำจำรย์ ควำมสัมพันธ์ “เป็นคณบดี” คณะวิชำ
จำกตัวอย่ำงข้ำงต้น จะเห็นได้ว่ำ ข้อมูลอำจำรย์เพียงบำงคนเท่ำนั้นจะไปสัมพันธ์
กับข้อมูลของคณะวิชำว่ำใครเป็นคณบดีในขณะนั้น
สัญลักษณ์ที่ใช้ในโมเดลแบบ E-R
เครื่องหมำยต่ำงๆ ที่ใช้ในกำรเขียนโมเดลแบบ E-R มีดังต่อไปนี้
กำรออกแบบฐำนข้อมูลโดยใช้โมเดลแบบ E-R
จะขอกล่ำวถึงขั้นตอนในกำรออกแบบฐำนข้อมูลโดยใช้โมเดลแบบ E-R ประกอบตัวอย่ำงไปตำม
ลับดับ ได้แก่
ขั้นตอนที่ 1 กำหนดเอนทิตี
เป็นกำรกำหนดเอนทิตีที่ควรจะมีอยู่ในฐำนข้อมูลหนึ่งๆ โดยพิจำรณำด้วยว่ำเอนทิตีใดเป็นเอนทิตี
อ่อนแอ เช่น
ฐำนข้อมูลวิทยำลัยแห่งหนึ่ง ประกอบด้วยเอนทิตีดังนี้
1. เอนทิตีอำจำรย์แสดงรำยละเอียดของอำจำรย์แต่ละคน
2. เอนทิตีแผนกวิชำ แสดงรำยละเอียดของแผนกวิชำ
3. เอนทิตีรำยวิชำ แสดงรำยละเอียดวิชำที่เปิดสอนในแผนกวิชำนั้นๆ
ขั้นตอนที่ 2 กำหนดควำมสัมพันธ์
เป็นกำรกำหนดประเภทของควำมสัมพันธ์ระหว่ำงเอนทิตีว่ำมีควำมสัมพันธ์กันอย่ำงไร
ตัวอย่ำงเช่น จำกเอนทิตีที่กำหนดในขั้นตอนที่ 1 จะสร้ำงควำมสัมพันธ์ระหว่ำงเอนทิตีได้ดังนี้
แสดงควำมสัมพันธ์แบบ 1:N ระหว่ำงเอนทิตีคณะวิชำกับอำจำรย์โดยข้อมูลของเอนทิตี
อำจำรย์มีควำมสัมพันธ์กับคณะวิชำ เป็นแบบ Total Participation
แสดงควำมสัมพันธ์แบบ 1:N ระหว่ำงเอนทิตีคณะวิชำกับอำจำรย์
แสดงควำมสัมพันธ์แบบ M:N ระหว่ำงเอนทิตีรำยวิชำกับอำจำรย์
แสดงควำมสัมพันธ์แบบ1:N ระหว่ำงเอนทิตีคณะวิชำกับรำยวิชำ
ขั้นตอนที่ 3 กำหนดคุณลักษณะของเอนทิตี
กำหนดว่ำแต่ละเอนทิตีมีรำยละเอียดอย่ำงไร ประกอบด้วยแอททริบิวต์อะไรบ้ำง แอททริบิวต์
ใดเป็นคีย์หลัก (Primary Key) แอททริบิวต์ใดแปลค่ำมำ(Deride Attribute) หรือเป็นแอททริบิวต์ผสม
(Composite Attribute)
ตัวอย่ำงเช่น พิจำรณำจำกเอนทิตีที่กำหนดในขั้นตอนที่ 1
1. เอนทิตีอำจำรย์ประกอบด้วย รหัสอำจำรย์ชื่อ วันที่เริ่มทำงำน เงินเดือน
2. เอนทิตีแผนกวิชำ ประกอบด้วย รหัสแผนก ชื่อแผนก ที่ทำกำร
3.เอนทิตี้รำยวิชำ ประกอบด้วย รหัสวิชำ ชื่อวิชำ จำนวนหน่วยกิต
ขั้นตอนที่ 4 กำหนดคีย์
กำหนดคีย์ของแต่ละเอนทิตีว่ำ จะใช้แอททริบิวต์ใดเป็นคีย์หลัก (Primary Key)ของเอนทิตี
นั้นๆ พิจำรณำจำกขั้นตอนที่ 3 จะได้ว่ำ
1. เอนทิตีอำจำรย์มีรหัสอำจำรย์เป็นคีย์หลัก
2. เอนทิตีแผนกวิชำ มีรหัสแผนกเป็นคีย์หลัก
3. เอนทิตีรำยวิชำ มีรหัสวิชำเป็นคีย์หลัก
ขั้นตอนที่ 5 นำข้อมูลจำกขั้นตอนที่ 1ถึง ขั้นตอนที่ 4 มำวำดโมเดลแบบ E-R
นำรำยละเอียดในขั้นตอนที่ 1 ถึง 4 มำพิจำรณำทบทวนแล้วเขียนเป็น E-R Model โดยใชสัญลักษณ์
ตัวอย่ำงเช่น
กำรสร้ำงฐำนข้อมูลเชิงสัมพันธ์จำกโมเดลแบบ E-R
1. กำรสร้ำงรีเลชั่นต่ำงๆจำกเอนทิตีใน E-R Model และสร้ำงควำมสัมพันธ์ของรีเลชั่นจำก
เอนทิตีกรณีที่ควำมสัมพันธ์ระหว่ำงเอนทิตีเป็นแบบ M : N มักจะสร้ำงรีเลชั่นขึ้นใหม่ เพื่อแปลง
ควำมสัมพันธ์ให้เป็นแบบ 1 : N
ดังนั้น ฐำนข้อมูลนี้จึงประกอบด้วยรีเลชั่น อำจำรย์แผนกวิชำ รำยวิชำ และกำรมอบหมำยรำยวิชำ
2. กำหนดคีย์ต่ำงๆ ได้แก่ กำรกำหนดคีย์หลัก (Primary Key) ของแต่ละรีเลชั่นรวมทั้งคีย์นอก
(Foreign Key) และข้อกำหนดต่ำงๆที่จะใช้อ้ำงอิงถึงคีย์หลักในอีกรีเลชั่นหนึ่ง ในกำรกำหนดรำยละเอียด
ของคีย์หลักและคีย์นอก ท ำโดยใช้ภำษำ SQLในกำรสร้ำงรีเลชั่น
ตัวอย่ำง ฐำนข้อมูลของวิทยำลัย จำกกำรออกแบบฐำนข้อมูลโดยใช้ E-RModel จะกำหนดคีย์
หลักและคีย์นอกของแต่ละรีเลชั่น ดังนี้
รีเลชั่นอำจำรย์มีแอททริบิวต์รหัสอำจำรย์เป็น Primary Key ควำมสัมพันธ์ระหว่ำงรีเลชั่นแผนวิชำกับรีเลชั่น
อำจำรย์เป็นแบบ 1: N ดังนั้น รีเลชั่นอำจำรย์จึงต้องมีแอททริบิวต์รหัสแผนกเพิ่มเข้ำไปเป็นคีย์นอก เพื่อใช้
ในกำรเชื่อมโยงข้อมูลกับรีเลชั่นแผนกวิชำ
ตัวอย่ำง กำรใช้ภำษำสำหรับนิยำมข้อมูลในกำรสร้ำงรีเลชันอำจำรย์ในที่นั้จะกำหนดให้
TEACHER หมำยถึง รีเลชั่นอำจำรย์
TEACH_NO หมำยถึง รหัสอำจำรย์
TEACH_NM หมำยถึง ชื่ออำจำรย์
TEACH_DT หมำยถึง วันที่เริ่มท ำงำน
SALARY หมำยถึง เงินเดือน
FACT_NO หมำยถึง รหัสแผนก (ที่เพิ่มเข้ำไปเพื่อใช้เป็นคีย์นอก)
และ FACULTY หมำยถึง รีเลชั่นแผนกวิชำ
CREATE TABLE TEACHER
(TEACH_NO CHAR(3) NOT NULL,
TEACH_NM CHAR(40),
TEACH_DT CHAR(6),
SALARY INTEGER,
FACT_NO CHAR(3),
PRIMARY KEY (TEACH_NO),
FOREIGN KEY (FACT_NO) REFERENCES FACULTY);
จะสำมำรถเขียนคำสั่งSQL ได้ดังนี้
 รีเลชั่นแผนกวิชำ มีแอททริบิวต์รหัสแผนกเป็น Primary Key
 รีเลชั่นรำยวิชำ มีแอททริบิวต์รหัสวิชำป็น Primary Key
 รีเลชั่นกำรมอบหมำยวิชำ เป็นรีเลชั่นที่เชื่อมควำมสัมพันธ์ระหว่ำงรีเลชั่นอำจำรย์และรีเลชั่นรำยวิชำ
Primary Key ของรีเลชั่นนี้ คือ Primary Key ของรีเลชั่นอำจำรย์และรีเลชั่นวิชำ ได้แก่ รหัสอำจำรย์
และรหัสวิชำ โดยมีรหัสอำจำรย์เป็นForeign Key ที่อ้ำงอิงถึงรหัสอำจำรย์ซึ่งเป็นคีย์หลักของรีเลชั่น
อำจำรย์และมีรหัสวิชำเป็น Foreign Key ที่อ้ำงอิงถึงรหัสวิชำ ซึ่งเป็นคีย์หลักของรีเลชั่นวิชำ
3. ก ำหนดแอททริบิวต์ในแต่ละรีเลชั่น จำกรำยละเอียดคุณลักษณะของเอนทิตี
4. น ำผลจำกข้อ 2 และ 3 มำพิจำรณำทบทวนข้อมูลในแต่ละรีเลชั่น เพื่อให้รีเลชั่นอยู่ใน
รูปแบบบรรทัดฐำนระดับที่ 3 เป็นอย่ำงน้อย
จำกที่กล่ำวมำในหน่วยนี้ จึงเห็นได้ว่ำโมเดลแบบ E-R จะเป็นกำรสร้ำงโมเดลจำลอง
ควำมสัมพันธ์ของข้อมูล โดยนำแนวคิดของกำรออกแบบฐำนข้อมูลมำประกอบกำรพิจำรณำเพื่อให้
ได้ฐำนข้อมูลที่เหมำะสมนั่นเอง

More Related Content

What's hot

ทฤษฎีการออกแบบเว็บไซต์
ทฤษฎีการออกแบบเว็บไซต์ทฤษฎีการออกแบบเว็บไซต์
ทฤษฎีการออกแบบเว็บไซต์Bank Sangsudta
 
แบบสอบถามความคิดเห็นสำหรับผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหาเกี่ยวกับ
แบบสอบถามความคิดเห็นสำหรับผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหาเกี่ยวกับแบบสอบถามความคิดเห็นสำหรับผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหาเกี่ยวกับ
แบบสอบถามความคิดเห็นสำหรับผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหาเกี่ยวกับบุญรักษา ของฉัน
 
การจัดวางตัวอักษร (Typography)
การจัดวางตัวอักษร (Typography)การจัดวางตัวอักษร (Typography)
การจัดวางตัวอักษร (Typography)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การนำหลักสูตรไปใช้
การนำหลักสูตรไปใช้การนำหลักสูตรไปใช้
การนำหลักสูตรไปใช้DuangdenSandee
 
โครงงานเกมหมูคิดเลขเร็ว
โครงงานเกมหมูคิดเลขเร็วโครงงานเกมหมูคิดเลขเร็ว
โครงงานเกมหมูคิดเลขเร็วAdithun Sukprasert
 
ส่วนจัดการสื่อประสานผู้ใช้(User interface-management)
ส่วนจัดการสื่อประสานผู้ใช้(User interface-management)ส่วนจัดการสื่อประสานผู้ใช้(User interface-management)
ส่วนจัดการสื่อประสานผู้ใช้(User interface-management)tumetr
 
อินโฟกราฟิก (Infographic) และหลักการออกแบบ
อินโฟกราฟิก (Infographic) และหลักการออกแบบอินโฟกราฟิก (Infographic) และหลักการออกแบบ
อินโฟกราฟิก (Infographic) และหลักการออกแบบDr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
รายละเอียดโครงการ(ค่ายแสงเทียน 24)
รายละเอียดโครงการ(ค่ายแสงเทียน 24)รายละเอียดโครงการ(ค่ายแสงเทียน 24)
รายละเอียดโครงการ(ค่ายแสงเทียน 24)mahaoath พระมหาโอ๊ท
 
หลักการออกแบบ Principle of Design
หลักการออกแบบ Principle of Design หลักการออกแบบ Principle of Design
หลักการออกแบบ Principle of Design Yaowaluck Promdee
 
หลักการออกแบบโปสเตอร์
หลักการออกแบบโปสเตอร์หลักการออกแบบโปสเตอร์
หลักการออกแบบโปสเตอร์Nutthawit Srisuriyachai
 
การผลิตสื่อดิจิทัล (DIGITAL MEDIA )
การผลิตสื่อดิจิทัล (DIGITAL MEDIA )การผลิตสื่อดิจิทัล (DIGITAL MEDIA )
การผลิตสื่อดิจิทัล (DIGITAL MEDIA )Ananta Nana
 
ข้อมูลและการจัดการข้อมูล
ข้อมูลและการจัดการข้อมูลข้อมูลและการจัดการข้อมูล
ข้อมูลและการจัดการข้อมูลDr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
โครงงานทายใจเลขอะไรเอ่ย
โครงงานทายใจเลขอะไรเอ่ยโครงงานทายใจเลขอะไรเอ่ย
โครงงานทายใจเลขอะไรเอ่ยJirathorn Buenglee
 
1 การเขียนแบบเบื้อนต้น
1 การเขียนแบบเบื้อนต้น1 การเขียนแบบเบื้อนต้น
1 การเขียนแบบเบื้อนต้นTolaha Diri
 
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศสำหรับจัดเก็บและวิเคราะห์ข้อมูล (Information Technolog...
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศสำหรับจัดเก็บและวิเคราะห์ข้อมูล (Information Technolog...การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศสำหรับจัดเก็บและวิเคราะห์ข้อมูล (Information Technolog...
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศสำหรับจัดเก็บและวิเคราะห์ข้อมูล (Information Technolog...Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...
เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...
เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การเขียนบทประกอบภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Script Writing for Motion Graphic)
การเขียนบทประกอบภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Script Writing for Motion Graphic)การเขียนบทประกอบภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Script Writing for Motion Graphic)
การเขียนบทประกอบภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Script Writing for Motion Graphic)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
คู่มือ SketchUp
คู่มือ SketchUpคู่มือ SketchUp
คู่มือ SketchUpPiyaboon Nilkaew
 
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์siwaporn_jo
 
ความหมายของผังงาน
ความหมายของผังงานความหมายของผังงาน
ความหมายของผังงาน9inglobin
 

What's hot (20)

ทฤษฎีการออกแบบเว็บไซต์
ทฤษฎีการออกแบบเว็บไซต์ทฤษฎีการออกแบบเว็บไซต์
ทฤษฎีการออกแบบเว็บไซต์
 
แบบสอบถามความคิดเห็นสำหรับผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหาเกี่ยวกับ
แบบสอบถามความคิดเห็นสำหรับผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหาเกี่ยวกับแบบสอบถามความคิดเห็นสำหรับผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหาเกี่ยวกับ
แบบสอบถามความคิดเห็นสำหรับผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหาเกี่ยวกับ
 
การจัดวางตัวอักษร (Typography)
การจัดวางตัวอักษร (Typography)การจัดวางตัวอักษร (Typography)
การจัดวางตัวอักษร (Typography)
 
การนำหลักสูตรไปใช้
การนำหลักสูตรไปใช้การนำหลักสูตรไปใช้
การนำหลักสูตรไปใช้
 
โครงงานเกมหมูคิดเลขเร็ว
โครงงานเกมหมูคิดเลขเร็วโครงงานเกมหมูคิดเลขเร็ว
โครงงานเกมหมูคิดเลขเร็ว
 
ส่วนจัดการสื่อประสานผู้ใช้(User interface-management)
ส่วนจัดการสื่อประสานผู้ใช้(User interface-management)ส่วนจัดการสื่อประสานผู้ใช้(User interface-management)
ส่วนจัดการสื่อประสานผู้ใช้(User interface-management)
 
อินโฟกราฟิก (Infographic) และหลักการออกแบบ
อินโฟกราฟิก (Infographic) และหลักการออกแบบอินโฟกราฟิก (Infographic) และหลักการออกแบบ
อินโฟกราฟิก (Infographic) และหลักการออกแบบ
 
รายละเอียดโครงการ(ค่ายแสงเทียน 24)
รายละเอียดโครงการ(ค่ายแสงเทียน 24)รายละเอียดโครงการ(ค่ายแสงเทียน 24)
รายละเอียดโครงการ(ค่ายแสงเทียน 24)
 
หลักการออกแบบ Principle of Design
หลักการออกแบบ Principle of Design หลักการออกแบบ Principle of Design
หลักการออกแบบ Principle of Design
 
หลักการออกแบบโปสเตอร์
หลักการออกแบบโปสเตอร์หลักการออกแบบโปสเตอร์
หลักการออกแบบโปสเตอร์
 
การผลิตสื่อดิจิทัล (DIGITAL MEDIA )
การผลิตสื่อดิจิทัล (DIGITAL MEDIA )การผลิตสื่อดิจิทัล (DIGITAL MEDIA )
การผลิตสื่อดิจิทัล (DIGITAL MEDIA )
 
ข้อมูลและการจัดการข้อมูล
ข้อมูลและการจัดการข้อมูลข้อมูลและการจัดการข้อมูล
ข้อมูลและการจัดการข้อมูล
 
โครงงานทายใจเลขอะไรเอ่ย
โครงงานทายใจเลขอะไรเอ่ยโครงงานทายใจเลขอะไรเอ่ย
โครงงานทายใจเลขอะไรเอ่ย
 
1 การเขียนแบบเบื้อนต้น
1 การเขียนแบบเบื้อนต้น1 การเขียนแบบเบื้อนต้น
1 การเขียนแบบเบื้อนต้น
 
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศสำหรับจัดเก็บและวิเคราะห์ข้อมูล (Information Technolog...
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศสำหรับจัดเก็บและวิเคราะห์ข้อมูล (Information Technolog...การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศสำหรับจัดเก็บและวิเคราะห์ข้อมูล (Information Technolog...
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศสำหรับจัดเก็บและวิเคราะห์ข้อมูล (Information Technolog...
 
เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...
เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...
เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...
 
การเขียนบทประกอบภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Script Writing for Motion Graphic)
การเขียนบทประกอบภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Script Writing for Motion Graphic)การเขียนบทประกอบภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Script Writing for Motion Graphic)
การเขียนบทประกอบภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Script Writing for Motion Graphic)
 
คู่มือ SketchUp
คู่มือ SketchUpคู่มือ SketchUp
คู่มือ SketchUp
 
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
 
ความหมายของผังงาน
ความหมายของผังงานความหมายของผังงาน
ความหมายของผังงาน
 

Similar to บทที่ 6

การแก้ปัญหาด้วย กระบวนการเทคโนโลยี
การแก้ปัญหาด้วย กระบวนการเทคโนโลยีการแก้ปัญหาด้วย กระบวนการเทคโนโลยี
การแก้ปัญหาด้วย กระบวนการเทคโนโลยีkritsana chumnak
 
การจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลOrapan Chamnan
 
หน่วยที่ 3 ระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
หน่วยที่ 3 ระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์หน่วยที่ 3 ระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
หน่วยที่ 3 ระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์Kochakorn Noiket
 
นาย ทศพล จอมใจ
นาย  ทศพล    จอมใจนาย  ทศพล    จอมใจ
นาย ทศพล จอมใจtaltan
 
นาย ทศพล จอมใจ
นาย  ทศพล    จอมใจนาย  ทศพล    จอมใจ
นาย ทศพล จอมใจtaltan
 
นาย ทศพล จอมใจ
นาย  ทศพล    จอมใจนาย  ทศพล    จอมใจ
นาย ทศพล จอมใจtaltan
 
นาย ทศพล จอมใจ
นาย  ทศพล    จอมใจนาย  ทศพล    จอมใจ
นาย ทศพล จอมใจtaltan
 
นาย ทศพล จอมใจ
นาย  ทศพล    จอมใจนาย  ทศพล    จอมใจ
นาย ทศพล จอมใจtaltan
 
06 แบบจำลองฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
06 แบบจำลองฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์06 แบบจำลองฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
06 แบบจำลองฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์Nattipong Siangyen
 
Chapter8การออกแบบข้อมูล
Chapter8การออกแบบข้อมูลChapter8การออกแบบข้อมูล
Chapter8การออกแบบข้อมูลsaisuneesaibit
 
การเขียนโปรแกรมเบื้องต้น
การเขียนโปรแกรมเบื้องต้นการเขียนโปรแกรมเบื้องต้น
การเขียนโปรแกรมเบื้องต้นเสย ๆๆๆๆ
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3nunzaza
 
2. ใบความรู้ที่ 1
2. ใบความรู้ที่ 12. ใบความรู้ที่ 1
2. ใบความรู้ที่ 1ครูเพชร
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูลความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูลkruthanyaporn
 
Database management
Database managementDatabase management
Database managementPookngern
 
Database management
Database managementDatabase management
Database managementPookngern
 

Similar to บทที่ 6 (20)

การแก้ปัญหาด้วย กระบวนการเทคโนโลยี
การแก้ปัญหาด้วย กระบวนการเทคโนโลยีการแก้ปัญหาด้วย กระบวนการเทคโนโลยี
การแก้ปัญหาด้วย กระบวนการเทคโนโลยี
 
การจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูล
 
หน่วยที่ 3 ระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
หน่วยที่ 3 ระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์หน่วยที่ 3 ระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
หน่วยที่ 3 ระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
 
นาย ทศพล จอมใจ
นาย  ทศพล    จอมใจนาย  ทศพล    จอมใจ
นาย ทศพล จอมใจ
 
นาย ทศพล จอมใจ
นาย  ทศพล    จอมใจนาย  ทศพล    จอมใจ
นาย ทศพล จอมใจ
 
นาย ทศพล จอมใจ
นาย  ทศพล    จอมใจนาย  ทศพล    จอมใจ
นาย ทศพล จอมใจ
 
นาย ทศพล จอมใจ
นาย  ทศพล    จอมใจนาย  ทศพล    จอมใจ
นาย ทศพล จอมใจ
 
นาย ทศพล จอมใจ
นาย  ทศพล    จอมใจนาย  ทศพล    จอมใจ
นาย ทศพล จอมใจ
 
06 แบบจำลองฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
06 แบบจำลองฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์06 แบบจำลองฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
06 แบบจำลองฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
 
Unit 3 er model
Unit 3 er modelUnit 3 er model
Unit 3 er model
 
Entity relationship model
Entity relationship modelEntity relationship model
Entity relationship model
 
Chapter8การออกแบบข้อมูล
Chapter8การออกแบบข้อมูลChapter8การออกแบบข้อมูล
Chapter8การออกแบบข้อมูล
 
การเขียนโปรแกรมเบื้องต้น
การเขียนโปรแกรมเบื้องต้นการเขียนโปรแกรมเบื้องต้น
การเขียนโปรแกรมเบื้องต้น
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
งานคอม#2
งานคอม#2งานคอม#2
งานคอม#2
 
2. ใบความรู้ที่ 1
2. ใบความรู้ที่ 12. ใบความรู้ที่ 1
2. ใบความรู้ที่ 1
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูลความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
 
Database management
Database managementDatabase management
Database management
 
Database management
Database managementDatabase management
Database management
 
งาน3
งาน3งาน3
งาน3
 

More from nunzaza

บทที่ 10
บทที่ 10บทที่ 10
บทที่ 10nunzaza
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8nunzaza
 
บทที่7
บทที่7บทที่7
บทที่7nunzaza
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5nunzaza
 
บทที่ 4
บทที่  4บทที่  4
บทที่ 4nunzaza
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2nunzaza
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1nunzaza
 

More from nunzaza (7)

บทที่ 10
บทที่ 10บทที่ 10
บทที่ 10
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
บทที่7
บทที่7บทที่7
บทที่7
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
บทที่ 4
บทที่  4บทที่  4
บทที่ 4
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 

บทที่ 6

  • 2. โมเดลจำลองควำมสัมพันธ์ระหว่ำงข้อมูล (Entity-Relationship Model : E-R Model) เป็น อีกแนวคิดที่ใช้เครื่องมืออย่ำงหนึ่งในกำรออกแบบฐำนข้อมูล ซึ่งได้รับควำมนิยมเช่นเดียวกับโมเดลเชิง สัมพันธ์ ในหน่วยนี้จะกล่ำวถึงแนวคิดและขั้นตอนในกำรเขียนโมเดลแบบ E-R แนวคิดเกี่ยวกับโมเดลแบบ E-R กำรสร้ำงโมเดลแบบ E-R จะมีแนวคิดที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ เรื่องของเอนทิตี คุณลักษณะ ควำมสัมพันธ์ระหว่ำงเอนทิตี รวมทั้งสัญลักษณ์ในโมเดลแบบ E-R
  • 3. 1. เอนทิตี ในกำรสร้ำงโมเดลแบบ E-R จะต้องกำหนดว่ำในระบบที่ออกนั้นๆ จะประกอบด้วยเอนทิตี อะไรบ้ำง เช่น ในระบบฐำนข้อมูลงำนทะเบียนนักศึกษำจะประกอบด้วยเอนทิตีนักศึกษำเอนทิตีกำร ลงทะเบียน เอนทิตีวิชำ และเอนทิตีอำจำรย์เป็นต้น 2. คุณลักษณะของเอนทิตี เป็นกำรกำหนดแอททริบิวต์ต่ำงๆ ในแต่ละเอนทิตีนั่นเอง นอกจำกนี้ยังอำจประกอบด้วย รำยละเอียด เช่น แอททริบิวต์ใดเป็นคีย์หรือเป็นข้อมูลที่แปลค่ำมำ เป็นต้น 3. ควำมสัมพันธ์ระหว่ำงเอนทิตี เป็นกำรระบุว่ำเอนทิตีต่ำงๆ มีควำมสัมพันธ์กันอย่ำงไร ลักษณะควำมสัมพันธ์อำจเป็นแบบหนึ่ง ต่อหนึ่ง หนึ่งต่อกลุ่ม หรือแบบกลุ่มต่อกลุ่ม โดยคำนึงถึงกำรที่ข้อมูลทุกข้อมูลหรือเพียงบำงข้อมูลของ เอนทิตีหนึ่ง มีควำมสัมพันธ์กับข้อมูลของเอนทิตีหนึ่ง ซึ่งพอจะกล่ำวให้ละเอียดลงไปได้ดังนี้
  • 4. 3.1 แบบ Total Participation เป็นลักษณะที่ข้อมูลทุกข้อมูลของเอนทิตีหนึ่งมีควำมสัมพธ์กับ ข้อมูลของอีกเอนทิตีหนึ่ง ตัวอย่ำงเช่น ถ้ำกำหนดว่ำอำจำรย์แต่ละคนจะสังกัดคณะวิชำใด คณะวิชำหนึ่ง เท่ำนั้น จะสำมำรถแสดงดัง รูปที่ 6.1 อำจำรย์ควำมสัมพันธ์ “ทำงำน” คณะวิชำ จำกตัวอย่ำงข้ำงต้น จะเห็นได้ว่ำ ถ้ำไม่มีเอนทิตีอำจำรย์ ก็ย่อมจะไม่มีเอนทิตีคณะวิชำ ใน ลักษณะเช่นนี้เรำเรียกเอนทิตีคณะวิชำว่ำเป็น เอนทิตีชนิดอ่อนแอ (Weak Entity) เอนทิตีอ่อนแอ จะมีควำมสัมพันธ์กับอีกเอนทิตีหนึ่งที่มีควำมหมำยกับตัวมัน (Owner Entity) และเรำเรียกควำมสัมพันธ์ระหว่ำงเอนทิตีอ่อนแอกับเอทิตีที่มีควำมหมำยกับตัวมันว่ำเป็นควำมสัมพันธ์ ชนิด Identifying Relationship
  • 5. 3.2 แบบ Partial Participation เป็นลักษณะที่ข้อมูลของเอนทิตีหนึ่ง มีควำมสัมพันธ์กับข้อมูลของ อีกเอนทิตีหนึ่ง ตัวอย่ำง กำหนดว่ำจะมีอำจำรย์เพียงบำงคนเท่ำนั้นที่เป็นคณบดี จะสำมำรถแสดงดังรูปที 6.2 อำจำรย์ ควำมสัมพันธ์ “เป็นคณบดี” คณะวิชำ จำกตัวอย่ำงข้ำงต้น จะเห็นได้ว่ำ ข้อมูลอำจำรย์เพียงบำงคนเท่ำนั้นจะไปสัมพันธ์ กับข้อมูลของคณะวิชำว่ำใครเป็นคณบดีในขณะนั้น
  • 7. กำรออกแบบฐำนข้อมูลโดยใช้โมเดลแบบ E-R จะขอกล่ำวถึงขั้นตอนในกำรออกแบบฐำนข้อมูลโดยใช้โมเดลแบบ E-R ประกอบตัวอย่ำงไปตำม ลับดับ ได้แก่ ขั้นตอนที่ 1 กำหนดเอนทิตี เป็นกำรกำหนดเอนทิตีที่ควรจะมีอยู่ในฐำนข้อมูลหนึ่งๆ โดยพิจำรณำด้วยว่ำเอนทิตีใดเป็นเอนทิตี อ่อนแอ เช่น ฐำนข้อมูลวิทยำลัยแห่งหนึ่ง ประกอบด้วยเอนทิตีดังนี้ 1. เอนทิตีอำจำรย์แสดงรำยละเอียดของอำจำรย์แต่ละคน 2. เอนทิตีแผนกวิชำ แสดงรำยละเอียดของแผนกวิชำ 3. เอนทิตีรำยวิชำ แสดงรำยละเอียดวิชำที่เปิดสอนในแผนกวิชำนั้นๆ
  • 8. ขั้นตอนที่ 2 กำหนดควำมสัมพันธ์ เป็นกำรกำหนดประเภทของควำมสัมพันธ์ระหว่ำงเอนทิตีว่ำมีควำมสัมพันธ์กันอย่ำงไร ตัวอย่ำงเช่น จำกเอนทิตีที่กำหนดในขั้นตอนที่ 1 จะสร้ำงควำมสัมพันธ์ระหว่ำงเอนทิตีได้ดังนี้ แสดงควำมสัมพันธ์แบบ 1:N ระหว่ำงเอนทิตีคณะวิชำกับอำจำรย์โดยข้อมูลของเอนทิตี อำจำรย์มีควำมสัมพันธ์กับคณะวิชำ เป็นแบบ Total Participation แสดงควำมสัมพันธ์แบบ 1:N ระหว่ำงเอนทิตีคณะวิชำกับอำจำรย์ แสดงควำมสัมพันธ์แบบ M:N ระหว่ำงเอนทิตีรำยวิชำกับอำจำรย์ แสดงควำมสัมพันธ์แบบ1:N ระหว่ำงเอนทิตีคณะวิชำกับรำยวิชำ
  • 9. ขั้นตอนที่ 3 กำหนดคุณลักษณะของเอนทิตี กำหนดว่ำแต่ละเอนทิตีมีรำยละเอียดอย่ำงไร ประกอบด้วยแอททริบิวต์อะไรบ้ำง แอททริบิวต์ ใดเป็นคีย์หลัก (Primary Key) แอททริบิวต์ใดแปลค่ำมำ(Deride Attribute) หรือเป็นแอททริบิวต์ผสม (Composite Attribute) ตัวอย่ำงเช่น พิจำรณำจำกเอนทิตีที่กำหนดในขั้นตอนที่ 1 1. เอนทิตีอำจำรย์ประกอบด้วย รหัสอำจำรย์ชื่อ วันที่เริ่มทำงำน เงินเดือน
  • 10. 2. เอนทิตีแผนกวิชำ ประกอบด้วย รหัสแผนก ชื่อแผนก ที่ทำกำร 3.เอนทิตี้รำยวิชำ ประกอบด้วย รหัสวิชำ ชื่อวิชำ จำนวนหน่วยกิต
  • 11. ขั้นตอนที่ 4 กำหนดคีย์ กำหนดคีย์ของแต่ละเอนทิตีว่ำ จะใช้แอททริบิวต์ใดเป็นคีย์หลัก (Primary Key)ของเอนทิตี นั้นๆ พิจำรณำจำกขั้นตอนที่ 3 จะได้ว่ำ 1. เอนทิตีอำจำรย์มีรหัสอำจำรย์เป็นคีย์หลัก 2. เอนทิตีแผนกวิชำ มีรหัสแผนกเป็นคีย์หลัก 3. เอนทิตีรำยวิชำ มีรหัสวิชำเป็นคีย์หลัก
  • 12. ขั้นตอนที่ 5 นำข้อมูลจำกขั้นตอนที่ 1ถึง ขั้นตอนที่ 4 มำวำดโมเดลแบบ E-R นำรำยละเอียดในขั้นตอนที่ 1 ถึง 4 มำพิจำรณำทบทวนแล้วเขียนเป็น E-R Model โดยใชสัญลักษณ์ ตัวอย่ำงเช่น
  • 13. กำรสร้ำงฐำนข้อมูลเชิงสัมพันธ์จำกโมเดลแบบ E-R 1. กำรสร้ำงรีเลชั่นต่ำงๆจำกเอนทิตีใน E-R Model และสร้ำงควำมสัมพันธ์ของรีเลชั่นจำก เอนทิตีกรณีที่ควำมสัมพันธ์ระหว่ำงเอนทิตีเป็นแบบ M : N มักจะสร้ำงรีเลชั่นขึ้นใหม่ เพื่อแปลง ควำมสัมพันธ์ให้เป็นแบบ 1 : N ดังนั้น ฐำนข้อมูลนี้จึงประกอบด้วยรีเลชั่น อำจำรย์แผนกวิชำ รำยวิชำ และกำรมอบหมำยรำยวิชำ
  • 14. 2. กำหนดคีย์ต่ำงๆ ได้แก่ กำรกำหนดคีย์หลัก (Primary Key) ของแต่ละรีเลชั่นรวมทั้งคีย์นอก (Foreign Key) และข้อกำหนดต่ำงๆที่จะใช้อ้ำงอิงถึงคีย์หลักในอีกรีเลชั่นหนึ่ง ในกำรกำหนดรำยละเอียด ของคีย์หลักและคีย์นอก ท ำโดยใช้ภำษำ SQLในกำรสร้ำงรีเลชั่น ตัวอย่ำง ฐำนข้อมูลของวิทยำลัย จำกกำรออกแบบฐำนข้อมูลโดยใช้ E-RModel จะกำหนดคีย์ หลักและคีย์นอกของแต่ละรีเลชั่น ดังนี้ รีเลชั่นอำจำรย์มีแอททริบิวต์รหัสอำจำรย์เป็น Primary Key ควำมสัมพันธ์ระหว่ำงรีเลชั่นแผนวิชำกับรีเลชั่น อำจำรย์เป็นแบบ 1: N ดังนั้น รีเลชั่นอำจำรย์จึงต้องมีแอททริบิวต์รหัสแผนกเพิ่มเข้ำไปเป็นคีย์นอก เพื่อใช้ ในกำรเชื่อมโยงข้อมูลกับรีเลชั่นแผนกวิชำ ตัวอย่ำง กำรใช้ภำษำสำหรับนิยำมข้อมูลในกำรสร้ำงรีเลชันอำจำรย์ในที่นั้จะกำหนดให้ TEACHER หมำยถึง รีเลชั่นอำจำรย์ TEACH_NO หมำยถึง รหัสอำจำรย์ TEACH_NM หมำยถึง ชื่ออำจำรย์ TEACH_DT หมำยถึง วันที่เริ่มท ำงำน SALARY หมำยถึง เงินเดือน FACT_NO หมำยถึง รหัสแผนก (ที่เพิ่มเข้ำไปเพื่อใช้เป็นคีย์นอก) และ FACULTY หมำยถึง รีเลชั่นแผนกวิชำ
  • 15. CREATE TABLE TEACHER (TEACH_NO CHAR(3) NOT NULL, TEACH_NM CHAR(40), TEACH_DT CHAR(6), SALARY INTEGER, FACT_NO CHAR(3), PRIMARY KEY (TEACH_NO), FOREIGN KEY (FACT_NO) REFERENCES FACULTY); จะสำมำรถเขียนคำสั่งSQL ได้ดังนี้  รีเลชั่นแผนกวิชำ มีแอททริบิวต์รหัสแผนกเป็น Primary Key  รีเลชั่นรำยวิชำ มีแอททริบิวต์รหัสวิชำป็น Primary Key  รีเลชั่นกำรมอบหมำยวิชำ เป็นรีเลชั่นที่เชื่อมควำมสัมพันธ์ระหว่ำงรีเลชั่นอำจำรย์และรีเลชั่นรำยวิชำ Primary Key ของรีเลชั่นนี้ คือ Primary Key ของรีเลชั่นอำจำรย์และรีเลชั่นวิชำ ได้แก่ รหัสอำจำรย์ และรหัสวิชำ โดยมีรหัสอำจำรย์เป็นForeign Key ที่อ้ำงอิงถึงรหัสอำจำรย์ซึ่งเป็นคีย์หลักของรีเลชั่น อำจำรย์และมีรหัสวิชำเป็น Foreign Key ที่อ้ำงอิงถึงรหัสวิชำ ซึ่งเป็นคีย์หลักของรีเลชั่นวิชำ
  • 16. 3. ก ำหนดแอททริบิวต์ในแต่ละรีเลชั่น จำกรำยละเอียดคุณลักษณะของเอนทิตี 4. น ำผลจำกข้อ 2 และ 3 มำพิจำรณำทบทวนข้อมูลในแต่ละรีเลชั่น เพื่อให้รีเลชั่นอยู่ใน รูปแบบบรรทัดฐำนระดับที่ 3 เป็นอย่ำงน้อย จำกที่กล่ำวมำในหน่วยนี้ จึงเห็นได้ว่ำโมเดลแบบ E-R จะเป็นกำรสร้ำงโมเดลจำลอง ควำมสัมพันธ์ของข้อมูล โดยนำแนวคิดของกำรออกแบบฐำนข้อมูลมำประกอบกำรพิจำรณำเพื่อให้ ได้ฐำนข้อมูลที่เหมำะสมนั่นเอง