SlideShare a Scribd company logo
1 of 7
Download to read offline
ใบความรู้ ที่ 4
รหัสวิชา ง32202 ชื่ อวิชา การสร้ างฐานข้ อมูลเบืองต้ น
้
ระดับชั้ นมัธยมศึกษาปี ที่ 5
หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 4 เรื่อง การสร้ างตาราง (Table) ในฐานข้ อมูล
จํานวน 6 คาบเรียน
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

การสร้ างตารางในฐานข้ อมูล (Table)

รายละเอียดของแท็บคําสั่งสร้าง (Create) ในแถบเครื่ องมือ Ribbon มีส่วนประกอบของ คําสั่งหลัก 4
กลุ่มคําสั่ง ดังนี้
1. กลุ่มคําสั่งตาราง (Tables) ใช้ในการสร้างฐานข้อมูลในรู ปแบบตาราง
2. กลุ่มคําสั่งฟอร์ ม (Forms) ใช้ในการสร้างฐานข้อมูลในรู ปแบบฟอร์ ม
3. กลุ่มคําสังรายงาน (Reports) ใช้ในการสร้างรายงาน
่
4. กลุ่มคําสั่งอื่น ๆ (Other) ใช้ในการคิวรี ขอมูล และการสร้างแมโคร (Macros)
้
กล่มคําสั่ง 4 กล่มของแท็บสร้าง

1. กลุ่มคําสั่ งตาราง (Tables) มีคาสั่งอยู่ 4 คําสั่ง ดังนี้
ํ
1. ตาราง (Table) ใช้ในการสร้างตารางใหม่
2. ชุดคําสั่งแม่แบบตาราง (Table Templates) ใช้ในการสร้างตารางใหม่จากแม่แบบ
3. ชุดคําสั่งรายการ SharePoint (SharePoint Lists) เมื่อต้องการใช้ขอมูลร่ วมกับผูใช้ คนอื่น
้
้
4. ออกแบบตาราง (Table Design) ใช้ในการสร้างตารางจากมุมมองการออกแบบ
กลุ่มคําสั่งตาราง ประกอบด้วย 4 คําสั่ง
ที่ใช้ในการสร้างตารางฐานข้อมูล
ตัวอย่ างตารางทีใช้ ประกอบการเรียนการสอน
่
โดยสรุ ปตารางที่ได้ออกแบบในการเก็บข้อมูล
นักศึกษาลงทะเบียนเรี ยน ดังนี้
1. ตารางข้อมูลนักศึกษา ประกอบด้วยฟิ ลด์ต่อไปนี้ รหัสนักศึกษา (StudentID) ชื่อ นามสกุล ที่อยู่
เมือง จังหวัด รหัสไปรษณี ย ์ วุฒิการศึกษา อาชีพ หมายเลขโทรศัพท์ เป็ นต้น
2. ตารางบัตรลงทะเบียน ประกอบด้วยฟิ ลด์ต่อไปนี้ รหัสบัตรลงทะเบียน (registerID) รหัส นักศึกษา
(StudentID) วันที่ลงทะเบียน (dateRegister) เป็ นต้น
3. ตารางรายการลงทะเบียน ประกอบด้วยฟิ ลด์ต่อไปนี้ รหัสบัตรลงทะเบียน (registerID) รหัสวิชา
(subjectID) รหัสระยะเวลาที่เรี ยน (periodID) เป็ นต้น
4. ตารางวิชา ประกอบด้วยฟิ ลด์ต่อไปนี้ รหัสวิชา (subjectID) รหัสแผนกวิชา (divisionID) ชื่อวิชา
(subjectName) ค่าลงทะเบียน (price) เป็ นต้น
5. ตารางแผนกวิชา ประกอบด้วย ฟิ ลด์ ต่อไปนี้ รหัสแผนกวิชา (divisionID) ชื่อแผนกวิชา
(divisionName) เป็ นต้น
6. ตารางครู ผสอน ประกอบด้วยฟิ ลด์ต่อไปนี้ รหัสระยะเวลาที่เรี ยน (periodID) ชื่อรอบระยะเวลา ที่
ู้
เรี ยน (periodName) ชื่อครู ผสอน (teacherfirstName) นามสกุลครู ผสอน (teacherlastName) เป็ นต้น
ู้
ู้
2. วิธีการสร้ างตาราง (Table)
2.1 เริ่มสร้ างตารางใหม่ ที่แท็บสร้างกลุ่มคําสั่งตาราง คลิกปุ่ มตาราง จะได้ตารางชื่อ Table1 ที่มา
พร้อมกับฟิ ลด์ ID

หน้าต่างของตารางข้อมูลใหม่
2.2 การเปลียนชื่ อฟิ ลด์ หรือ ชื่ อเขตข้ อมูล หรือ คอลัมน์
่
คลิกขวาที่ชื่อคอลัมน์ จะเปิ ดเมนูลด ให้เลือกรายการเปลี่ยนชื่อคอลัมน์ โดยมีหลักการตั้งชื่อ ดังนี้
ั
1. สามารถใช้ชื่อยาวได้ถึง 64 ตัวอักษร
2. ชื่อต้องไม่ข้ ึนต้นด้วยช่องว่าง และไม่ควรมีช่องว่างระหว่างชื่อ
3. ควรใช้ชื่อที่เข้าใจได้ง่าย ชัดเจน และบ่งบอกถึงวัตถุประสงค์ของเขตข้อมูล
4. อาจเป็ นตัวเลขและอักขระพิเศษประกอบด้วยก็ได้ ยกเว้นมหัพภาค (,) อัศเจรี ย ์ (!)
อัญประกาศคู่ (“ ”) และวงเล็บ [ ]
5. ชื่อเขตข้อมูลต้องไม่ซ้ ากันในตารางเดียวกัน
ํ
6. ต้องไม่ซ้ ากับชื่อของคุณสมบัติหรื อองค์ประกอบอื่นๆ (คําสงวน) ที่ใช้ในโปรแกรม
ํ
ส่ วนประกอบของฐานข้อมูลใน
โปรแกรม Microsoft Access 2007
2.3 การพิมพ์ ข้อมูล เพิมเขตข้ อมูลใหม่ และการกําหนดชนิดข้ อมูล
่
ให้ดบเบิลคลิกที่ฟิลด์เพื่อเพิ่มเขตข้อมูลใหม่ แล้วตั้งชื่อฟิ ลด์ และให้คลิกที่ เซลล์แล้วพิมพ์ขอมูลลง
ั
้
ั
ไปในเซลล์ แต่ตองกําหนดชนิดและรู ปแบบให้กบข้อมูลเสี ยก่อน โดยใช้ แท็บคําสังตามบริ บท คือ แถบ
้
่
เครื่ องมือตาราง แท็บแผ่นข้อมูล
แถบเครื่ องมือตาราง
แท็บแผ่นข้อมูล

การกําหนดชนิดของข้อมูล

การกําหนดรู ปแบบของข้อมูล

รายละเอียดของชนิดข้ อมูล (Data Type)
ชนิดข้ อมูล

Data Type

ใช้ สําหรับ
ข้อความหรื อตัวเลขที่ไม่ใช้ในการ
คํานวณ

ข้อความ

Text

บันทึก

Memo

บันทึกข้อความ

ตัวเลข

Number

ตัวเลขที่ใช้ในการคํานวณ

วันที่ / เวลา
สกุลเงิน
หมายเลขอัตโนมัติ

Date / Time
Currency
AutoNumber

ขนาด
สูงสุด 255 ไบต์ (ตัวอักษร)
สูงสุด 65,535 ไบต์ (ตัวอักษร)
่ ั
1,2,4 หรื อ 8 ไบต์ (ขึ้ นอยูกบ
ชนิดของ ตัวเลข)
8 ไบต์
8 ไบต์
4 ไบต์

วันเดือนปี และเวลา
สกุลเงินและตัวเลขจํานวนเงิน
เลขลําดับอัตโนมัติ (เพิ่มทีละ 1)
ค่าใดค่าหนึ่งของ Yes / No, True/False
ใช่ / ไม่ใช่
Yes / No
1 บิต
หรื อ On / Off
วัตถุอื่น เช่น แผ่นงาน Excel, เอกสาร
วัตถุ OLE
OLE Object
สูงสุด 1 กิกะไบต์
Word, รู ปภาพ, ไฟล์เสี ยง และอื่นๆ
่
การเชื่อมโยงหลายมิติ
Hyperlink
ที่อยูการเชื่อมโยงหลายมิติ เช่น เว็บเพจ
2,048 ตัวอักษร
สร้างเขตข้อมูลการ ค้นหา Lookup Wizard เขตข้อมูลการค้นหา
เท่ากับเขตข้อมูลที่เป็ นคียหลัก
์
2.4 การบันทึกและปิ ดตาราง
เมื่อต้องการบันทึกตารางใหม่ให้คลิกปุ่ มบันทึกที่แถบเครื่ องมือด่วน จะมี กรอบสนทนาชื่อบันทึก
เป็ นถูกเปิ ดขึ้นมา ให้ต้ งชื่อตารางข้อมูล แล้วคลิกปุ่ มตกลง
ั
ข้อมูลเมื่อได้ป้อนเสร็ จ
สิ้ นแล้ว ต้องบันทึกเก็บ
ไว้ในตารางวิชา
หรื อถ้าบังเอิญไปคลิกที่ปุ่มปิ ดตาราง โดยไม่ได้บนทึกก่อน จะปรากฏข้อความเตือนว่าต้องการจะ
ั
บันทึกตารางข้อมูลนี้หรื อไม่ ให้คลิกปุ่ มใช่ จะมีกรอบสนทนาชื่อ บันทึกเป็ น ถูกเปิ ดขึ้นมาให้ต้ งชื่อ
ั
ตารางข้อมูล แล้วคลิกปุ่ มตกลง
ข้อความเตือนเมื่อปิ ด
ตารางโดยไม่ได้บนทึก
ั
ตารางก่อน

3. การสร้ างตารางจากแม่ แบบตาราง (Table Templates)
3.1 เริ่มสร้ างตารางจากแม่ แบบตาราง
เมื่อคลิกปุ่ มแม่แบบตารางแล้ว จะมีรายการย่อยให้เลือก คือ ที่ติดต่องาน ประเด็น เหตุการณ์
และสิ นทรัพย์ ให้เลือกรายการที่ติดต่อ จะได้ตารางใหม่ที่มีฟิลด์และกําหนดชนิดและรู ปแบบข้อมูล
มาให้เรี ยบร้อยแล้ว

การสร้างตารางข้อมูลจากแม่แบบตาราง
3.2 การแก้ ไขฟิ ลด์ หรือคอลัมน์
ในกรณี ที่แม่แบบตารางมีคอลัมน์ที่เราไม่ตองการสามารถลบคอลัมน์น้ นทิ้งได้
้
ั
หรื อ
สามารถที่จะเพิมเติมคอลัมน์ใหม่ได้ และสามารถแก้ไข แทรก เปลี่ยนชื่อ ตั้งความกว้าง ย้าย ซ่อน
่
ตรึ งคอลัมน์ได้

การแก้ไขคอลัมน์ ในที่น้ ี
จะลบคอลัมน์บริ ษท
ั

4. การสร้ างตารางจากคําสั่ งออกแบบตาราง (Table Design)
4.1 การสร้ างตารางจากมุมมองออกแบบ ตั้งชื่อเขตข้ อมูล และกําหนดชนิด ข้ อมูล
เมื่อคลิกปุ่ มออกแบบตารางแล้ว จะได้ตารางใหม่ในมุมมองออกแบบที่มีหว ตารางเป็ นชื่อ
ั
เขตข้อมูล (ฟิ ลด์) ชนิดข้อมูล และคําอธิ บาย ส่ วนด้านล่างเป็ นคุณสมบัติของข้อมูลมี 2 แท็ป คือ
ทัวไปและค้นหา ซึ่ งมุมมองออกแบบนี้ เราต้องตั้งชื่อเขตข้อมูลหรื อฟิ ลด์เป็ นแถวลงมา และต้อง
่
กําหนดคุณสมบัติของข้อมูลทางด้านล่างไปด้วยเลย
ขนาดเขตข้อมูล (Field Size) ถ้าชนิดข้อมูลเป็ นข้อความ (Text) ขนาดที่ต้ ง ไว้จะเป็ น 50 แต่
ั
ถ้าชนิดข้อมูลเป็ นตัวเลข (Number) ขนาดที่ต้งไว้จะเป็ น Long Integer
ั
ขนาดและค่ าของข้ อมูลแบบตัวเลขขึนอยู่กับแบบตัวเลขต่ าง ๆ
้
แบบตัวเลข
ค่ าตํ่าสุ ด
ค่ าสู งสุ ด
ขนาด (ไบต์ )
Byte
0
255
1
Integer
-32,768
32,767
2
Long Integer -2,147,483,648 2,147,483,648
4
Single
-3.4 x 10 38
3.4 x 10 38
4
Double
-1.797 x 10 308
1.797 x 10 308
8
Replication ID ทุกค่าของทุกแบบ ทุกค่าของทุกแบบ
16
นอกจากนี้ยงมีแบบ Decimal ซึ่ งเก็บค่าทศนิยมได้ถูกต้องสู งสุ ด 18 ตําแหน่ง (รวมตัวเลขทั้งหน้าและหลังจุด)
ั
การสร้างตารางด้วยคําสั่ง
ออกแบบตารางและการตั้งชื่อ
และกําหนดชนิดข้อมูล

โปรแกรมไม่อนุญาตให้ใช้
ชื่อคําสงวน Date

รู ปแบบการป้ อนข้อมูล
วันที่/เวลา

คําเตือน
ในการลบแถว
หรื อเขตข้อมูล

การกําหนดคียหลัก
์
ั
ให้กบเขตข้อมูล
ํ
ถ้าไม่ได้กาหนดคียหลัก
์
ั
ให้กบเขตข้อมูล Access จะ
ดําเนินการให้เมื่อคลิกใช่

จากนั้นให้บนทึกชื่อตารางเป็ น “บัตรลงทะเบียน”
ั
4.2 การปอนข้ อมูล
้
เมื่อได้ดาเนินการตั้งชื่อเขตข้อมูลหรื อฟิ ลด์ กําหนดคุณสมบัติของข้อมูล และบันทึกตาราง
ํ
เสร็ จแล้ว จะเข้ามาสู่ หน้าต่างการป้ อนข้อมูล

การป้ อนข้อมูลลงในเซลล์และตาราง
ผลที่เกิดจากข้อมูลมีมากกว่า
ความกว้างของคอลัมน์

ข้อมูลที่ได้ป้อนเสร็ จสิ้ นแล้ว
ในตารางบัตรลงทะเบียน

More Related Content

Viewers also liked (10)

2
22
2
 
5
55
5
 
2. ใบความรู้ที่ 5
2. ใบความรู้ที่ 52. ใบความรู้ที่ 5
2. ใบความรู้ที่ 5
 
2. ใบความรู้ที่ 3
2. ใบความรู้ที่ 32. ใบความรู้ที่ 3
2. ใบความรู้ที่ 3
 
2. ใบความรู้ที่ 7
2. ใบความรู้ที่ 72. ใบความรู้ที่ 7
2. ใบความรู้ที่ 7
 
1.1 mind mapping
1.1 mind mapping1.1 mind mapping
1.1 mind mapping
 
7
77
7
 
6
66
6
 
3
33
3
 
การใช้โปรแกรม Access เบื้องต้น
การใช้โปรแกรม Access เบื้องต้นการใช้โปรแกรม Access เบื้องต้น
การใช้โปรแกรม Access เบื้องต้น
 

Similar to 2. ใบความรู้ที่ 4

บทที่3การสร้างตารางฐานข้อมูล
บทที่3การสร้างตารางฐานข้อมูลบทที่3การสร้างตารางฐานข้อมูล
บทที่3การสร้างตารางฐานข้อมูลniwat50
 
2. ใบความรู้ที่ 4
2. ใบความรู้ที่ 42. ใบความรู้ที่ 4
2. ใบความรู้ที่ 4Chainarong Ngaosri
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4หน่วยการเรียนรู้ที่ 4
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4chaiwat vichianchai
 
นาย ทศพล จอมใจ
นาย  ทศพล    จอมใจนาย  ทศพล    จอมใจ
นาย ทศพล จอมใจtaltan
 
นาย ทศพล จอมใจ
นาย  ทศพล    จอมใจนาย  ทศพล    จอมใจ
นาย ทศพล จอมใจtaltan
 
นาย ทศพล จอมใจ
นาย  ทศพล    จอมใจนาย  ทศพล    จอมใจ
นาย ทศพล จอมใจtaltan
 
นาย ทศพล จอมใจ
นาย  ทศพล    จอมใจนาย  ทศพล    จอมใจ
นาย ทศพล จอมใจtaltan
 
นาย ทศพล จอมใจ
นาย  ทศพล    จอมใจนาย  ทศพล    จอมใจ
นาย ทศพล จอมใจtaltan
 
2. ใบความรู้ที่ 1
2. ใบความรู้ที่ 12. ใบความรู้ที่ 1
2. ใบความรู้ที่ 1ครูเพชร
 
Microsoft access
Microsoft accessMicrosoft access
Microsoft accesskomolpalin
 

Similar to 2. ใบความรู้ที่ 4 (14)

บท3
บท3บท3
บท3
 
บท3
บท3บท3
บท3
 
บทที่3การสร้างตารางฐานข้อมูล
บทที่3การสร้างตารางฐานข้อมูลบทที่3การสร้างตารางฐานข้อมูล
บทที่3การสร้างตารางฐานข้อมูล
 
2. ใบความรู้ที่ 4
2. ใบความรู้ที่ 42. ใบความรู้ที่ 4
2. ใบความรู้ที่ 4
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4หน่วยการเรียนรู้ที่ 4
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4
 
Database analysis & pivot table
Database analysis & pivot tableDatabase analysis & pivot table
Database analysis & pivot table
 
นาย ทศพล จอมใจ
นาย  ทศพล    จอมใจนาย  ทศพล    จอมใจ
นาย ทศพล จอมใจ
 
นาย ทศพล จอมใจ
นาย  ทศพล    จอมใจนาย  ทศพล    จอมใจ
นาย ทศพล จอมใจ
 
นาย ทศพล จอมใจ
นาย  ทศพล    จอมใจนาย  ทศพล    จอมใจ
นาย ทศพล จอมใจ
 
นาย ทศพล จอมใจ
นาย  ทศพล    จอมใจนาย  ทศพล    จอมใจ
นาย ทศพล จอมใจ
 
นาย ทศพล จอมใจ
นาย  ทศพล    จอมใจนาย  ทศพล    จอมใจ
นาย ทศพล จอมใจ
 
Database
DatabaseDatabase
Database
 
2. ใบความรู้ที่ 1
2. ใบความรู้ที่ 12. ใบความรู้ที่ 1
2. ใบความรู้ที่ 1
 
Microsoft access
Microsoft accessMicrosoft access
Microsoft access
 

More from ครูเพชร

ครูเพชร การแทรกรูปภาพลงในโปแกรมPower point
ครูเพชร การแทรกรูปภาพลงในโปแกรมPower pointครูเพชร การแทรกรูปภาพลงในโปแกรมPower point
ครูเพชร การแทรกรูปภาพลงในโปแกรมPower pointครูเพชร
 
ครูเพชร การนำเสนอข้อมูลด้วยตาราง
ครูเพชร การนำเสนอข้อมูลด้วยตารางครูเพชร การนำเสนอข้อมูลด้วยตาราง
ครูเพชร การนำเสนอข้อมูลด้วยตารางครูเพชร
 
สื่อการสอน หน่วยที่ 1
สื่อการสอน หน่วยที่ 1สื่อการสอน หน่วยที่ 1
สื่อการสอน หน่วยที่ 1ครูเพชร
 
ใบความรู้ที่ 7
ใบความรู้ที่ 7ใบความรู้ที่ 7
ใบความรู้ที่ 7ครูเพชร
 
ใบความรู้ที่ 5
ใบความรู้ที่ 5ใบความรู้ที่ 5
ใบความรู้ที่ 5ครูเพชร
 
ใบความรู้ที่ 5 เพชร
ใบความรู้ที่ 5 เพชรใบความรู้ที่ 5 เพชร
ใบความรู้ที่ 5 เพชรครูเพชร
 
ใบความรู้ที่ 5 เพชร
ใบความรู้ที่ 5 เพชรใบความรู้ที่ 5 เพชร
ใบความรู้ที่ 5 เพชรครูเพชร
 
ใบความรู้ที่ 5
ใบความรู้ที่ 5ใบความรู้ที่ 5
ใบความรู้ที่ 5ครูเพชร
 
ใบความรู้ที่ 5
ใบความรู้ที่ 5ใบความรู้ที่ 5
ใบความรู้ที่ 5ครูเพชร
 
ใบความรู้ที่ 5 เพชร
ใบความรู้ที่ 5 เพชรใบความรู้ที่ 5 เพชร
ใบความรู้ที่ 5 เพชรครูเพชร
 
ใบความรู้ที่ 5
ใบความรู้ที่ 5ใบความรู้ที่ 5
ใบความรู้ที่ 5ครูเพชร
 
2. ใบความรู้ที่ 4
2. ใบความรู้ที่ 42. ใบความรู้ที่ 4
2. ใบความรู้ที่ 4ครูเพชร
 

More from ครูเพชร (16)

ครูเพชร การแทรกรูปภาพลงในโปแกรมPower point
ครูเพชร การแทรกรูปภาพลงในโปแกรมPower pointครูเพชร การแทรกรูปภาพลงในโปแกรมPower point
ครูเพชร การแทรกรูปภาพลงในโปแกรมPower point
 
ครูเพชร การนำเสนอข้อมูลด้วยตาราง
ครูเพชร การนำเสนอข้อมูลด้วยตารางครูเพชร การนำเสนอข้อมูลด้วยตาราง
ครูเพชร การนำเสนอข้อมูลด้วยตาราง
 
สื่อการสอน หน่วยที่ 1
สื่อการสอน หน่วยที่ 1สื่อการสอน หน่วยที่ 1
สื่อการสอน หน่วยที่ 1
 
Research02
Research02Research02
Research02
 
ใบความรู้ที่ 7
ใบความรู้ที่ 7ใบความรู้ที่ 7
ใบความรู้ที่ 7
 
ใบความรู้ที่ 5
ใบความรู้ที่ 5ใบความรู้ที่ 5
ใบความรู้ที่ 5
 
ใบความรู้ที่ 5 เพชร
ใบความรู้ที่ 5 เพชรใบความรู้ที่ 5 เพชร
ใบความรู้ที่ 5 เพชร
 
ใบความรู้ที่ 5 เพชร
ใบความรู้ที่ 5 เพชรใบความรู้ที่ 5 เพชร
ใบความรู้ที่ 5 เพชร
 
ใบความรู้ที่ 5
ใบความรู้ที่ 5ใบความรู้ที่ 5
ใบความรู้ที่ 5
 
งานนำเสนอ5
งานนำเสนอ5งานนำเสนอ5
งานนำเสนอ5
 
งานนำเสนอ5
งานนำเสนอ5งานนำเสนอ5
งานนำเสนอ5
 
ใบความรู้ที่ 5
ใบความรู้ที่ 5ใบความรู้ที่ 5
ใบความรู้ที่ 5
 
ใบความรู้ที่ 5 เพชร
ใบความรู้ที่ 5 เพชรใบความรู้ที่ 5 เพชร
ใบความรู้ที่ 5 เพชร
 
ใบความรู้ที่ 5
ใบความรู้ที่ 5ใบความรู้ที่ 5
ใบความรู้ที่ 5
 
2. ใบความรู้ที่ 4
2. ใบความรู้ที่ 42. ใบความรู้ที่ 4
2. ใบความรู้ที่ 4
 
ซอฟต์แวร์
ซอฟต์แวร์ซอฟต์แวร์
ซอฟต์แวร์
 

2. ใบความรู้ที่ 4

  • 1. ใบความรู้ ที่ 4 รหัสวิชา ง32202 ชื่ อวิชา การสร้ างฐานข้ อมูลเบืองต้ น ้ ระดับชั้ นมัธยมศึกษาปี ที่ 5 หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 4 เรื่อง การสร้ างตาราง (Table) ในฐานข้ อมูล จํานวน 6 คาบเรียน -------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- การสร้ างตารางในฐานข้ อมูล (Table) รายละเอียดของแท็บคําสั่งสร้าง (Create) ในแถบเครื่ องมือ Ribbon มีส่วนประกอบของ คําสั่งหลัก 4 กลุ่มคําสั่ง ดังนี้ 1. กลุ่มคําสั่งตาราง (Tables) ใช้ในการสร้างฐานข้อมูลในรู ปแบบตาราง 2. กลุ่มคําสั่งฟอร์ ม (Forms) ใช้ในการสร้างฐานข้อมูลในรู ปแบบฟอร์ ม 3. กลุ่มคําสังรายงาน (Reports) ใช้ในการสร้างรายงาน ่ 4. กลุ่มคําสั่งอื่น ๆ (Other) ใช้ในการคิวรี ขอมูล และการสร้างแมโคร (Macros) ้ กล่มคําสั่ง 4 กล่มของแท็บสร้าง 1. กลุ่มคําสั่ งตาราง (Tables) มีคาสั่งอยู่ 4 คําสั่ง ดังนี้ ํ 1. ตาราง (Table) ใช้ในการสร้างตารางใหม่ 2. ชุดคําสั่งแม่แบบตาราง (Table Templates) ใช้ในการสร้างตารางใหม่จากแม่แบบ 3. ชุดคําสั่งรายการ SharePoint (SharePoint Lists) เมื่อต้องการใช้ขอมูลร่ วมกับผูใช้ คนอื่น ้ ้ 4. ออกแบบตาราง (Table Design) ใช้ในการสร้างตารางจากมุมมองการออกแบบ กลุ่มคําสั่งตาราง ประกอบด้วย 4 คําสั่ง ที่ใช้ในการสร้างตารางฐานข้อมูล ตัวอย่ างตารางทีใช้ ประกอบการเรียนการสอน ่ โดยสรุ ปตารางที่ได้ออกแบบในการเก็บข้อมูล นักศึกษาลงทะเบียนเรี ยน ดังนี้ 1. ตารางข้อมูลนักศึกษา ประกอบด้วยฟิ ลด์ต่อไปนี้ รหัสนักศึกษา (StudentID) ชื่อ นามสกุล ที่อยู่ เมือง จังหวัด รหัสไปรษณี ย ์ วุฒิการศึกษา อาชีพ หมายเลขโทรศัพท์ เป็ นต้น 2. ตารางบัตรลงทะเบียน ประกอบด้วยฟิ ลด์ต่อไปนี้ รหัสบัตรลงทะเบียน (registerID) รหัส นักศึกษา (StudentID) วันที่ลงทะเบียน (dateRegister) เป็ นต้น
  • 2. 3. ตารางรายการลงทะเบียน ประกอบด้วยฟิ ลด์ต่อไปนี้ รหัสบัตรลงทะเบียน (registerID) รหัสวิชา (subjectID) รหัสระยะเวลาที่เรี ยน (periodID) เป็ นต้น 4. ตารางวิชา ประกอบด้วยฟิ ลด์ต่อไปนี้ รหัสวิชา (subjectID) รหัสแผนกวิชา (divisionID) ชื่อวิชา (subjectName) ค่าลงทะเบียน (price) เป็ นต้น 5. ตารางแผนกวิชา ประกอบด้วย ฟิ ลด์ ต่อไปนี้ รหัสแผนกวิชา (divisionID) ชื่อแผนกวิชา (divisionName) เป็ นต้น 6. ตารางครู ผสอน ประกอบด้วยฟิ ลด์ต่อไปนี้ รหัสระยะเวลาที่เรี ยน (periodID) ชื่อรอบระยะเวลา ที่ ู้ เรี ยน (periodName) ชื่อครู ผสอน (teacherfirstName) นามสกุลครู ผสอน (teacherlastName) เป็ นต้น ู้ ู้ 2. วิธีการสร้ างตาราง (Table) 2.1 เริ่มสร้ างตารางใหม่ ที่แท็บสร้างกลุ่มคําสั่งตาราง คลิกปุ่ มตาราง จะได้ตารางชื่อ Table1 ที่มา พร้อมกับฟิ ลด์ ID หน้าต่างของตารางข้อมูลใหม่ 2.2 การเปลียนชื่ อฟิ ลด์ หรือ ชื่ อเขตข้ อมูล หรือ คอลัมน์ ่ คลิกขวาที่ชื่อคอลัมน์ จะเปิ ดเมนูลด ให้เลือกรายการเปลี่ยนชื่อคอลัมน์ โดยมีหลักการตั้งชื่อ ดังนี้ ั 1. สามารถใช้ชื่อยาวได้ถึง 64 ตัวอักษร 2. ชื่อต้องไม่ข้ ึนต้นด้วยช่องว่าง และไม่ควรมีช่องว่างระหว่างชื่อ 3. ควรใช้ชื่อที่เข้าใจได้ง่าย ชัดเจน และบ่งบอกถึงวัตถุประสงค์ของเขตข้อมูล 4. อาจเป็ นตัวเลขและอักขระพิเศษประกอบด้วยก็ได้ ยกเว้นมหัพภาค (,) อัศเจรี ย ์ (!) อัญประกาศคู่ (“ ”) และวงเล็บ [ ] 5. ชื่อเขตข้อมูลต้องไม่ซ้ ากันในตารางเดียวกัน ํ 6. ต้องไม่ซ้ ากับชื่อของคุณสมบัติหรื อองค์ประกอบอื่นๆ (คําสงวน) ที่ใช้ในโปรแกรม ํ ส่ วนประกอบของฐานข้อมูลใน โปรแกรม Microsoft Access 2007
  • 3. 2.3 การพิมพ์ ข้อมูล เพิมเขตข้ อมูลใหม่ และการกําหนดชนิดข้ อมูล ่ ให้ดบเบิลคลิกที่ฟิลด์เพื่อเพิ่มเขตข้อมูลใหม่ แล้วตั้งชื่อฟิ ลด์ และให้คลิกที่ เซลล์แล้วพิมพ์ขอมูลลง ั ้ ั ไปในเซลล์ แต่ตองกําหนดชนิดและรู ปแบบให้กบข้อมูลเสี ยก่อน โดยใช้ แท็บคําสังตามบริ บท คือ แถบ ้ ่ เครื่ องมือตาราง แท็บแผ่นข้อมูล แถบเครื่ องมือตาราง แท็บแผ่นข้อมูล การกําหนดชนิดของข้อมูล การกําหนดรู ปแบบของข้อมูล รายละเอียดของชนิดข้ อมูล (Data Type) ชนิดข้ อมูล Data Type ใช้ สําหรับ ข้อความหรื อตัวเลขที่ไม่ใช้ในการ คํานวณ ข้อความ Text บันทึก Memo บันทึกข้อความ ตัวเลข Number ตัวเลขที่ใช้ในการคํานวณ วันที่ / เวลา สกุลเงิน หมายเลขอัตโนมัติ Date / Time Currency AutoNumber ขนาด สูงสุด 255 ไบต์ (ตัวอักษร) สูงสุด 65,535 ไบต์ (ตัวอักษร) ่ ั 1,2,4 หรื อ 8 ไบต์ (ขึ้ นอยูกบ ชนิดของ ตัวเลข) 8 ไบต์ 8 ไบต์ 4 ไบต์ วันเดือนปี และเวลา สกุลเงินและตัวเลขจํานวนเงิน เลขลําดับอัตโนมัติ (เพิ่มทีละ 1) ค่าใดค่าหนึ่งของ Yes / No, True/False ใช่ / ไม่ใช่ Yes / No 1 บิต หรื อ On / Off วัตถุอื่น เช่น แผ่นงาน Excel, เอกสาร วัตถุ OLE OLE Object สูงสุด 1 กิกะไบต์ Word, รู ปภาพ, ไฟล์เสี ยง และอื่นๆ ่ การเชื่อมโยงหลายมิติ Hyperlink ที่อยูการเชื่อมโยงหลายมิติ เช่น เว็บเพจ 2,048 ตัวอักษร สร้างเขตข้อมูลการ ค้นหา Lookup Wizard เขตข้อมูลการค้นหา เท่ากับเขตข้อมูลที่เป็ นคียหลัก ์
  • 4. 2.4 การบันทึกและปิ ดตาราง เมื่อต้องการบันทึกตารางใหม่ให้คลิกปุ่ มบันทึกที่แถบเครื่ องมือด่วน จะมี กรอบสนทนาชื่อบันทึก เป็ นถูกเปิ ดขึ้นมา ให้ต้ งชื่อตารางข้อมูล แล้วคลิกปุ่ มตกลง ั ข้อมูลเมื่อได้ป้อนเสร็ จ สิ้ นแล้ว ต้องบันทึกเก็บ ไว้ในตารางวิชา หรื อถ้าบังเอิญไปคลิกที่ปุ่มปิ ดตาราง โดยไม่ได้บนทึกก่อน จะปรากฏข้อความเตือนว่าต้องการจะ ั บันทึกตารางข้อมูลนี้หรื อไม่ ให้คลิกปุ่ มใช่ จะมีกรอบสนทนาชื่อ บันทึกเป็ น ถูกเปิ ดขึ้นมาให้ต้ งชื่อ ั ตารางข้อมูล แล้วคลิกปุ่ มตกลง ข้อความเตือนเมื่อปิ ด ตารางโดยไม่ได้บนทึก ั ตารางก่อน 3. การสร้ างตารางจากแม่ แบบตาราง (Table Templates) 3.1 เริ่มสร้ างตารางจากแม่ แบบตาราง เมื่อคลิกปุ่ มแม่แบบตารางแล้ว จะมีรายการย่อยให้เลือก คือ ที่ติดต่องาน ประเด็น เหตุการณ์ และสิ นทรัพย์ ให้เลือกรายการที่ติดต่อ จะได้ตารางใหม่ที่มีฟิลด์และกําหนดชนิดและรู ปแบบข้อมูล มาให้เรี ยบร้อยแล้ว การสร้างตารางข้อมูลจากแม่แบบตาราง
  • 5. 3.2 การแก้ ไขฟิ ลด์ หรือคอลัมน์ ในกรณี ที่แม่แบบตารางมีคอลัมน์ที่เราไม่ตองการสามารถลบคอลัมน์น้ นทิ้งได้ ้ ั หรื อ สามารถที่จะเพิมเติมคอลัมน์ใหม่ได้ และสามารถแก้ไข แทรก เปลี่ยนชื่อ ตั้งความกว้าง ย้าย ซ่อน ่ ตรึ งคอลัมน์ได้ การแก้ไขคอลัมน์ ในที่น้ ี จะลบคอลัมน์บริ ษท ั 4. การสร้ างตารางจากคําสั่ งออกแบบตาราง (Table Design) 4.1 การสร้ างตารางจากมุมมองออกแบบ ตั้งชื่อเขตข้ อมูล และกําหนดชนิด ข้ อมูล เมื่อคลิกปุ่ มออกแบบตารางแล้ว จะได้ตารางใหม่ในมุมมองออกแบบที่มีหว ตารางเป็ นชื่อ ั เขตข้อมูล (ฟิ ลด์) ชนิดข้อมูล และคําอธิ บาย ส่ วนด้านล่างเป็ นคุณสมบัติของข้อมูลมี 2 แท็ป คือ ทัวไปและค้นหา ซึ่ งมุมมองออกแบบนี้ เราต้องตั้งชื่อเขตข้อมูลหรื อฟิ ลด์เป็ นแถวลงมา และต้อง ่ กําหนดคุณสมบัติของข้อมูลทางด้านล่างไปด้วยเลย ขนาดเขตข้อมูล (Field Size) ถ้าชนิดข้อมูลเป็ นข้อความ (Text) ขนาดที่ต้ ง ไว้จะเป็ น 50 แต่ ั ถ้าชนิดข้อมูลเป็ นตัวเลข (Number) ขนาดที่ต้งไว้จะเป็ น Long Integer ั ขนาดและค่ าของข้ อมูลแบบตัวเลขขึนอยู่กับแบบตัวเลขต่ าง ๆ ้ แบบตัวเลข ค่ าตํ่าสุ ด ค่ าสู งสุ ด ขนาด (ไบต์ ) Byte 0 255 1 Integer -32,768 32,767 2 Long Integer -2,147,483,648 2,147,483,648 4 Single -3.4 x 10 38 3.4 x 10 38 4 Double -1.797 x 10 308 1.797 x 10 308 8 Replication ID ทุกค่าของทุกแบบ ทุกค่าของทุกแบบ 16 นอกจากนี้ยงมีแบบ Decimal ซึ่ งเก็บค่าทศนิยมได้ถูกต้องสู งสุ ด 18 ตําแหน่ง (รวมตัวเลขทั้งหน้าและหลังจุด) ั
  • 6. การสร้างตารางด้วยคําสั่ง ออกแบบตารางและการตั้งชื่อ และกําหนดชนิดข้อมูล โปรแกรมไม่อนุญาตให้ใช้ ชื่อคําสงวน Date รู ปแบบการป้ อนข้อมูล วันที่/เวลา คําเตือน ในการลบแถว หรื อเขตข้อมูล การกําหนดคียหลัก ์ ั ให้กบเขตข้อมูล
  • 7. ํ ถ้าไม่ได้กาหนดคียหลัก ์ ั ให้กบเขตข้อมูล Access จะ ดําเนินการให้เมื่อคลิกใช่ จากนั้นให้บนทึกชื่อตารางเป็ น “บัตรลงทะเบียน” ั 4.2 การปอนข้ อมูล ้ เมื่อได้ดาเนินการตั้งชื่อเขตข้อมูลหรื อฟิ ลด์ กําหนดคุณสมบัติของข้อมูล และบันทึกตาราง ํ เสร็ จแล้ว จะเข้ามาสู่ หน้าต่างการป้ อนข้อมูล การป้ อนข้อมูลลงในเซลล์และตาราง ผลที่เกิดจากข้อมูลมีมากกว่า ความกว้างของคอลัมน์ ข้อมูลที่ได้ป้อนเสร็ จสิ้ นแล้ว ในตารางบัตรลงทะเบียน