SlideShare a Scribd company logo
1 of 7
Download to read offline
ใบความรู้ ที่ 5
รหัสวิชา ง32202 ชื่ อวิชา การสร้ างฐานข้ อมูลเบืองต้ น
้
ระดับชั้ นมัธยมศึกษาปี ที่ 5
หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 5 เรื่อง การสร้ างความสั มพันธ์ ระหว่ างตาราง
จํานวน 4 คาบเรียน
-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------ในฐานข้อมูล เชิงสัมพันธ์ ( Relational Database) มักจะทํางานกับข้อมูลหลายๆ ตาราง เพื่อขจัด
ปั ญหาความซํ้าซ้อนของข้อมูล ในการเชื่อมความสัมพันธ์ระหว่างตาราง

1. ประเภทของความสั มพันธ์ ระหว่ างตารางในฐานข้ อมูล แบ่งออกเป็ น 3 ประเภท ได้แก่
1.1 ความสั มพันธ์ แบบหนึ่งต่ อหนึ่ง (One-to-One Relationship)
ั
จับคู่กน

การสร้างความสัมพันธ์ระหว่างตารางในฐานข้อมูลแบบหนึ่งต่อหนึ่ง หมายถึง มีฟิลด์ขอมูล 1 ฟิ ลด์ที่
้

ตัวอย่ างเช่ น อาจารย์ กบคอมพิวเตอร์ หากกําหนดว่า อาจารย์ 1 คน จะมีคอมพิวเตอร์ 1 เครื่ อง และ
ั
เครื่ องคอมพิวเตอร์ 1 เครื่ อง จะต้องเป็ นของอาจารย์คนเดียวเท่านั้น
อาจารย์

คอมพิวเตอร์

•

ตัวอย่ างที่ 1

•

ความสั มพันธ์ แบบหนึ่งต่ อหนึ่ง
ตัวอย่ างที่ 2
สถาบันการศึกษาแห่งหนึ่ง กําหนดว่า อาจารย์แต่ละคนจะมีนกศึกษาในความดูแลของตนได้เพียง 1
ั
คน ในขณะที่นกศึกษาแต่ละคนก็จะมีอาจารย์ที่ปรึ กษาโครงงานได้เพียงคนเดียว จึงสามารถแสดงตารางที่ใช้
ั
เก็บข้อมูล ได้ดงนี้
ั
อาจารย์
นักศึกษา
รหัสอาจารย์ ทปรึกษา
ี่
60
01
11
80

ชื่ออาจารย์ ทปรึกษา
ี่
นายธนู อินจันทร์
น.ส.อารี ย ์ ฤทัยชื่น
น.ส.นุชนาฎ พาสุข
นายเฉลิมชัย ขวัญเมือง

รหัสนักศึกษา
1006
4113
3102
6214

ชื่อนักศึกษา
นายธานี ศรี สุดใจ
น.ส.สุดา ชัยอนันต์
น.ส.มาลี ตะวันแดง
นายคมศร สว่างใจ
จากตารางข้างต้น พิจารณาแล้วจะพบว่าในตารางดังกล่าวมีขอมูล 2 ชนิดรวมกันอยู่ คือ ข้อมูลของ
้
อาจารย์ที่ปรึ กษา และข้อมูลของนักศึกษา จึงอาจทําให้เกิดปั ญหาการเลือกแอททริ บิวต์ที่จะเป็ นคียหลัก
์
เพราะทั้งรหัสอาจารย์ที่ปรึ กษาและรหัสนักศึกษา ต่างก็สามารถใช้เป็ นคียหลักได้เช่นกัน ดังนั้น หากเลือก
์
รหัสอาจารย์ที่ปรึ กษาเป็ นคียหลักแล้ว รหัสนักศึกษาก็จะกลายเป็ น คีย์ค่ ูแข่ ง (Candidate Key) หรื อ คีย์รอง
์
(Alternate Key) ไปทันที
ดังนั้น หากมีการแยกเก็บข้อมูลแต่ละเอนทิตีไว้คนละตาราง จะได้ดงนี้
ั
อาจารย์ ทปรึกษา
ี่
รหัสอาจารย์
60
01
11
80

ชื่ออาจารย์
นายธนู อินจันทร์
น.ส.อารี ย ์ ฤทัยชื่น
น.ส.นุชนาฎ พาสุข
นายเฉลิมชัย ขวัญเมือง

รหัสนักศึกษา
1006
4113
3102
6214

รหัสนักศึกษา
1006
4113
3102
6214

ชื่อนักศึกษา
นายธานี ศรี สุดใจ
น.ส.สุดา ชัยอนันต์
น.ส.มาลี ตะวันแดง
นายคมศร สว่างใจ

รหัสอาจารย์
60
01
11
80

นักศึกษา

จากตารางทั้งสองข้างต้น ตารางอาจารย์ที่ปรึ กษาจะใช้รหัสอาจารย์ที่ปรึ กษาเป็ นคียหลัก ส่ วนตาราง
์
นักศึกษา ใช้รหัสนักศึกษาเป็ นคียหลัก ความสัมพันธ์ระหว่างเอนทิตีท้งสองจึงกําหนดใช้ คีย์นอก (Foreign
์
ั
Key) ทําให้ตารางอาจารย์ที่ปรึ กษา มีรหัสนักศึกษาเป็ นคียนอก เพื่ออ้างอิงถึงข้อมูลในตารางนักศึกษา ส่ วน
์
ในตารางนักศึกษาจะมีรหัสอาจารย์ที่ปรึ กษาเป็ นคียนอก เพื่ออ้างอิงถึงข้อมูลในตารางอาจารย์ที่ปรึ กษา และ
์
ํ
่
คียนอกที่กาหนดก็จะปรากฏอยูในแต่ละตาราง เพียงครั้งเดียว เนื่องจากเป็ นความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อหนึ่ง
์
นันเอง
่

1.2

ความสั มพันธ์ แบบหนึ่งต่ อกลุ่ม (One-to-Many Relationship)

การสร้างความสัมพันธ์ระหว่างตารางฐานข้อมูลแบบหนึ่งต่อกลุ่ม หมายถึง มีฟิลด์ ข้อมูล 1 ฟิ ลด์ที่
ั
จับคู่กบฟิ ลด์ขอมูลหลายฟิ ลด์ในตารางอื่น แต่ฟิลด์ในตารางนั้นจับคู่ได้เพียงแค่ฟิลด์เดียว
้
ตัวอย่ างเช่ น อาจารย์ กบวิชา หากกําหนดว่า วิชา 1 วิชา จะมีอาจารย์สอนได้เพียง 1 คนเท่านั้น แต่
ั
อาจารย์ 1 คน สามารถสอนได้หลายวิชา
ตัวอย่ างที่ 1

อาจารย์

วิชา

•

ความสั มพันธ์ แบบหนึ่งต่ อกลุ่ม

ตัวอย่ างที่ 2
ตารางนักศึกษาและตารางอาจารย์ที่ปรึ กษา โดยในตารางนักศึกษาจะเพิ่มสดมภ์อีก 1 สดมภ์ เพื่อเก็บ
ค่ารหัสอาจารย์ที่ปรึ กษาที่ดูแลตนอยู่ และค่าของรหัสอาจารย์ที่ปรึ กษานี้ ก็จะเป็ นคียหลักในตารางอาจารย์ที่
์
ปรึ กษาด้วย ดังแสดงในตารางต่อไปนี้
นักศึกษา
อาจารย์ทปรึกษา
ี่
รหัสอาจารย์ ที่
รหัสอาจารย์ทปรึกษา
ี่
ชื่ออาจารย์
รหัสนักศึกษา
ชื่อนักศึกษา
1006
4113
3102
6214
8104
4412
8302

นายธานี
น.ส.สุดา
น.ส.มาลี
นายคมศร
นายอาวุธ
น.ส.อัจฉรา
น.ส.สมใจ

ปรึกษา
60
01
11
80
01
60
60

60
01
11
80

อ.ธนู
อ.อารี ย ์
อ.นุชนาฎ
อ.เฉลิมชัย

่
จากตารางข้ างต้ น ข้อมูลนักศึกษาแต่ละคนจะอยูในแต่ละแถวของตารางนักศึกษา และค่าของรหัส

่
อาจารย์ที่ปรึ กษาในแต่ละแถวของตารางนักศึกษาจะมีเพียงค่าเดียว ซึ่ งเป็ นความสัมพันธ์วา นักศึกษาแต่ละ
คนจะมีอาจารย์ที่ปรึ กษาดูแลเพียงคนเดียว ส่ วนตารางอาจารย์ที่ปรึ กษาจะไม่มีขอมูลของนักศึกษาเก็บอยูเ่ ลย
้
ดังนั้น ถ้าต้องการทราบว่าอาจารย์ที่ปรึ กษาแต่ละคนมีนกศึกษาในความดูแลเป็ นใครบ้าง จะต้องไล่ดูรหัส
ั
อาจารย์ที่ปรึ กษาคนนั้นในตารางนักศึกษา ซึ่ งอาจจะมีมากกว่าหนึ่งแถว เป็ นการแสดงว่า อาจารย์ที่ปรึ กษาแต่
ละคนมีนกศึกษาในความดูแลได้หลายคน ตัวอย่างเช่น อาจารย์ที่ปรึ กษาที่ชื่อ อ.ธนู มีนกศึกษาในความดูแล
ั
ั
3 คน คือ นายธานี น.ส.อัจฉรา และน.ส.สมใจ

1.3

ความสั มพันธ์ แบบกลุ่มต่ อกลุ่ม (Many-to-Many Relationship)

การสร้างความสัมพันธ์ระหว่างตารางฐานข้อมูลแบบกลุ่มต่อกลุ่ม หมายถึง มีฟิลด์ขอมูลหลายฟิ ลด์ที่
้
ั
จับคู่กนระหว่างตาราง
ตัวอย่ างเช่ น นักเรียนกับวิชา หากกําหนดว่า นักเรี ยนแต่ละคนสามารถเรี ยนได้หลายวิชา และแต่ละ
วิชาก็สามารถมีนกเรี ยนเรี ยนได้หลายคน
ั
ตัวอย่ างที่ 1
นักเรียน

วิชา

ความสั มพันธ์ แบบกลุ่มต่ อกลุ่ม

ตัวอย่ างที่ 2
ยกตัวอย่าง กรณี การลงทะเบียนเรี ยนในสถาบันการศึกษาแห่งหนึ่ง กําหนดว่า การลงทะเบียนเรี ยน
่
แต่ละครั้งนักศึกษาสามารถลงทะเบียนเรี ยนได้มากกว่า 1 วิชา ซึ่ งวิชาแต่ละวิชาก็อาจปรากฏอยูในใบ
ลงทะเบียนของนักศึกษามากกว่า 1 คน ดังนั้น ความสั มพันธ์ ระหว่ างการลงทะเบียนและรายวิชา จะเป็ นแบบ
กลุ่มต่ อกลุ่ม กรณี เช่นนี้จะต้องสร้างตารางขึ้นใหม่ ใช้ชื่อว่า ตารางรายการลงทะเบียน เพื่อให้ตารางใหม่น้ ี
เป็ นตารางที่จะสร้างความสัมพันธ์ของตารางรายการลงทะเบียน กับ ตารางรายวิชา ซึ่ งในตารางรายการ
ลงทะเบียนจะประกอบด้วยแอททริ บิวต์หมายเลขใบลงทะเบียน และรหัสวิชาที่ลงทะเบียน ดังแสดงในตาราง
ต่อไปนี้
การลงทะเบียน รายวิชา
หมายเลขใบ
วันที่
จํานวน
รหัสนักศึกษา
รหัสวิชา
ชื่อวิชา
ลงทะเบียน
ลงทะเบียน
หน่ วยกิต
2101
01/05/46
4113
410-101 ภาษาไทย - 1
2
2102
09/05/46
3102
410-102 ภาษาไทย - 2
2
2103
10/05/46
1006
510-101 ภาษาอังกฤษ - 1
2
2104
10/05/46
8104
510-102 ภาษาอังกฤษ - 2
2
630-101 พลศึกษา
1
630-102 ตรรกศาสตร์
3
รายการลงทะเบียน

หมายเลขใบลงทะเบียน
2101
2101
2101
2102
2102
2103
2103
2103
2104
2104

รหัสวิชา
410-102
630-101
630-102
510-102
630-101
410-102
510-101
630-102
410-101
510-101

จากตาราง หากต้องการทราบว่าใบ
ลงทะเบียนหมายเลข 2102 มีการลงทะเบียน
เรี ยนวิชาใดบ้าง เราจะเริ่ มดูขอมูลในตาราง
้
รายการลงทะเบียน โดยดูแถวที่มีหมายเลข
ใบลงทะเบียนเป็ นหมายเลข 2102 แล้วใช้
รหัสวิชาที่หาได้จากตารางนี้ ไปดูขอมูลของ
้
วิชานั้นในตารางรายวิชา พบว่า จํานวนแถว
ของข้อมูลที่เป็ นหมายเลขใบลงทะเบียน
2102 มีมากกว่า 1 แถว

2. วิธีการสร้ างความสั มพันธ์ ระหว่ างตารางในฐานข้ อมูล
วิธีการสร้ างความสั มพันธ์ ระหว่ างตาราง แบบหนึ่งต่ อหนึ่ง
ั
— ตารางที่มีเขตข้อมูลสัมพันธ์กนหนึ่งเขตข้อมูล ซึ่ งก่อนสร้างความสัมพันธ์ตองปิ ด
้
ตารางทั้งหมดลงเสี ยก่อน แล้วไปที่แท็บเครื่ องมือฐานข้อมูล คลิกปุ่ มคําสังความสัมพันธ์ จะเปิ ดแท็บ
่
บริ บทเครื่ องมือการทําความสัมพันธ์
ที่แท็บออกแบบให้คลิกแสดงตารางที่ตองการสร้าง
้
ความสัมพันธ์ออกมา แล้วดับเบิลคลิกเพิ่มชื่อตารางที่ตองการสร้างความสัมพันธ์ จากนั้นจึงลากชื่อ
้
เขตข้อมูลที่เหมือนกันของทั้งสองตาราง ให้ตรงกัน เมื่อแผ่นงานแก้ไขความสัมพันธ์ปรากฏขึ้นมาให้
คลิกเลือก บังคับให้มี Referential Integrity ซึ่ งหมายความว่า ระบบของกฎต่าง ๆ ที่ Access 2007 ใช้
่
ั
เพื่อให้ มันใจได้วาความสัมพันธ์ระหว่างระเบียนในตารางที่สัมพันธ์กนนั้นถูกต้อง และจะต้องไม่
่
ั
ลบหรื อ เปลี่ยนแปลงข้อมูลที่มีความสัมพันธ์กนโดยบังเอิญ
เริ่ มต้นสร้างความสัมพันธ์จากการคลิกปุ่ มคําสั่ง
ความสัมพันธ์ บนแท็บเครื่ องมือฐานข้อมูล
คําสังแสดงตารางในแท็บออกแบบของแท็บเครื่ องมือการทําความสัมพันธ์
่
คําสั่งเพิ่มแสดงตารางข้อมูล
นักศึกษาและบัตรลงทะเบียน

เมื่อลากชื่อเขตข้อมูล
studentID ข้ามตารางแล้ว
ให้คลิกเลือกบังคับให้มี
Referential Integrity

เส้ นความสั มพันธ์ เป็ น
แบบหนึ่งต่ อหนึ่ง

วิธีการสร้ างความสั มพันธ์ ระหว่ างตาราง แบบหนึ่งต่ อกลุ่มและกลุ่มต่ อกลุ่ม
ั
ตารางที่มีเขตข้อมูลสัมพันธ์กนหนึ่งเขตข้อมูล ซึ่ งก่อนสร้างความสัมพันธ์ตองปิ ด ตารางทั้งหมดลง
้
เสี ยก่อน แล้วไปที่แท็บเครื่ องมือฐานข้อมูล คลิกปุ่ มคําสั่งความสัมพันธ์ จะเปิ ด แท็บบริ บทเครื่ องมือการทํา
ความสัมพันธ์ ที่แท็บออกแบบให้คลิกแสดงตารางที่ตองการสร้าง ความสัมพันธ์ออกมา แล้วดับเบิลคลิกเพิ่ม
้
ชื่อตารางที่ตองการสร้างความสัมพันธ์ จากนั้นจึงลากชื่อ เขตข้อมูลที่ตรงกันของทั้งสองตาราง เมื่อแผ่นงาน
้
แก้ไขความสัมพันธ์ปรากฏขึ้นมาให้คลิกเลือก บังคับให้มี Referential Integrity
คําสังแสดงตารางทั้งหมด 6 ตาราง
่

เมื่อลากชื่อเขตข้อมูล divisionID ข้ามตารางแล้วให้คลิกเลือกบังคับให้มี Referential Integrity

เส้นความสัมพันธ์เป็ นแบบหนึ่งต่อหนึ่ง แบบหนึ่งต่อกลุ่ม และแบบกลุ่มต่อกลุ่ม

More Related Content

What's hot

What's hot (19)

2559 project
2559 project 2559 project
2559 project
 
2559 project
2559 project 2559 project
2559 project
 
2561 project -4
2561 project -42561 project -4
2561 project -4
 
Project com nakub
Project com nakubProject com nakub
Project com nakub
 
2559 project
2559 project 2559 project
2559 project
 
2559 จิรชยา
2559 จิรชยา2559 จิรชยา
2559 จิรชยา
 
มะพร้าวลดน้ำหนัก
มะพร้าวลดน้ำหนักมะพร้าวลดน้ำหนัก
มะพร้าวลดน้ำหนัก
 
2562 final-project 46-609_chitsanupa
2562 final-project 46-609_chitsanupa2562 final-project 46-609_chitsanupa
2562 final-project 46-609_chitsanupa
 
Natchalida
NatchalidaNatchalida
Natchalida
 
คู่มือการใช้ Excel 2007
คู่มือการใช้ Excel 2007คู่มือการใช้ Excel 2007
คู่มือการใช้ Excel 2007
 
Putthipong Sinthon 6/6 29
Putthipong Sinthon 6/6 29Putthipong Sinthon 6/6 29
Putthipong Sinthon 6/6 29
 
โรค Phobia
โรค Phobiaโรค Phobia
โรค Phobia
 
2561 project (1)
2561 project  (1)2561 project  (1)
2561 project (1)
 
2562 final-project tiranut21
2562 final-project tiranut212562 final-project tiranut21
2562 final-project tiranut21
 
แบบร่างโครงงานคอม
แบบร่างโครงงานคอมแบบร่างโครงงานคอม
แบบร่างโครงงานคอม
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ (งานเดี่ยว)
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ (งานเดี่ยว)โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ (งานเดี่ยว)
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ (งานเดี่ยว)
 
Rice soup 604
Rice soup 604Rice soup 604
Rice soup 604
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 

Viewers also liked (18)

2. ใบความรู้ที่ 4
2. ใบความรู้ที่ 42. ใบความรู้ที่ 4
2. ใบความรู้ที่ 4
 
2. ใบความรู้ที่ 7
2. ใบความรู้ที่ 72. ใบความรู้ที่ 7
2. ใบความรู้ที่ 7
 
2. ใบความรู้ที่ 1
2. ใบความรู้ที่ 12. ใบความรู้ที่ 1
2. ใบความรู้ที่ 1
 
Power strip
Power stripPower strip
Power strip
 
4
44
4
 
1
11
1
 
2. ใบความรู้ที่ 2
2. ใบความรู้ที่ 22. ใบความรู้ที่ 2
2. ใบความรู้ที่ 2
 
2. ใบความรู้ที่ 3
2. ใบความรู้ที่ 32. ใบความรู้ที่ 3
2. ใบความรู้ที่ 3
 
2
22
2
 
2. ใบความรู้ที่ 8
2. ใบความรู้ที่ 82. ใบความรู้ที่ 8
2. ใบความรู้ที่ 8
 
8
88
8
 
5
55
5
 
2. ใบความรู้ที่ 6
2. ใบความรู้ที่ 62. ใบความรู้ที่ 6
2. ใบความรู้ที่ 6
 
1.1 mind mapping
1.1 mind mapping1.1 mind mapping
1.1 mind mapping
 
7
77
7
 
6
66
6
 
3
33
3
 
การใช้โปรแกรม Access เบื้องต้น
การใช้โปรแกรม Access เบื้องต้นการใช้โปรแกรม Access เบื้องต้น
การใช้โปรแกรม Access เบื้องต้น
 

Similar to 2. ใบความรู้ที่ 5

ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลkruthanyaporn
 
นำเสนอหลักสูตร ร.ร.เมืองยม
นำเสนอหลักสูตร ร.ร.เมืองยมนำเสนอหลักสูตร ร.ร.เมืองยม
นำเสนอหลักสูตร ร.ร.เมืองยมkrupawit
 
งานกลุ่ม ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ ม.2/4 เลขที่ 1-18-26-29-31-34-40
งานกลุ่ม ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ ม.2/4 เลขที่ 1-18-26-29-31-34-40งานกลุ่ม ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ ม.2/4 เลขที่ 1-18-26-29-31-34-40
งานกลุ่ม ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ ม.2/4 เลขที่ 1-18-26-29-31-34-40KittinanSuksom2
 
งานกลุ่ม3ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
งานกลุ่ม3ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์งานกลุ่ม3ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
งานกลุ่ม3ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์Earn'kanittha Thunyadee
 
นวัตกรรมบทที่ 8
นวัตกรรมบทที่ 8นวัตกรรมบทที่ 8
นวัตกรรมบทที่ 8Setthawut Ruangbun
 
พจนานุกรมข้อมูล
พจนานุกรมข้อมูลพจนานุกรมข้อมูล
พจนานุกรมข้อมูลtumetr
 
ค่ากลางปี
ค่ากลางปีค่ากลางปี
ค่ากลางปีanutree pankulab
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3nunzaza
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูลความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูลkruthanyaporn
 
การศึกษาความพึงพอใจในการจัดการเรียนการสอน55 1
การศึกษาความพึงพอใจในการจัดการเรียนการสอน55 1การศึกษาความพึงพอใจในการจัดการเรียนการสอน55 1
การศึกษาความพึงพอใจในการจัดการเรียนการสอน55 1Pimpisut Plodprong
 
หน่วยที่ 3 การสร้างตาราง
หน่วยที่ 3 การสร้างตารางหน่วยที่ 3 การสร้างตาราง
หน่วยที่ 3 การสร้างตารางkruthanyaporn
 

Similar to 2. ใบความรู้ที่ 5 (20)

87 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่14_โปรแกรมการคำนวณทางสถิติ2
87 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่14_โปรแกรมการคำนวณทางสถิติ287 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่14_โปรแกรมการคำนวณทางสถิติ2
87 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่14_โปรแกรมการคำนวณทางสถิติ2
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
 
นำเสนอหลักสูตร ร.ร.เมืองยม
นำเสนอหลักสูตร ร.ร.เมืองยมนำเสนอหลักสูตร ร.ร.เมืองยม
นำเสนอหลักสูตร ร.ร.เมืองยม
 
Entity relationship model
Entity relationship modelEntity relationship model
Entity relationship model
 
74 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่1_เนื้อหา
74 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่1_เนื้อหา74 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่1_เนื้อหา
74 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่1_เนื้อหา
 
งานกลุ่ม ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ ม.2/4 เลขที่ 1-18-26-29-31-34-40
งานกลุ่ม ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ ม.2/4 เลขที่ 1-18-26-29-31-34-40งานกลุ่ม ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ ม.2/4 เลขที่ 1-18-26-29-31-34-40
งานกลุ่ม ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ ม.2/4 เลขที่ 1-18-26-29-31-34-40
 
งานกลุ่ม3ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
งานกลุ่ม3ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์งานกลุ่ม3ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
งานกลุ่ม3ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
 
นวัตกรรมบทที่ 8
นวัตกรรมบทที่ 8นวัตกรรมบทที่ 8
นวัตกรรมบทที่ 8
 
พจนานุกรมข้อมูล
พจนานุกรมข้อมูลพจนานุกรมข้อมูล
พจนานุกรมข้อมูล
 
ค่ากลางปี
ค่ากลางปีค่ากลางปี
ค่ากลางปี
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูลความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
 
76 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่3_แนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง2
76 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่3_แนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง276 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่3_แนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง2
76 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่3_แนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง2
 
แผนการสอนAccess 57
แผนการสอนAccess 57แผนการสอนAccess 57
แผนการสอนAccess 57
 
การศึกษาความพึงพอใจในการจัดการเรียนการสอน55 1
การศึกษาความพึงพอใจในการจัดการเรียนการสอน55 1การศึกษาความพึงพอใจในการจัดการเรียนการสอน55 1
การศึกษาความพึงพอใจในการจัดการเรียนการสอน55 1
 
Chapter 8 อิอิ
Chapter 8 อิอิChapter 8 อิอิ
Chapter 8 อิอิ
 
Pbl5
Pbl5Pbl5
Pbl5
 
Learning management plan 4
Learning management plan 4Learning management plan 4
Learning management plan 4
 
หน่วยที่ 3 การสร้างตาราง
หน่วยที่ 3 การสร้างตารางหน่วยที่ 3 การสร้างตาราง
หน่วยที่ 3 การสร้างตาราง
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
 

More from ครูเพชร

ครูเพชร การแทรกรูปภาพลงในโปแกรมPower point
ครูเพชร การแทรกรูปภาพลงในโปแกรมPower pointครูเพชร การแทรกรูปภาพลงในโปแกรมPower point
ครูเพชร การแทรกรูปภาพลงในโปแกรมPower pointครูเพชร
 
ครูเพชร การนำเสนอข้อมูลด้วยตาราง
ครูเพชร การนำเสนอข้อมูลด้วยตารางครูเพชร การนำเสนอข้อมูลด้วยตาราง
ครูเพชร การนำเสนอข้อมูลด้วยตารางครูเพชร
 
สื่อการสอน หน่วยที่ 1
สื่อการสอน หน่วยที่ 1สื่อการสอน หน่วยที่ 1
สื่อการสอน หน่วยที่ 1ครูเพชร
 
ใบความรู้ที่ 7
ใบความรู้ที่ 7ใบความรู้ที่ 7
ใบความรู้ที่ 7ครูเพชร
 
ใบความรู้ที่ 5
ใบความรู้ที่ 5ใบความรู้ที่ 5
ใบความรู้ที่ 5ครูเพชร
 
ใบความรู้ที่ 5 เพชร
ใบความรู้ที่ 5 เพชรใบความรู้ที่ 5 เพชร
ใบความรู้ที่ 5 เพชรครูเพชร
 
ใบความรู้ที่ 5 เพชร
ใบความรู้ที่ 5 เพชรใบความรู้ที่ 5 เพชร
ใบความรู้ที่ 5 เพชรครูเพชร
 
ใบความรู้ที่ 5
ใบความรู้ที่ 5ใบความรู้ที่ 5
ใบความรู้ที่ 5ครูเพชร
 
ใบความรู้ที่ 5
ใบความรู้ที่ 5ใบความรู้ที่ 5
ใบความรู้ที่ 5ครูเพชร
 
ใบความรู้ที่ 5 เพชร
ใบความรู้ที่ 5 เพชรใบความรู้ที่ 5 เพชร
ใบความรู้ที่ 5 เพชรครูเพชร
 
ใบความรู้ที่ 5
ใบความรู้ที่ 5ใบความรู้ที่ 5
ใบความรู้ที่ 5ครูเพชร
 
2. ใบความรู้ที่ 4
2. ใบความรู้ที่ 42. ใบความรู้ที่ 4
2. ใบความรู้ที่ 4ครูเพชร
 
2. ใบความรู้ที่ 1
2. ใบความรู้ที่ 12. ใบความรู้ที่ 1
2. ใบความรู้ที่ 1ครูเพชร
 

More from ครูเพชร (17)

ครูเพชร การแทรกรูปภาพลงในโปแกรมPower point
ครูเพชร การแทรกรูปภาพลงในโปแกรมPower pointครูเพชร การแทรกรูปภาพลงในโปแกรมPower point
ครูเพชร การแทรกรูปภาพลงในโปแกรมPower point
 
ครูเพชร การนำเสนอข้อมูลด้วยตาราง
ครูเพชร การนำเสนอข้อมูลด้วยตารางครูเพชร การนำเสนอข้อมูลด้วยตาราง
ครูเพชร การนำเสนอข้อมูลด้วยตาราง
 
สื่อการสอน หน่วยที่ 1
สื่อการสอน หน่วยที่ 1สื่อการสอน หน่วยที่ 1
สื่อการสอน หน่วยที่ 1
 
Research02
Research02Research02
Research02
 
ใบความรู้ที่ 7
ใบความรู้ที่ 7ใบความรู้ที่ 7
ใบความรู้ที่ 7
 
ใบความรู้ที่ 5
ใบความรู้ที่ 5ใบความรู้ที่ 5
ใบความรู้ที่ 5
 
ใบความรู้ที่ 5 เพชร
ใบความรู้ที่ 5 เพชรใบความรู้ที่ 5 เพชร
ใบความรู้ที่ 5 เพชร
 
ใบความรู้ที่ 5 เพชร
ใบความรู้ที่ 5 เพชรใบความรู้ที่ 5 เพชร
ใบความรู้ที่ 5 เพชร
 
ใบความรู้ที่ 5
ใบความรู้ที่ 5ใบความรู้ที่ 5
ใบความรู้ที่ 5
 
งานนำเสนอ5
งานนำเสนอ5งานนำเสนอ5
งานนำเสนอ5
 
งานนำเสนอ5
งานนำเสนอ5งานนำเสนอ5
งานนำเสนอ5
 
ใบความรู้ที่ 5
ใบความรู้ที่ 5ใบความรู้ที่ 5
ใบความรู้ที่ 5
 
ใบความรู้ที่ 5 เพชร
ใบความรู้ที่ 5 เพชรใบความรู้ที่ 5 เพชร
ใบความรู้ที่ 5 เพชร
 
ใบความรู้ที่ 5
ใบความรู้ที่ 5ใบความรู้ที่ 5
ใบความรู้ที่ 5
 
2. ใบความรู้ที่ 4
2. ใบความรู้ที่ 42. ใบความรู้ที่ 4
2. ใบความรู้ที่ 4
 
2. ใบความรู้ที่ 1
2. ใบความรู้ที่ 12. ใบความรู้ที่ 1
2. ใบความรู้ที่ 1
 
ซอฟต์แวร์
ซอฟต์แวร์ซอฟต์แวร์
ซอฟต์แวร์
 

2. ใบความรู้ที่ 5

  • 1. ใบความรู้ ที่ 5 รหัสวิชา ง32202 ชื่ อวิชา การสร้ างฐานข้ อมูลเบืองต้ น ้ ระดับชั้ นมัธยมศึกษาปี ที่ 5 หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 5 เรื่อง การสร้ างความสั มพันธ์ ระหว่ างตาราง จํานวน 4 คาบเรียน -------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------ในฐานข้อมูล เชิงสัมพันธ์ ( Relational Database) มักจะทํางานกับข้อมูลหลายๆ ตาราง เพื่อขจัด ปั ญหาความซํ้าซ้อนของข้อมูล ในการเชื่อมความสัมพันธ์ระหว่างตาราง 1. ประเภทของความสั มพันธ์ ระหว่ างตารางในฐานข้ อมูล แบ่งออกเป็ น 3 ประเภท ได้แก่ 1.1 ความสั มพันธ์ แบบหนึ่งต่ อหนึ่ง (One-to-One Relationship) ั จับคู่กน การสร้างความสัมพันธ์ระหว่างตารางในฐานข้อมูลแบบหนึ่งต่อหนึ่ง หมายถึง มีฟิลด์ขอมูล 1 ฟิ ลด์ที่ ้ ตัวอย่ างเช่ น อาจารย์ กบคอมพิวเตอร์ หากกําหนดว่า อาจารย์ 1 คน จะมีคอมพิวเตอร์ 1 เครื่ อง และ ั เครื่ องคอมพิวเตอร์ 1 เครื่ อง จะต้องเป็ นของอาจารย์คนเดียวเท่านั้น อาจารย์ คอมพิวเตอร์ • ตัวอย่ างที่ 1 • ความสั มพันธ์ แบบหนึ่งต่ อหนึ่ง ตัวอย่ างที่ 2 สถาบันการศึกษาแห่งหนึ่ง กําหนดว่า อาจารย์แต่ละคนจะมีนกศึกษาในความดูแลของตนได้เพียง 1 ั คน ในขณะที่นกศึกษาแต่ละคนก็จะมีอาจารย์ที่ปรึ กษาโครงงานได้เพียงคนเดียว จึงสามารถแสดงตารางที่ใช้ ั เก็บข้อมูล ได้ดงนี้ ั อาจารย์ นักศึกษา รหัสอาจารย์ ทปรึกษา ี่ 60 01 11 80 ชื่ออาจารย์ ทปรึกษา ี่ นายธนู อินจันทร์ น.ส.อารี ย ์ ฤทัยชื่น น.ส.นุชนาฎ พาสุข นายเฉลิมชัย ขวัญเมือง รหัสนักศึกษา 1006 4113 3102 6214 ชื่อนักศึกษา นายธานี ศรี สุดใจ น.ส.สุดา ชัยอนันต์ น.ส.มาลี ตะวันแดง นายคมศร สว่างใจ
  • 2. จากตารางข้างต้น พิจารณาแล้วจะพบว่าในตารางดังกล่าวมีขอมูล 2 ชนิดรวมกันอยู่ คือ ข้อมูลของ ้ อาจารย์ที่ปรึ กษา และข้อมูลของนักศึกษา จึงอาจทําให้เกิดปั ญหาการเลือกแอททริ บิวต์ที่จะเป็ นคียหลัก ์ เพราะทั้งรหัสอาจารย์ที่ปรึ กษาและรหัสนักศึกษา ต่างก็สามารถใช้เป็ นคียหลักได้เช่นกัน ดังนั้น หากเลือก ์ รหัสอาจารย์ที่ปรึ กษาเป็ นคียหลักแล้ว รหัสนักศึกษาก็จะกลายเป็ น คีย์ค่ ูแข่ ง (Candidate Key) หรื อ คีย์รอง ์ (Alternate Key) ไปทันที ดังนั้น หากมีการแยกเก็บข้อมูลแต่ละเอนทิตีไว้คนละตาราง จะได้ดงนี้ ั อาจารย์ ทปรึกษา ี่ รหัสอาจารย์ 60 01 11 80 ชื่ออาจารย์ นายธนู อินจันทร์ น.ส.อารี ย ์ ฤทัยชื่น น.ส.นุชนาฎ พาสุข นายเฉลิมชัย ขวัญเมือง รหัสนักศึกษา 1006 4113 3102 6214 รหัสนักศึกษา 1006 4113 3102 6214 ชื่อนักศึกษา นายธานี ศรี สุดใจ น.ส.สุดา ชัยอนันต์ น.ส.มาลี ตะวันแดง นายคมศร สว่างใจ รหัสอาจารย์ 60 01 11 80 นักศึกษา จากตารางทั้งสองข้างต้น ตารางอาจารย์ที่ปรึ กษาจะใช้รหัสอาจารย์ที่ปรึ กษาเป็ นคียหลัก ส่ วนตาราง ์ นักศึกษา ใช้รหัสนักศึกษาเป็ นคียหลัก ความสัมพันธ์ระหว่างเอนทิตีท้งสองจึงกําหนดใช้ คีย์นอก (Foreign ์ ั Key) ทําให้ตารางอาจารย์ที่ปรึ กษา มีรหัสนักศึกษาเป็ นคียนอก เพื่ออ้างอิงถึงข้อมูลในตารางนักศึกษา ส่ วน ์ ในตารางนักศึกษาจะมีรหัสอาจารย์ที่ปรึ กษาเป็ นคียนอก เพื่ออ้างอิงถึงข้อมูลในตารางอาจารย์ที่ปรึ กษา และ ์ ํ ่ คียนอกที่กาหนดก็จะปรากฏอยูในแต่ละตาราง เพียงครั้งเดียว เนื่องจากเป็ นความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อหนึ่ง ์ นันเอง ่ 1.2 ความสั มพันธ์ แบบหนึ่งต่ อกลุ่ม (One-to-Many Relationship) การสร้างความสัมพันธ์ระหว่างตารางฐานข้อมูลแบบหนึ่งต่อกลุ่ม หมายถึง มีฟิลด์ ข้อมูล 1 ฟิ ลด์ที่ ั จับคู่กบฟิ ลด์ขอมูลหลายฟิ ลด์ในตารางอื่น แต่ฟิลด์ในตารางนั้นจับคู่ได้เพียงแค่ฟิลด์เดียว ้ ตัวอย่ างเช่ น อาจารย์ กบวิชา หากกําหนดว่า วิชา 1 วิชา จะมีอาจารย์สอนได้เพียง 1 คนเท่านั้น แต่ ั อาจารย์ 1 คน สามารถสอนได้หลายวิชา
  • 3. ตัวอย่ างที่ 1 อาจารย์ วิชา • ความสั มพันธ์ แบบหนึ่งต่ อกลุ่ม ตัวอย่ างที่ 2 ตารางนักศึกษาและตารางอาจารย์ที่ปรึ กษา โดยในตารางนักศึกษาจะเพิ่มสดมภ์อีก 1 สดมภ์ เพื่อเก็บ ค่ารหัสอาจารย์ที่ปรึ กษาที่ดูแลตนอยู่ และค่าของรหัสอาจารย์ที่ปรึ กษานี้ ก็จะเป็ นคียหลักในตารางอาจารย์ที่ ์ ปรึ กษาด้วย ดังแสดงในตารางต่อไปนี้ นักศึกษา อาจารย์ทปรึกษา ี่ รหัสอาจารย์ ที่ รหัสอาจารย์ทปรึกษา ี่ ชื่ออาจารย์ รหัสนักศึกษา ชื่อนักศึกษา 1006 4113 3102 6214 8104 4412 8302 นายธานี น.ส.สุดา น.ส.มาลี นายคมศร นายอาวุธ น.ส.อัจฉรา น.ส.สมใจ ปรึกษา 60 01 11 80 01 60 60 60 01 11 80 อ.ธนู อ.อารี ย ์ อ.นุชนาฎ อ.เฉลิมชัย ่ จากตารางข้ างต้ น ข้อมูลนักศึกษาแต่ละคนจะอยูในแต่ละแถวของตารางนักศึกษา และค่าของรหัส ่ อาจารย์ที่ปรึ กษาในแต่ละแถวของตารางนักศึกษาจะมีเพียงค่าเดียว ซึ่ งเป็ นความสัมพันธ์วา นักศึกษาแต่ละ คนจะมีอาจารย์ที่ปรึ กษาดูแลเพียงคนเดียว ส่ วนตารางอาจารย์ที่ปรึ กษาจะไม่มีขอมูลของนักศึกษาเก็บอยูเ่ ลย ้ ดังนั้น ถ้าต้องการทราบว่าอาจารย์ที่ปรึ กษาแต่ละคนมีนกศึกษาในความดูแลเป็ นใครบ้าง จะต้องไล่ดูรหัส ั อาจารย์ที่ปรึ กษาคนนั้นในตารางนักศึกษา ซึ่ งอาจจะมีมากกว่าหนึ่งแถว เป็ นการแสดงว่า อาจารย์ที่ปรึ กษาแต่ ละคนมีนกศึกษาในความดูแลได้หลายคน ตัวอย่างเช่น อาจารย์ที่ปรึ กษาที่ชื่อ อ.ธนู มีนกศึกษาในความดูแล ั ั 3 คน คือ นายธานี น.ส.อัจฉรา และน.ส.สมใจ 1.3 ความสั มพันธ์ แบบกลุ่มต่ อกลุ่ม (Many-to-Many Relationship) การสร้างความสัมพันธ์ระหว่างตารางฐานข้อมูลแบบกลุ่มต่อกลุ่ม หมายถึง มีฟิลด์ขอมูลหลายฟิ ลด์ที่ ้ ั จับคู่กนระหว่างตาราง
  • 4. ตัวอย่ างเช่ น นักเรียนกับวิชา หากกําหนดว่า นักเรี ยนแต่ละคนสามารถเรี ยนได้หลายวิชา และแต่ละ วิชาก็สามารถมีนกเรี ยนเรี ยนได้หลายคน ั ตัวอย่ างที่ 1 นักเรียน วิชา ความสั มพันธ์ แบบกลุ่มต่ อกลุ่ม ตัวอย่ างที่ 2 ยกตัวอย่าง กรณี การลงทะเบียนเรี ยนในสถาบันการศึกษาแห่งหนึ่ง กําหนดว่า การลงทะเบียนเรี ยน ่ แต่ละครั้งนักศึกษาสามารถลงทะเบียนเรี ยนได้มากกว่า 1 วิชา ซึ่ งวิชาแต่ละวิชาก็อาจปรากฏอยูในใบ ลงทะเบียนของนักศึกษามากกว่า 1 คน ดังนั้น ความสั มพันธ์ ระหว่ างการลงทะเบียนและรายวิชา จะเป็ นแบบ กลุ่มต่ อกลุ่ม กรณี เช่นนี้จะต้องสร้างตารางขึ้นใหม่ ใช้ชื่อว่า ตารางรายการลงทะเบียน เพื่อให้ตารางใหม่น้ ี เป็ นตารางที่จะสร้างความสัมพันธ์ของตารางรายการลงทะเบียน กับ ตารางรายวิชา ซึ่ งในตารางรายการ ลงทะเบียนจะประกอบด้วยแอททริ บิวต์หมายเลขใบลงทะเบียน และรหัสวิชาที่ลงทะเบียน ดังแสดงในตาราง ต่อไปนี้ การลงทะเบียน รายวิชา หมายเลขใบ วันที่ จํานวน รหัสนักศึกษา รหัสวิชา ชื่อวิชา ลงทะเบียน ลงทะเบียน หน่ วยกิต 2101 01/05/46 4113 410-101 ภาษาไทย - 1 2 2102 09/05/46 3102 410-102 ภาษาไทย - 2 2 2103 10/05/46 1006 510-101 ภาษาอังกฤษ - 1 2 2104 10/05/46 8104 510-102 ภาษาอังกฤษ - 2 2 630-101 พลศึกษา 1 630-102 ตรรกศาสตร์ 3
  • 5. รายการลงทะเบียน หมายเลขใบลงทะเบียน 2101 2101 2101 2102 2102 2103 2103 2103 2104 2104 รหัสวิชา 410-102 630-101 630-102 510-102 630-101 410-102 510-101 630-102 410-101 510-101 จากตาราง หากต้องการทราบว่าใบ ลงทะเบียนหมายเลข 2102 มีการลงทะเบียน เรี ยนวิชาใดบ้าง เราจะเริ่ มดูขอมูลในตาราง ้ รายการลงทะเบียน โดยดูแถวที่มีหมายเลข ใบลงทะเบียนเป็ นหมายเลข 2102 แล้วใช้ รหัสวิชาที่หาได้จากตารางนี้ ไปดูขอมูลของ ้ วิชานั้นในตารางรายวิชา พบว่า จํานวนแถว ของข้อมูลที่เป็ นหมายเลขใบลงทะเบียน 2102 มีมากกว่า 1 แถว 2. วิธีการสร้ างความสั มพันธ์ ระหว่ างตารางในฐานข้ อมูล วิธีการสร้ างความสั มพันธ์ ระหว่ างตาราง แบบหนึ่งต่ อหนึ่ง ั — ตารางที่มีเขตข้อมูลสัมพันธ์กนหนึ่งเขตข้อมูล ซึ่ งก่อนสร้างความสัมพันธ์ตองปิ ด ้ ตารางทั้งหมดลงเสี ยก่อน แล้วไปที่แท็บเครื่ องมือฐานข้อมูล คลิกปุ่ มคําสังความสัมพันธ์ จะเปิ ดแท็บ ่ บริ บทเครื่ องมือการทําความสัมพันธ์ ที่แท็บออกแบบให้คลิกแสดงตารางที่ตองการสร้าง ้ ความสัมพันธ์ออกมา แล้วดับเบิลคลิกเพิ่มชื่อตารางที่ตองการสร้างความสัมพันธ์ จากนั้นจึงลากชื่อ ้ เขตข้อมูลที่เหมือนกันของทั้งสองตาราง ให้ตรงกัน เมื่อแผ่นงานแก้ไขความสัมพันธ์ปรากฏขึ้นมาให้ คลิกเลือก บังคับให้มี Referential Integrity ซึ่ งหมายความว่า ระบบของกฎต่าง ๆ ที่ Access 2007 ใช้ ่ ั เพื่อให้ มันใจได้วาความสัมพันธ์ระหว่างระเบียนในตารางที่สัมพันธ์กนนั้นถูกต้อง และจะต้องไม่ ่ ั ลบหรื อ เปลี่ยนแปลงข้อมูลที่มีความสัมพันธ์กนโดยบังเอิญ เริ่ มต้นสร้างความสัมพันธ์จากการคลิกปุ่ มคําสั่ง ความสัมพันธ์ บนแท็บเครื่ องมือฐานข้อมูล
  • 6. คําสังแสดงตารางในแท็บออกแบบของแท็บเครื่ องมือการทําความสัมพันธ์ ่ คําสั่งเพิ่มแสดงตารางข้อมูล นักศึกษาและบัตรลงทะเบียน เมื่อลากชื่อเขตข้อมูล studentID ข้ามตารางแล้ว ให้คลิกเลือกบังคับให้มี Referential Integrity เส้ นความสั มพันธ์ เป็ น แบบหนึ่งต่ อหนึ่ง วิธีการสร้ างความสั มพันธ์ ระหว่ างตาราง แบบหนึ่งต่ อกลุ่มและกลุ่มต่ อกลุ่ม ั ตารางที่มีเขตข้อมูลสัมพันธ์กนหนึ่งเขตข้อมูล ซึ่ งก่อนสร้างความสัมพันธ์ตองปิ ด ตารางทั้งหมดลง ้ เสี ยก่อน แล้วไปที่แท็บเครื่ องมือฐานข้อมูล คลิกปุ่ มคําสั่งความสัมพันธ์ จะเปิ ด แท็บบริ บทเครื่ องมือการทํา ความสัมพันธ์ ที่แท็บออกแบบให้คลิกแสดงตารางที่ตองการสร้าง ความสัมพันธ์ออกมา แล้วดับเบิลคลิกเพิ่ม ้ ชื่อตารางที่ตองการสร้างความสัมพันธ์ จากนั้นจึงลากชื่อ เขตข้อมูลที่ตรงกันของทั้งสองตาราง เมื่อแผ่นงาน ้ แก้ไขความสัมพันธ์ปรากฏขึ้นมาให้คลิกเลือก บังคับให้มี Referential Integrity
  • 7. คําสังแสดงตารางทั้งหมด 6 ตาราง ่ เมื่อลากชื่อเขตข้อมูล divisionID ข้ามตารางแล้วให้คลิกเลือกบังคับให้มี Referential Integrity เส้นความสัมพันธ์เป็ นแบบหนึ่งต่อหนึ่ง แบบหนึ่งต่อกลุ่ม และแบบกลุ่มต่อกลุ่ม