SlideShare a Scribd company logo
1 of 6
ใบความรู้ที่ 4
เรื่อง การจัดการข้อมูลและการแทนข้อมูล
รายวิชา การงานอาชีพและเทคโนโลยี (งานคอมพิวเตอร์)
ชั้น ม.4
การจัดการข้อมูล
การจัดการข้อมูล หมายถึง การจัดเก็บข้อมูล การ
เรียกใช้ข้อมูล รวมถึงการวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อการใช้งาน เช่น ในการ
เรียกใช้ข้อมูลเมื่อมีคนไข้มาติดต่อ เจ้าหน้าที่จะต้องค้นหาข้อมูลเดิม
ของคนไข้ ทางหนึ่งที่ทำาได้คือตรวจดูข้อมูลบนบัตรแบบฟอร์มทีละใบ
ตั้งแต่ใบแรกจนพบ การค้นหาวิธีนี้อาจต้องเสียเวลาบ้าง แต่หากการ
จัดเก็บข้อมูลมีการจัดเรียงชื่อตามตัวอักษร เช่น ก ข ค... ไว้แล้ว
เมื่อทราบชื่อคนไข้และค้นหาตามตัวอักษรก็จะพบ ข้อมูลได้เร็วขึ้น
ประโยชน์ของการจัดข้อมูล
1. สามารถค้นข้อมูล/สารสนเทศ ที่อยู่ในแฟ้มข้อมูลและทำาการ
ปรับปรุง ข้อมูลให้ทันสมัยได้ตลอดเวลา
2. สามารถประมวลผลชุดคำาสั่งที่เก็บไว้ในแฟ้มข้อมูลได้
3. สามารถสร้างตั้งชื่อและเก็บแฟ้มข้อมูลนั้นไว้ใช้ประโยชน์ต่อ
ไปได้
4. สามารถสร้างสำาเนา ย้ายและลบแฟ้มข้อมูลเมื่อไม่มีความ
จำาเป็นในการใช้งานแล้ว
5. สามารถทำาการโอนย้ายแฟ้มข้อมูลในระบบเครือข่าย
คอมพิวเตอร์ได้
6. สามารถรับแฟ้มข้อมูลจากโปรแกรมอื่นเข้ามาสู่แฟ้มข้อมูล
เพื่อการใช้งานร่วมกันได้
โครงสร้างข้อมูล
1) บิต ดังที่ได้เคยกล่าวไว้ว่า บิตคือตัวเลขโดยใน
ระบบเลขฐานสอง ซึ่งมีค่าได้เพียง 0 หรือ 1 บิต เป็นหน่วยข้อมูลทีเล็ก
ที่สุดในการแทนข้อมูลในคอมพิวเตอร์
2) อักขระ (Character) ซึ่งเป็นได้ทั้งตัวเลข ตัวอักษร
เครื่องหมายหรือสัญลักษณ์พิเศษ อักขระนี้เป็นส่วนที่เล็กที่สุดของข้อมูล
ซึ่งมักจะไม่มีความหมายเพราะเป็นเพียงหน่วยย่อย ๆ เท่านั้นเองการ
แทนอักขระแต่ละตัวในคอมพิวเตอร์ใช้เลขฐานสองจำานวน 8 บิต ซึ่งเรา
เรียกอีกอยางหนึ่งว่า ไบต์
3) เขตข้อมูล (Field) เป็นหน่วยข้อมูลที่กำาหนดขึ้นมาแทน
ความหมายใดความหมายหนึ่ง เขตข้อมูลจะเกิดจากการนำาอักขระที่
เกี่ยวข้อง มารวมเข้าด้วยกัน เช่น ชื่อ- นามสกุล ก็ทำาให้ ทราบว่าเป็น
บุคคลใด
4) ระเบียนข้อมูล (Record) เกิดจากการนำาข้อมูลที่เกี่ยวข้อง
หรือ สัมพันธ์กันมารวมเข้าด้วยกัน ก่อให้เกิดความหมายที่ชัดเจนยิ่งขึ้น
ระเบียนข้อมูลประระกอบด้วย เขตข้อมูลตั้งแต่หนึ่งเขตขึ้นไป เช่น ชื่อ –
นามสกุล ของนักเรียนกับ คะแนนจากการสอบ
5) แฟ้มข้อมูล (File) เกิดจากการรวมระเบียนหลาย ๆ ระเบียน
ที่มีความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กันเข้าด้วยกัน เช่น แฟ้มข้อมูลของนักเรียน
ชั้นม. 4/1 ก็จะรวบรวมข้อมูลนักเรียนเฉพาะม.4/1 เท่านั้น ซึ่งแฟ้ม
ข้อมูลจะประกอบด้วยระเบียนข้อมูลตั้งแต่หนึ่งระเบียนขึ้นไป
6) ฐานข้อมูล (Database) เกิดจากการนำาแฟ้มข้อมูลมารวม
กันโดยใช้หลักการเพื่อไม่ให้ข้อมูลเกิดความซำ้าซ้อนในการจัดเก็บ เช่น
ฐานข้อมูลนักเรียนของโรงเรียนศูนย์ศึกษาคอมพิวเตอร์
การแบ่งลำาดับชั้นของการจัดการข้อมูล
ในการจัดการข้อมูลนั้นจะมีการจัดแบ่งข้อมูลออกเป็นลำาดับชั้น
เพื่อง่ายต่อการเรียกใช้และประมวลผล ดังต่อไปนี้
การแทนข้อมูล
การทำางานของเครื่องคอมพิวเตอร์ใช้สัญญาณอิเล็กทรอนิกส์ซึ่งมี
สองสถานะคือปิดและเปิด จึงมีการกำาหนดให้ใช้ตัวเลข 0 และ 1 แทน
สถานะทั้งสอง และมีการกำาหนดรหัสแทนอักขระด้วยชุดของตัวเลขซึ่ง
ประกอบด้วยเลข 0 และ 1 ซึ่งเป็นตัวเลขในระบบเลขฐานสอง (binary
digit)ตัวเลขแต่ละหลักของจำานวนในระบบเลขฐานสองเราเรียกว่าบิต
(bit) ดังนั้นจำานวน 1011 จึงเป็นเป็นเลขฐานที่มีจำานวน 4 บิต การใช้
เลขฐานสองมาแทนอักขระต่าง ๆ จะพบว่า ถ้าใช้ตัวเลขฐานสอง 4 บิต
จะแทนอักขระได้ทั้งหมด 16 แบบ ดังนี้
0000 0001 0010 0011
0100 0101 0110 0111
1000 1001 1010 1011
1100 1101 1101 1111
เพื่อให้การแทนอักขระต่าง ๆ ด้วยตัวเลขฐานสองได้ครบจึง
มีการกำาหนดให้ใช้ตัวเลขฐานสอง 8 บิต ซึ่งเรียกว่า 1 ไบต์(byte)
แทนตัวอักษร 1 ตัวเช่น 10000010 ใช้แทนอักษร A , 01000010
ฐาน
ข้อมูล
(Databas
e)
ไฟล์
(File)
ไฟล์
(File)
เรคอร์ด
(Record)
เรคอร์ด
(Record)
ฟิลด์
(Field)
ฟิลด์
(Field)
ไบต์
(Byte)
ไบต์
(Byte)
บิต
(Bit)
บิต
(Bit)
ใช้แทนอักษร B รหัสที่ใช้แทนตัวอักขระที่เป็นมาตรฐานแบบหนึ่ง เรียก
ว่ า ร หั ส แ อ ส กี (American Standard Code for Information
Interchange : ASCII) ตัวเลขฐานสอง 8 บิต หรือ 1 ไบต์สามารถใช้
แทนรหัสต่าง ๆ ได้ถึง 256 ตัวแต่รหัสตัวอักษรภาษาอังกฤษทั้งหมดมี
จำานวนรวมกันไม่เกิน 128 ตัวดังนั้นสำานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์
อุตสาหกรรมจึงได้กำาหนดรหัสภาษาไทยเพิ่มเติมเพื่อให้ใช้ในงาน
สารสนเทศเป็นภาษาไทยได้ เช่น 10000101 ใช้แทน ก รหัสแอสกีที่
มีรหัสภาษาไทย
จากการที่เลขฐานสอง 1 ไบต์ ใช้แทนรหัสได้ 1 ตัวอักขระ ดังนั้นถ้ามี
ข้อความที่ประกอบด้วยตัวอักษรหลายตัวก็ใช้รหัสเลขฐานสองหลาย
ไบต์เรียงต่อกัน เช่น
A MAN ใ ช้ 01000001 00100000 01001101
01000001 01000111
รหัส 01000001 แทนตัวอักษร A
00100000 แทนช่องว่าง
01001101 แทนตัวอักษร M
01000111 แทนตัวอักษร N
แฟ้มข้อมูล
สมมุติว่า ต้องการเก็บชื่อนักเรียนและคะแนนสอบของนักเรียนใน
ชั้น ซึ่งประกอบด้วยการสอบย่อยสองครั้ง และการสอบไล่หนึ่งครั้ง
ลักษณะของข้อมูลที่จัดเก็บสามารถสร้างเป็นแฟ้ม (file) ได้ โดยในแฟ้ม
จะมีรายการของนักเรียนแต่ละคน ซึ่งเรียกว่าระเบียน (record) ภายใน
ระเบียนจะมีกลุ่มข้อมูลย่อยเรียกว่า เขตข้อมูล (field)
แฟ้มข้อมูล
ประวัติการเรียน
วิชาคอมพิวเตอร์
เลขประจำาตัว : 39415
ชื่อ : ด.ช. ขยัน รักเรียน
สอบครั้งที่ 1 72
สอบครั้งที่ 2 80
โดยปกติแฟ้มข้อมูลอาจเขียนในรูปตารางแทนได้ดังนี้
ตารางแสดงผลการเรียนของนักเรียนในวิชาคอมพิวเตอร์
เลข
ประจำา
ตัว
ชื่อ สอบ
ครั้งที่
1
สอบ
ครั้งที่
2
สอบไล่
39415
39410
39411
.
.
.
ด.ช. ขยัน รักเรียน
ด.ช. สมคิด ดีมา
เลิศ
ด.ช. วิจิตร สุข
สถาพร
72
65
71
.
.
.
80
70
71
.
.
.
85
72
80
.
.
.
เมื่อแทนแฟ้มด้วยตาราง แต่ละบรรทัดของข้อมูลคือระเบียนนั่นเอง
ภายในระเบียนก็มีข้อมูลหลายกลุ่ม แต่ละกลุ่มก็คือเขตข้อมูล เราอาจ
เรียกชื่อสดมภ์ว่า ชื่อเขตข้อมูลได้ เช่น เขตข้อมูลเลขประจำาตัว เขต
ข้อมูลชื่อ
โดยปกติแฟ้มข้อมูลอาจเขียนในรูปตารางแทนได้ดังนี้
ตารางแสดงผลการเรียนของนักเรียนในวิชาคอมพิวเตอร์
เลข
ประจำา
ตัว
ชื่อ สอบ
ครั้งที่
1
สอบ
ครั้งที่
2
สอบไล่
39415
39410
39411
.
.
.
ด.ช. ขยัน รักเรียน
ด.ช. สมคิด ดีมา
เลิศ
ด.ช. วิจิตร สุข
สถาพร
72
65
71
.
.
.
80
70
71
.
.
.
85
72
80
.
.
.
เมื่อแทนแฟ้มด้วยตาราง แต่ละบรรทัดของข้อมูลคือระเบียนนั่นเอง
ภายในระเบียนก็มีข้อมูลหลายกลุ่ม แต่ละกลุ่มก็คือเขตข้อมูล เราอาจ
เรียกชื่อสดมภ์ว่า ชื่อเขตข้อมูลได้ เช่น เขตข้อมูลเลขประจำาตัว เขต
ข้อมูลชื่อ

More Related Content

What's hot

การเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรมการเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรมSupaporn Khiewwan
 
นวลลออ ถาวรโรจน์เสถียร เลขที่20 ม.5
นวลลออ ถาวรโรจน์เสถียร เลขที่20 ม.5นวลลออ ถาวรโรจน์เสถียร เลขที่20 ม.5
นวลลออ ถาวรโรจน์เสถียร เลขที่20 ม.5Nuanlaor Nuan
 
เอกสารการสอนเรื่อง การเขียนบรรณานุกรม58
เอกสารการสอนเรื่อง การเขียนบรรณานุกรม58เอกสารการสอนเรื่อง การเขียนบรรณานุกรม58
เอกสารการสอนเรื่อง การเขียนบรรณานุกรม58Supaporn Khiewwan
 
Chapter4 lecture
Chapter4 lectureChapter4 lecture
Chapter4 lecturesupimon1956
 
ลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูล
ลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูลลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูล
ลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูลปิยะดนัย วิเคียน
 
การจัดเอกสาร
การจัดเอกสารการจัดเอกสาร
การจัดเอกสารkoratswpark
 
การเขียนรายงาน58
การเขียนรายงาน58การเขียนรายงาน58
การเขียนรายงาน58Supaporn Khiewwan
 
การใช้เทคโนโลยีในการนำเสนองาน
การใช้เทคโนโลยีในการนำเสนองานการใช้เทคโนโลยีในการนำเสนองาน
การใช้เทคโนโลยีในการนำเสนองานTae Pheemaphon
 
บทที่ 3 ฐานข้อมูลและการค้นคืน
บทที่ 3 ฐานข้อมูลและการค้นคืนบทที่ 3 ฐานข้อมูลและการค้นคืน
บทที่ 3 ฐานข้อมูลและการค้นคืนSrion Janeprapapong
 
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภท
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภท
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทSorpor 'eiei
 
วิธีการสืบค้นและเทคนิคการค้นคืน
วิธีการสืบค้นและเทคนิคการค้นคืนวิธีการสืบค้นและเทคนิคการค้นคืน
วิธีการสืบค้นและเทคนิคการค้นคืนSrion Janeprapapong
 

What's hot (14)

บท1
บท1บท1
บท1
 
การเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรมการเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรม
 
Webopac
WebopacWebopac
Webopac
 
นวลลออ ถาวรโรจน์เสถียร เลขที่20 ม.5
นวลลออ ถาวรโรจน์เสถียร เลขที่20 ม.5นวลลออ ถาวรโรจน์เสถียร เลขที่20 ม.5
นวลลออ ถาวรโรจน์เสถียร เลขที่20 ม.5
 
เอกสารการสอนเรื่อง การเขียนบรรณานุกรม58
เอกสารการสอนเรื่อง การเขียนบรรณานุกรม58เอกสารการสอนเรื่อง การเขียนบรรณานุกรม58
เอกสารการสอนเรื่อง การเขียนบรรณานุกรม58
 
Chapter4 lecture
Chapter4 lectureChapter4 lecture
Chapter4 lecture
 
ลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูล
ลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูลลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูล
ลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูล
 
การจัดเอกสาร
การจัดเอกสารการจัดเอกสาร
การจัดเอกสาร
 
Research02
Research02Research02
Research02
 
การเขียนรายงาน58
การเขียนรายงาน58การเขียนรายงาน58
การเขียนรายงาน58
 
การใช้เทคโนโลยีในการนำเสนองาน
การใช้เทคโนโลยีในการนำเสนองานการใช้เทคโนโลยีในการนำเสนองาน
การใช้เทคโนโลยีในการนำเสนองาน
 
บทที่ 3 ฐานข้อมูลและการค้นคืน
บทที่ 3 ฐานข้อมูลและการค้นคืนบทที่ 3 ฐานข้อมูลและการค้นคืน
บทที่ 3 ฐานข้อมูลและการค้นคืน
 
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภท
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภท
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภท
 
วิธีการสืบค้นและเทคนิคการค้นคืน
วิธีการสืบค้นและเทคนิคการค้นคืนวิธีการสืบค้นและเทคนิคการค้นคืน
วิธีการสืบค้นและเทคนิคการค้นคืน
 

Similar to การจัดการข้อมูลและการแทนข้อมูล

02ข้อมูลสารสนเทศความรู้
02ข้อมูลสารสนเทศความรู้02ข้อมูลสารสนเทศความรู้
02ข้อมูลสารสนเทศความรู้KruJarin Mrw
 
นางสาวมลทิรา เอกกุล
นางสาวมลทิรา  เอกกุลนางสาวมลทิรา  เอกกุล
นางสาวมลทิรา เอกกุลmiwmilk
 
นางสาว มลทิรา เอกกุล ม.5
นางสาว มลทิรา   เอกกุล ม.5นางสาว มลทิรา   เอกกุล ม.5
นางสาว มลทิรา เอกกุล ม.5miwmilk
 
ใบความรู้ที่ 5 เรื่อง ข้อมูล สารสนเทศ และการประมวลผล
ใบความรู้ที่  5 เรื่อง ข้อมูล สารสนเทศ และการประมวลผลใบความรู้ที่  5 เรื่อง ข้อมูล สารสนเทศ และการประมวลผล
ใบความรู้ที่ 5 เรื่อง ข้อมูล สารสนเทศ และการประมวลผลเทวัญ ภูพานทอง
 
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสารสนเทศ
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสารสนเทศบทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสารสนเทศ
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสารสนเทศchushi1991
 
6 1-ความรู้เกี่ยวกับข้อมูล
6 1-ความรู้เกี่ยวกับข้อมูล6 1-ความรู้เกี่ยวกับข้อมูล
6 1-ความรู้เกี่ยวกับข้อมูลpatmalya
 
กระบวนการวิเคราะห์และกำหนดความต้องการสารสนเทศ
กระบวนการวิเคราะห์และกำหนดความต้องการสารสนเทศกระบวนการวิเคราะห์และกำหนดความต้องการสารสนเทศ
กระบวนการวิเคราะห์และกำหนดความต้องการสารสนเทศsupimon1956
 
การจัดเก็บข้อมูล
การจัดเก็บข้อมูลการจัดเก็บข้อมูล
การจัดเก็บข้อมูลsa
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศKewalin Kaewwijit
 
บทที่ 2 ข้อมูลสารสนเทศ
บทที่ 2 ข้อมูลสารสนเทศบทที่ 2 ข้อมูลสารสนเทศ
บทที่ 2 ข้อมูลสารสนเทศnawapornsattasan
 
สาระน่ารู้เทคโนโลยีสารสนเทศ
สาระน่ารู้เทคโนโลยีสารสนเทศสาระน่ารู้เทคโนโลยีสารสนเทศ
สาระน่ารู้เทคโนโลยีสารสนเทศKaii Eiei
 
กลุ่ม4สารสนเทศ 5.2
กลุ่ม4สารสนเทศ 5.2กลุ่ม4สารสนเทศ 5.2
กลุ่ม4สารสนเทศ 5.2BoOm mm
 
หน่วยที่ 6
หน่วยที่ 6หน่วยที่ 6
หน่วยที่ 6ratiporn555
 
นพรัตน์ เสตะกลัพม์
นพรัตน์ เสตะกลัพม์นพรัตน์ เสตะกลัพม์
นพรัตน์ เสตะกลัพม์filjerpark
 
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงานใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงานPrach Sommana
 
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงานใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงานThanaporn Klinfung
 

Similar to การจัดการข้อมูลและการแทนข้อมูล (20)

02ข้อมูลสารสนเทศความรู้
02ข้อมูลสารสนเทศความรู้02ข้อมูลสารสนเทศความรู้
02ข้อมูลสารสนเทศความรู้
 
นางสาวมลทิรา เอกกุล
นางสาวมลทิรา  เอกกุลนางสาวมลทิรา  เอกกุล
นางสาวมลทิรา เอกกุล
 
นางสาว มลทิรา เอกกุล ม.5
นางสาว มลทิรา   เอกกุล ม.5นางสาว มลทิรา   เอกกุล ม.5
นางสาว มลทิรา เอกกุล ม.5
 
ใบความรู้ที่ 5 เรื่อง ข้อมูล สารสนเทศ และการประมวลผล
ใบความรู้ที่  5 เรื่อง ข้อมูล สารสนเทศ และการประมวลผลใบความรู้ที่  5 เรื่อง ข้อมูล สารสนเทศ และการประมวลผล
ใบความรู้ที่ 5 เรื่อง ข้อมูล สารสนเทศ และการประมวลผล
 
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสารสนเทศ
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสารสนเทศบทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสารสนเทศ
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสารสนเทศ
 
6 1-ความรู้เกี่ยวกับข้อมูล
6 1-ความรู้เกี่ยวกับข้อมูล6 1-ความรู้เกี่ยวกับข้อมูล
6 1-ความรู้เกี่ยวกับข้อมูล
 
กระบวนการวิเคราะห์และกำหนดความต้องการสารสนเทศ
กระบวนการวิเคราะห์และกำหนดความต้องการสารสนเทศกระบวนการวิเคราะห์และกำหนดความต้องการสารสนเทศ
กระบวนการวิเคราะห์และกำหนดความต้องการสารสนเทศ
 
การจัดเก็บข้อมูล
การจัดเก็บข้อมูลการจัดเก็บข้อมูล
การจัดเก็บข้อมูล
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศ
 
บทที่ 2 ข้อมูลสารสนเทศ
บทที่ 2 ข้อมูลสารสนเทศบทที่ 2 ข้อมูลสารสนเทศ
บทที่ 2 ข้อมูลสารสนเทศ
 
สาระน่ารู้เทคโนโลยีสารสนเทศ
สาระน่ารู้เทคโนโลยีสารสนเทศสาระน่ารู้เทคโนโลยีสารสนเทศ
สาระน่ารู้เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
กลุ่ม4สารสนเทศ 5.2
กลุ่ม4สารสนเทศ 5.2กลุ่ม4สารสนเทศ 5.2
กลุ่ม4สารสนเทศ 5.2
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ
 
หน่วยที่ 6
หน่วยที่ 6หน่วยที่ 6
หน่วยที่ 6
 
Research-tools 2014
Research-tools 2014Research-tools 2014
Research-tools 2014
 
นพรัตน์ เสตะกลัพม์
นพรัตน์ เสตะกลัพม์นพรัตน์ เสตะกลัพม์
นพรัตน์ เสตะกลัพม์
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
 
แนวการสอบ ม.4
แนวการสอบ ม.4แนวการสอบ ม.4
แนวการสอบ ม.4
 
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงานใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
 
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงานใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
 

More from Kru Jhair

ข้อสอบซ่อม ม.4
ข้อสอบซ่อม ม.4ข้อสอบซ่อม ม.4
ข้อสอบซ่อม ม.4Kru Jhair
 
การจัดการข้อมูลและการแทนข้อมูล
การจัดการข้อมูลและการแทนข้อมูลการจัดการข้อมูลและการแทนข้อมูล
การจัดการข้อมูลและการแทนข้อมูลKru Jhair
 
สารสนเทศ
สารสนเทศสารสนเทศ
สารสนเทศKru Jhair
 
สารสนเทศ
สารสนเทศสารสนเทศ
สารสนเทศKru Jhair
 
องค์ประกอบระบบคอม ของนร.ม.4
องค์ประกอบระบบคอม ของนร.ม.4องค์ประกอบระบบคอม ของนร.ม.4
องค์ประกอบระบบคอม ของนร.ม.4Kru Jhair
 
การงานอาชีพและเทคโนโลยีปีกศ1
การงานอาชีพและเทคโนโลยีปีกศ1การงานอาชีพและเทคโนโลยีปีกศ1
การงานอาชีพและเทคโนโลยีปีกศ1Kru Jhair
 
computer บทที่ 1
computer บทที่ 1 computer บทที่ 1
computer บทที่ 1 Kru Jhair
 
คอมม.4บทที่7
คอมม.4บทที่7 คอมม.4บทที่7
คอมม.4บทที่7 Kru Jhair
 

More from Kru Jhair (9)

O net
O netO net
O net
 
ข้อสอบซ่อม ม.4
ข้อสอบซ่อม ม.4ข้อสอบซ่อม ม.4
ข้อสอบซ่อม ม.4
 
การจัดการข้อมูลและการแทนข้อมูล
การจัดการข้อมูลและการแทนข้อมูลการจัดการข้อมูลและการแทนข้อมูล
การจัดการข้อมูลและการแทนข้อมูล
 
สารสนเทศ
สารสนเทศสารสนเทศ
สารสนเทศ
 
สารสนเทศ
สารสนเทศสารสนเทศ
สารสนเทศ
 
องค์ประกอบระบบคอม ของนร.ม.4
องค์ประกอบระบบคอม ของนร.ม.4องค์ประกอบระบบคอม ของนร.ม.4
องค์ประกอบระบบคอม ของนร.ม.4
 
การงานอาชีพและเทคโนโลยีปีกศ1
การงานอาชีพและเทคโนโลยีปีกศ1การงานอาชีพและเทคโนโลยีปีกศ1
การงานอาชีพและเทคโนโลยีปีกศ1
 
computer บทที่ 1
computer บทที่ 1 computer บทที่ 1
computer บทที่ 1
 
คอมม.4บทที่7
คอมม.4บทที่7 คอมม.4บทที่7
คอมม.4บทที่7
 

การจัดการข้อมูลและการแทนข้อมูล

  • 1. ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง การจัดการข้อมูลและการแทนข้อมูล รายวิชา การงานอาชีพและเทคโนโลยี (งานคอมพิวเตอร์) ชั้น ม.4 การจัดการข้อมูล การจัดการข้อมูล หมายถึง การจัดเก็บข้อมูล การ เรียกใช้ข้อมูล รวมถึงการวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อการใช้งาน เช่น ในการ เรียกใช้ข้อมูลเมื่อมีคนไข้มาติดต่อ เจ้าหน้าที่จะต้องค้นหาข้อมูลเดิม ของคนไข้ ทางหนึ่งที่ทำาได้คือตรวจดูข้อมูลบนบัตรแบบฟอร์มทีละใบ ตั้งแต่ใบแรกจนพบ การค้นหาวิธีนี้อาจต้องเสียเวลาบ้าง แต่หากการ จัดเก็บข้อมูลมีการจัดเรียงชื่อตามตัวอักษร เช่น ก ข ค... ไว้แล้ว เมื่อทราบชื่อคนไข้และค้นหาตามตัวอักษรก็จะพบ ข้อมูลได้เร็วขึ้น ประโยชน์ของการจัดข้อมูล 1. สามารถค้นข้อมูล/สารสนเทศ ที่อยู่ในแฟ้มข้อมูลและทำาการ ปรับปรุง ข้อมูลให้ทันสมัยได้ตลอดเวลา 2. สามารถประมวลผลชุดคำาสั่งที่เก็บไว้ในแฟ้มข้อมูลได้ 3. สามารถสร้างตั้งชื่อและเก็บแฟ้มข้อมูลนั้นไว้ใช้ประโยชน์ต่อ ไปได้ 4. สามารถสร้างสำาเนา ย้ายและลบแฟ้มข้อมูลเมื่อไม่มีความ จำาเป็นในการใช้งานแล้ว 5. สามารถทำาการโอนย้ายแฟ้มข้อมูลในระบบเครือข่าย คอมพิวเตอร์ได้ 6. สามารถรับแฟ้มข้อมูลจากโปรแกรมอื่นเข้ามาสู่แฟ้มข้อมูล เพื่อการใช้งานร่วมกันได้ โครงสร้างข้อมูล 1) บิต ดังที่ได้เคยกล่าวไว้ว่า บิตคือตัวเลขโดยใน ระบบเลขฐานสอง ซึ่งมีค่าได้เพียง 0 หรือ 1 บิต เป็นหน่วยข้อมูลทีเล็ก ที่สุดในการแทนข้อมูลในคอมพิวเตอร์ 2) อักขระ (Character) ซึ่งเป็นได้ทั้งตัวเลข ตัวอักษร เครื่องหมายหรือสัญลักษณ์พิเศษ อักขระนี้เป็นส่วนที่เล็กที่สุดของข้อมูล ซึ่งมักจะไม่มีความหมายเพราะเป็นเพียงหน่วยย่อย ๆ เท่านั้นเองการ
  • 2. แทนอักขระแต่ละตัวในคอมพิวเตอร์ใช้เลขฐานสองจำานวน 8 บิต ซึ่งเรา เรียกอีกอยางหนึ่งว่า ไบต์ 3) เขตข้อมูล (Field) เป็นหน่วยข้อมูลที่กำาหนดขึ้นมาแทน ความหมายใดความหมายหนึ่ง เขตข้อมูลจะเกิดจากการนำาอักขระที่ เกี่ยวข้อง มารวมเข้าด้วยกัน เช่น ชื่อ- นามสกุล ก็ทำาให้ ทราบว่าเป็น บุคคลใด 4) ระเบียนข้อมูล (Record) เกิดจากการนำาข้อมูลที่เกี่ยวข้อง หรือ สัมพันธ์กันมารวมเข้าด้วยกัน ก่อให้เกิดความหมายที่ชัดเจนยิ่งขึ้น ระเบียนข้อมูลประระกอบด้วย เขตข้อมูลตั้งแต่หนึ่งเขตขึ้นไป เช่น ชื่อ – นามสกุล ของนักเรียนกับ คะแนนจากการสอบ 5) แฟ้มข้อมูล (File) เกิดจากการรวมระเบียนหลาย ๆ ระเบียน ที่มีความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กันเข้าด้วยกัน เช่น แฟ้มข้อมูลของนักเรียน ชั้นม. 4/1 ก็จะรวบรวมข้อมูลนักเรียนเฉพาะม.4/1 เท่านั้น ซึ่งแฟ้ม ข้อมูลจะประกอบด้วยระเบียนข้อมูลตั้งแต่หนึ่งระเบียนขึ้นไป 6) ฐานข้อมูล (Database) เกิดจากการนำาแฟ้มข้อมูลมารวม กันโดยใช้หลักการเพื่อไม่ให้ข้อมูลเกิดความซำ้าซ้อนในการจัดเก็บ เช่น ฐานข้อมูลนักเรียนของโรงเรียนศูนย์ศึกษาคอมพิวเตอร์ การแบ่งลำาดับชั้นของการจัดการข้อมูล ในการจัดการข้อมูลนั้นจะมีการจัดแบ่งข้อมูลออกเป็นลำาดับชั้น เพื่อง่ายต่อการเรียกใช้และประมวลผล ดังต่อไปนี้
  • 3. การแทนข้อมูล การทำางานของเครื่องคอมพิวเตอร์ใช้สัญญาณอิเล็กทรอนิกส์ซึ่งมี สองสถานะคือปิดและเปิด จึงมีการกำาหนดให้ใช้ตัวเลข 0 และ 1 แทน สถานะทั้งสอง และมีการกำาหนดรหัสแทนอักขระด้วยชุดของตัวเลขซึ่ง ประกอบด้วยเลข 0 และ 1 ซึ่งเป็นตัวเลขในระบบเลขฐานสอง (binary digit)ตัวเลขแต่ละหลักของจำานวนในระบบเลขฐานสองเราเรียกว่าบิต (bit) ดังนั้นจำานวน 1011 จึงเป็นเป็นเลขฐานที่มีจำานวน 4 บิต การใช้ เลขฐานสองมาแทนอักขระต่าง ๆ จะพบว่า ถ้าใช้ตัวเลขฐานสอง 4 บิต จะแทนอักขระได้ทั้งหมด 16 แบบ ดังนี้ 0000 0001 0010 0011 0100 0101 0110 0111 1000 1001 1010 1011 1100 1101 1101 1111 เพื่อให้การแทนอักขระต่าง ๆ ด้วยตัวเลขฐานสองได้ครบจึง มีการกำาหนดให้ใช้ตัวเลขฐานสอง 8 บิต ซึ่งเรียกว่า 1 ไบต์(byte) แทนตัวอักษร 1 ตัวเช่น 10000010 ใช้แทนอักษร A , 01000010 ฐาน ข้อมูล (Databas e) ไฟล์ (File) ไฟล์ (File) เรคอร์ด (Record) เรคอร์ด (Record) ฟิลด์ (Field) ฟิลด์ (Field) ไบต์ (Byte) ไบต์ (Byte) บิต (Bit) บิต (Bit)
  • 4. ใช้แทนอักษร B รหัสที่ใช้แทนตัวอักขระที่เป็นมาตรฐานแบบหนึ่ง เรียก ว่ า ร หั ส แ อ ส กี (American Standard Code for Information Interchange : ASCII) ตัวเลขฐานสอง 8 บิต หรือ 1 ไบต์สามารถใช้ แทนรหัสต่าง ๆ ได้ถึง 256 ตัวแต่รหัสตัวอักษรภาษาอังกฤษทั้งหมดมี จำานวนรวมกันไม่เกิน 128 ตัวดังนั้นสำานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์ อุตสาหกรรมจึงได้กำาหนดรหัสภาษาไทยเพิ่มเติมเพื่อให้ใช้ในงาน สารสนเทศเป็นภาษาไทยได้ เช่น 10000101 ใช้แทน ก รหัสแอสกีที่ มีรหัสภาษาไทย จากการที่เลขฐานสอง 1 ไบต์ ใช้แทนรหัสได้ 1 ตัวอักขระ ดังนั้นถ้ามี ข้อความที่ประกอบด้วยตัวอักษรหลายตัวก็ใช้รหัสเลขฐานสองหลาย ไบต์เรียงต่อกัน เช่น A MAN ใ ช้ 01000001 00100000 01001101 01000001 01000111 รหัส 01000001 แทนตัวอักษร A 00100000 แทนช่องว่าง 01001101 แทนตัวอักษร M 01000111 แทนตัวอักษร N แฟ้มข้อมูล สมมุติว่า ต้องการเก็บชื่อนักเรียนและคะแนนสอบของนักเรียนใน ชั้น ซึ่งประกอบด้วยการสอบย่อยสองครั้ง และการสอบไล่หนึ่งครั้ง ลักษณะของข้อมูลที่จัดเก็บสามารถสร้างเป็นแฟ้ม (file) ได้ โดยในแฟ้ม จะมีรายการของนักเรียนแต่ละคน ซึ่งเรียกว่าระเบียน (record) ภายใน ระเบียนจะมีกลุ่มข้อมูลย่อยเรียกว่า เขตข้อมูล (field) แฟ้มข้อมูล ประวัติการเรียน วิชาคอมพิวเตอร์ เลขประจำาตัว : 39415 ชื่อ : ด.ช. ขยัน รักเรียน สอบครั้งที่ 1 72 สอบครั้งที่ 2 80
  • 5. โดยปกติแฟ้มข้อมูลอาจเขียนในรูปตารางแทนได้ดังนี้ ตารางแสดงผลการเรียนของนักเรียนในวิชาคอมพิวเตอร์ เลข ประจำา ตัว ชื่อ สอบ ครั้งที่ 1 สอบ ครั้งที่ 2 สอบไล่ 39415 39410 39411 . . . ด.ช. ขยัน รักเรียน ด.ช. สมคิด ดีมา เลิศ ด.ช. วิจิตร สุข สถาพร 72 65 71 . . . 80 70 71 . . . 85 72 80 . . . เมื่อแทนแฟ้มด้วยตาราง แต่ละบรรทัดของข้อมูลคือระเบียนนั่นเอง ภายในระเบียนก็มีข้อมูลหลายกลุ่ม แต่ละกลุ่มก็คือเขตข้อมูล เราอาจ เรียกชื่อสดมภ์ว่า ชื่อเขตข้อมูลได้ เช่น เขตข้อมูลเลขประจำาตัว เขต ข้อมูลชื่อ
  • 6. โดยปกติแฟ้มข้อมูลอาจเขียนในรูปตารางแทนได้ดังนี้ ตารางแสดงผลการเรียนของนักเรียนในวิชาคอมพิวเตอร์ เลข ประจำา ตัว ชื่อ สอบ ครั้งที่ 1 สอบ ครั้งที่ 2 สอบไล่ 39415 39410 39411 . . . ด.ช. ขยัน รักเรียน ด.ช. สมคิด ดีมา เลิศ ด.ช. วิจิตร สุข สถาพร 72 65 71 . . . 80 70 71 . . . 85 72 80 . . . เมื่อแทนแฟ้มด้วยตาราง แต่ละบรรทัดของข้อมูลคือระเบียนนั่นเอง ภายในระเบียนก็มีข้อมูลหลายกลุ่ม แต่ละกลุ่มก็คือเขตข้อมูล เราอาจ เรียกชื่อสดมภ์ว่า ชื่อเขตข้อมูลได้ เช่น เขตข้อมูลเลขประจำาตัว เขต ข้อมูลชื่อ