SlideShare a Scribd company logo
1 of 6
Download to read offline
ใบความรู้ ที่ 5
เรื่อง รู ปแบบของการส่ งสั ญญาณข้ อมูล และสื่ อกลางในการสื่ อสารข้ อมูล
วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสาร รหัส ง22204 ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2556

รู ปแบบของการส่ งสั ญญาณข้ อมูล
การสื่ อสารข้อมูลจะต้องมีการส่ งข้อมูลหรื อสัญญาณผ่านสื่ อกลางไปยังผูรับ โดยการกําหนดขั้นตอนและ
้
วิธีการควบคุมทิศทางการส่ งที่แน่นอน แบ่งออกเป็ น 3 รู ปแบบ ได้แก่

1.

แบบทิศทางเดียวหรือซิมเพล็กซ์ ( One-Way หรือ Simplex )ในการส่ งสัญญาณข้อมูล
แบบ simplex ข้อมูลจะถูกส่ งไปในทางเดียวเท่านั้น และตลอดเวลา ตัวอย่างเช่น การกระจาย
เสี ยงของ สถานีวทยุหรื อการแพร่ ภาพทางโทรทัศน์เป็ นต้น
ิ

รู ปแบบSimplex
2. แบบกลึงทางกึงทางคู่หรือครึ่งดูเพล็กซ์ ( Half Duplex ) สามารถแลกเปลี่ยนข้อมูลของผูรับและ
่
่
้
ผูส่งแต่ตองสลับกันส่ ง จะทําใน เวลาเดียว กันไม่ได้ เช่นการสื่ อสารโดยใช้วทยุสื่อสาร
้
้
ิ

รู ปแบบ ( Half Duplex )
3. แบบทางคู่ (Full-Duplex) ในแบบนี้เราสามารถส่ งข้อมูล ได้พร้อมๆ กันทั้งสองทาง ตัวอย่างเช่น การพูดคุย
่
โทรศัพท์ โดยสามารถ สื่ อสารพร้อมกันได้ท้ งสองฝ้่ าย บางครั้ง เรี ยกการสื่ อสาร แบบทางคูวา Four-Wire Line
ั

รู ปแบบ Full-Duplex

สื่ อกลางในการสื่ อสารข้ อมูล ( Communication Media )
ตัวกลางหรื อสายเชื่อมโยง เป็ นส่ วนที่ทาให้เกิดการเชื่อมต่อระหว่างอุปกรณ์ต่าง ๆ เข้าด้วยกัน และอุปกรณ์
ํ
่
นี้ยอมให้ข่าวสารข้อมูลเดินทางผ่าน จากผูส่งไปสู่ ผรับ สื่ อกลางที่ใช้ในการสื่ อสารข้อมูลมีอยูหลายประเภท แต่ละ
้
ู้
ประเภทมความแตกต่างกันในด้านของปริ มาณข้อมูลที่สื่อกลางนั้น ๆ สามารถนําผ่านไปได้ในเวลาขณะใด
ขณะหนึ่ง การวัดปริ มาณหรื อความจุในการนําข้อมูลหรื อ ที่เรี ยกกันว่าแบบด์วดท์ ( bandwidth) มีหน่วยเป็ นจํานวน
ิ
บิตข้อมูลต่อวินาที ( bit per second : bps ) ลักษณะของตัวกลางต่างๆ มีดงต่อไปนี้
ั

สื่ อกลางประเภทสายสั ญญาณ ( Wired Media )
สื่ อกลางประเภทมีสาย หมายถึง สื่ อกลางที่เป็ นสายซึ่ งใช้ในการเชื่อมโยงโดยอุปกรณ์ต่าง ๆ เพื่อใช้ในการ
ส่ งผ่านข้อมูลระหว่างอุปกรณ์ และอุปกรณ์ในระยะทางที่ห่างกันไม่มากนัก สายสัญญาณที่นิยมใช้ในปัจจุบน คือ
ั
สายคู่บิดเกลียว ( twisted pair ) สายโคแอกเชียล ( coaxial ) และสายใยนําแสง (fiber optic)

1) สายคู่บิดเกลียว (twisted pair)
ประกอบด้วยเส้นลวดทองแดงที่หุมด้วยฉนวนพลาสติก 2 เส้น พันบิดเป็ นเกลียว ทั้งนี้เพื่อลดการรบกวน
้
จากคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าจากคู่สายข้างเคียงภายในเคเบิล เดียวกันหรื อจากภายนอก เนื่องจากสายคู่บิดเกลียวนี้ยอมให้
่ ั
สัญญาณไฟฟ้ าความถี่สูงผ่านได้ สําหรับอัตราการส่ งข้อมูลผ่านสายคู่บิดเกลียวจะขึ้นอยูกบความหนาของสายด้วย
กล่าวคือ สายทองแดงที่มีเส้นผ่านศูนย์กลางกว้าง จะสามารถส่ งสัญญาณไฟฟ้ ากําลังแรงได้ ทําให้สามารถส่ งข้อมูล
ด้วยอัตราส่ งสู ง โดยทัวไปแล้วสําหรับการส่ งข้อมูลแบบดิจิทล สัญญาณที่ส่งเป็ นลักษณะคลื่นสี่ เหลี่ยม สายคู่บิด
ั
่
เกลียวสามารถใช้ส่งข้อมูลได้ถึงร้อยเมกะบิตต่อวินาที ในระยะทางไม่เกินร้อยเมตร เนื่องจากสายคู่บิดเกลียว มีราคา
ไม่แพงมาก ใช้ส่งข้อมูลได้ดี จึงมีการใช้งานอย่างกว้างขวาง

1.1 สายคู่บิดเกลียวชนิดหุ้มฉนวน (Shielded Twisted Pair : STP)
เป็ นสายคู่บิดเกลียวที่หุมด้วยลวดถักชั้นนอกที่
้
หนาอีกชั้นเพื่อป้ องกันการรบกวนของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ า มี
ลักษณะเป็ นสองเส้น มีแนวแล้วบิดเป็ นเกลียวเข้าด้วยกันเพื่อ
ลดเสี ยงรบกวน มีฉนวนหุ มรอบนอก มีราคาถูก ติดตั้งง่าย
้
นํ้าหนักเบาและ การรบกวนทางไฟฟ้ าตํ่า สายโทรศัพท์จดเป็ น
ั
สายคู่บิดเกลียวแบบหุ มฉนวน
้

1.2 สายคู่บิดเกลียวชนิดไม่ ห้ ุมฉนวน (Unshielded Twisted Pair : UTP)
เป็ น สายคู่บิดเกลียวมีฉนวนชั้นนอกที่บางอีกชั้นทําให้สะดวกในการโค้งงอแต่สามารถ
ป้ องกันการรบกวนของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าได้นอย
้
็
กว่า ชนิดแรก แต่กมีราคาตํ่ากว่า จึงนิยมใช้ในการ
เชื่อมต่ออุปกรณ์ในเครื อข่าย ตัวอย่าง ของสายสายคู่
บิดเกลียวชนิดไม่หุมฉนวน ที่เห็นในชีวตประจําวัน
้
ิ
่
คือ สายโทรศัพท์ที่ใช้อยูในบ้าน มีราคาถูกและนิยม
ั
ั
ใช้กนมากที่สุด ส่ วนใหญ่มกใช้กบระบบโทรศัพท์
ั
แต่สายแบบนี้มกจะถูกรบกวนได้ง่าย และไม่ค่อย
ั
ทนทาน
2) สายโคแอกเชียล (coaxial)
เป็ นตัวกลางเชื่อมโยงที่มีลกษณะเช่นเดียวกับสายที่ต่อจากเสาอากาศ สายโคแอกเชียลที่ใช้
ั
ทัวไปมี 2 ชนิด คือ 50 โอห์มซึ่งใช้ส่งข้อมูลแบบดิจิทล และชนิด 75 โอห์มซึ่งใช้ส่งข้อมูล
ั
่
สัญญาณแอนะล็อก สายประกอบด้วยลวดทองแดงที่เป็ นแกนหลักหนึ่งเส้นที่หุมด้วยฉนวน
้
ชั้นหนึ่ง เพื่อป้ องกันกระแสไฟรั่ว จากนั้นจะหุมด้วยตัวนําซึ่งทําจากลวดทองแดงถักเป็ นเปี ย เพื่อ
้
ป้ องกันการรบกวนของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าและสัญญาณรบกวนอื่นๆ ก่อนจะหุมชั้นนอกสุ ดด้วย
้
ฉนวนพลาสติก ลวดทองแดงที่ถกเป็ นเปี ยนี้เองเป็ นส่ วนหนึ่งที่ทาให้สายแบบนี้มีช่วงความถี่
ั
ํ
สัญญาณไฟฟ้ าสามารถผ่านได้สูงมาก และนิยมใช้เป็ นช่องสื่ อสารสัญญาณแอนะล็อกเชื่องโยง
ผ่านใต้ทะเลและใต้ดิน

3. เส้ นใยนําแสง (fiber optic)
ใย

ทําจากแก้วหรื อพลาสติกมีลกษณะเป็ นเส้นบางๆ คล้าย เส้นใยแก้วจะทําตัวเป็ นสื่ อในการส่ งแสง
ั

เลเซอร์ ที่มีความเร็ วในการส่ งสัญญาณเท่ากับ ความเร็ วของแสง สามารถส่ งสัญญาณที่มีความถี่สูงได้ และ

สัญญาณรบกวนภายนอกมีอย่างเดียวคือ แสงจากภายนอก มีราคาค่อนข้างสู งและดูแลรักษายาก
สื่ อกลางประเภทไร้ สาย (Wireless Media)
การสื่ อสารข้อมูลแบบไร้สายนี้สามารถส่ งข้อมูลได้ทุกทิศทางโดยมีอากาศเป็ นตัวกลางในการ
สื่ อสาร
1. สั ญญาณไมโครเวฟ (Microwave)
เป็ นสื่ อกลางในการสื่ อสารที่มีความเร็วสู ง ส่ งข้อมูลโดยอาศัยสัญญาณไมโครเวฟ ซึ่งเป็ น
สัญญาณคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าไปในอากาศพร้อมกับข้อมูลที่ตองการส่ ง และจะต้องมีสถานีที่ทา
้
ํ
หน้าที่ส่งและรับข้อมูล และเนื่องจากสัญญาณไมโครเวฟจะเดินทางเป็ นเส้นตรง ไม่สามารถเลี้ยว
หรื อโค้งตามขอบโลกที่มีความโค้งได้ จึงต้องมีการตั้งสถานีรับ - ส่ งข้อมูลเป็ นระยะๆ และส่ งข้อมูล
่
ต่อกันเป็ นทอดๆ ระหว่างสถานีต่อสถานีจนกว่าจะถึงสถานีปลายทาง และแต่ละสถานีจะตั้งอยูในที่
่
สู ง ซึ่งจะอยูในช่วงความถี่ 108 - 1012 เฮิรตซ์

2) ดาวเทียม ( satellite System )
ได้รับการพัฒนาขึ้นมาเพื่อหลีกเลี่ยงข้อจํากัดของสถานีรับ - ส่ งไมโครเวฟบนผิวโลก
วัตถุประสงค์ในการสร้างดาวเทียมเพื่อเป็ นสถานีรับ - ส่ งสัญญาณไมโครเวฟบนอวกาศ และทวน
สัญญาณในแนวโคจรของโลกในการส่ งสัญญาณดาวเทียมจะต้องมีสถานีภาคพื้นดินคอยทําหน้าที่
่
รับ และส่ งสัญญาณขึ้นไปบนดาวเทียมที่โคจรอยูสูงจากพื้นโลก 22,300 ไมล์ โดยดาวเทียมเหล่านั้น
่
่ ั
จะเคลื่อนที่ดวยความเร็วที่เท่ากับการหมุนของโลก จึงเสมือนกับดาวเทียมนั้นอยูนิ่งอยูกบที่ขณะที่
้
โลกหมุนรอบตัวเอง ทําให้การส่ งสัญญาณไมโครเวฟจากสถานีหนึ่งขึ้นไปบนดาวเทียม และการ
กระจายสัญญาณ จากดาวเทียมลงมายังสถานีตามจุดต่างๆ บนผิวโลกเป็ นไปอย่างแม่นยํา ดาวเทียม
่
่ ั
สามารถโคจรอยูได้ โดยมีแผงรับพลังงานจากแสงอาทิตย์ ( Solar cell ) ติดตั้งอยูกบดาวเทียม

More Related Content

What's hot

ใบความรู้ที่ 2
ใบความรู้ที่ 2ใบความรู้ที่ 2
ใบความรู้ที่ 2Nattapon
 
สื่อสารผ่านเครือขาย
สื่อสารผ่านเครือขายสื่อสารผ่านเครือขาย
สื่อสารผ่านเครือขายDuangsuwun Lasadang
 
หน่วยที่ 8
หน่วยที่ 8หน่วยที่ 8
หน่วยที่ 8niramon_gam
 
Mindmap เลขที่ 13
Mindmap เลขที่ 13Mindmap เลขที่ 13
Mindmap เลขที่ 13mook_suju411
 
เทอม 1 คาบ 9 สื่อกลางในการสื่อสาร
เทอม 1 คาบ 9 สื่อกลางในการสื่อสารเทอม 1 คาบ 9 สื่อกลางในการสื่อสาร
เทอม 1 คาบ 9 สื่อกลางในการสื่อสารMrpopovic Popovic
 
หน่วยที่ 4 การสื่อสารบนเครือข่าย
หน่วยที่ 4 การสื่อสารบนเครือข่ายหน่วยที่ 4 การสื่อสารบนเครือข่าย
หน่วยที่ 4 การสื่อสารบนเครือข่ายekkachai kaikaew
 
ระบบการสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบการสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบการสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบการสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์Kru.Mam Charoensansuay
 
การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์Kru.Mam Charoensansuay
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์dechathon
 
Comunication netw01 11
Comunication netw01 11Comunication netw01 11
Comunication netw01 11paween
 

What's hot (13)

ใบความรู้ที่ 2
ใบความรู้ที่ 2ใบความรู้ที่ 2
ใบความรู้ที่ 2
 
Computer 1
Computer 1Computer 1
Computer 1
 
สื่อสารผ่านเครือขาย
สื่อสารผ่านเครือขายสื่อสารผ่านเครือขาย
สื่อสารผ่านเครือขาย
 
หน่วยที่ 8
หน่วยที่ 8หน่วยที่ 8
หน่วยที่ 8
 
Datacom
DatacomDatacom
Datacom
 
Mindmap เลขที่ 13
Mindmap เลขที่ 13Mindmap เลขที่ 13
Mindmap เลขที่ 13
 
เทอม 1 คาบ 9 สื่อกลางในการสื่อสาร
เทอม 1 คาบ 9 สื่อกลางในการสื่อสารเทอม 1 คาบ 9 สื่อกลางในการสื่อสาร
เทอม 1 คาบ 9 สื่อกลางในการสื่อสาร
 
หน่วยที่ 4 การสื่อสารบนเครือข่าย
หน่วยที่ 4 การสื่อสารบนเครือข่ายหน่วยที่ 4 การสื่อสารบนเครือข่าย
หน่วยที่ 4 การสื่อสารบนเครือข่าย
 
ระบบการสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบการสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบการสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบการสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
208
208208
208
 
Comunication netw01 11
Comunication netw01 11Comunication netw01 11
Comunication netw01 11
 

Viewers also liked

De vuelta en pie tapalqué
De vuelta en pie tapalquéDe vuelta en pie tapalqué
De vuelta en pie tapalquéTacún Lazarte
 
Captura de pantalla (1)
Captura de pantalla (1)Captura de pantalla (1)
Captura de pantalla (1)gloles
 
국야배당 【♥】♨Guu69,com(카톡: XAZA)【♥】♨ 국야분석 하키픽
국야배당 【♥】♨Guu69,com(카톡: XAZA)【♥】♨ 국야분석 하키픽국야배당 【♥】♨Guu69,com(카톡: XAZA)【♥】♨ 국야분석 하키픽
국야배당 【♥】♨Guu69,com(카톡: XAZA)【♥】♨ 국야분석 하키픽tyhiuoi
 
პრეზენტაცია (1)
პრეზენტაცია (1)პრეზენტაცია (1)
პრეზენტაცია (1)lelajadugishvili
 
Uso del comando ATTRIB (Practica 1) (Unidad III)
Uso del comando ATTRIB (Practica 1) (Unidad III)Uso del comando ATTRIB (Practica 1) (Unidad III)
Uso del comando ATTRIB (Practica 1) (Unidad III)CarlosMadera15
 
bioteknologi HPT cabai
bioteknologi HPT cabaibioteknologi HPT cabai
bioteknologi HPT cabaiFarid Habibi
 
Social science fa4 (1)
Social science   fa4 (1)Social science   fa4 (1)
Social science fa4 (1)Stuti Majmudar
 
Diez tendencias del siglo XXI según la UNESCO
Diez tendencias del siglo XXI según la UNESCODiez tendencias del siglo XXI según la UNESCO
Diez tendencias del siglo XXI según la UNESCOGrowth Hacking Talent
 
Nuevos clientes nuevas tendencias, nuevos mercados, nuevas soluciones
Nuevos clientes nuevas tendencias, nuevos mercados, nuevas solucionesNuevos clientes nuevas tendencias, nuevos mercados, nuevas soluciones
Nuevos clientes nuevas tendencias, nuevos mercados, nuevas solucionesGrowth Hacking Talent
 
Directiva n° 0023 de finalizacion año escoñar 2013
Directiva n°  0023 de finalizacion año escoñar 2013Directiva n°  0023 de finalizacion año escoñar 2013
Directiva n° 0023 de finalizacion año escoñar 2013Luis Marinho Calcina Tito
 

Viewers also liked (17)

2 AdvA Mafalda y Manolito
2 AdvA Mafalda y Manolito2 AdvA Mafalda y Manolito
2 AdvA Mafalda y Manolito
 
Semantic ArDroid
Semantic ArDroidSemantic ArDroid
Semantic ArDroid
 
De vuelta en pie tapalqué
De vuelta en pie tapalquéDe vuelta en pie tapalqué
De vuelta en pie tapalqué
 
Captura de pantalla (1)
Captura de pantalla (1)Captura de pantalla (1)
Captura de pantalla (1)
 
국야배당 【♥】♨Guu69,com(카톡: XAZA)【♥】♨ 국야분석 하키픽
국야배당 【♥】♨Guu69,com(카톡: XAZA)【♥】♨ 국야분석 하키픽국야배당 【♥】♨Guu69,com(카톡: XAZA)【♥】♨ 국야분석 하키픽
국야배당 【♥】♨Guu69,com(카톡: XAZA)【♥】♨ 국야분석 하키픽
 
პრეზენტაცია (1)
პრეზენტაცია (1)პრეზენტაცია (1)
პრეზენტაცია (1)
 
JOSE MANUEL DOMINGUEZ LAGE vernehmung
JOSE MANUEL DOMINGUEZ LAGE vernehmungJOSE MANUEL DOMINGUEZ LAGE vernehmung
JOSE MANUEL DOMINGUEZ LAGE vernehmung
 
Pi
PiPi
Pi
 
Fhsmega
FhsmegaFhsmega
Fhsmega
 
Ai acasestudy
Ai acasestudyAi acasestudy
Ai acasestudy
 
Manual imp
Manual  impManual  imp
Manual imp
 
Uso del comando ATTRIB (Practica 1) (Unidad III)
Uso del comando ATTRIB (Practica 1) (Unidad III)Uso del comando ATTRIB (Practica 1) (Unidad III)
Uso del comando ATTRIB (Practica 1) (Unidad III)
 
bioteknologi HPT cabai
bioteknologi HPT cabaibioteknologi HPT cabai
bioteknologi HPT cabai
 
Social science fa4 (1)
Social science   fa4 (1)Social science   fa4 (1)
Social science fa4 (1)
 
Diez tendencias del siglo XXI según la UNESCO
Diez tendencias del siglo XXI según la UNESCODiez tendencias del siglo XXI según la UNESCO
Diez tendencias del siglo XXI según la UNESCO
 
Nuevos clientes nuevas tendencias, nuevos mercados, nuevas soluciones
Nuevos clientes nuevas tendencias, nuevos mercados, nuevas solucionesNuevos clientes nuevas tendencias, nuevos mercados, nuevas soluciones
Nuevos clientes nuevas tendencias, nuevos mercados, nuevas soluciones
 
Directiva n° 0023 de finalizacion año escoñar 2013
Directiva n°  0023 de finalizacion año escoñar 2013Directiva n°  0023 de finalizacion año escoñar 2013
Directiva n° 0023 de finalizacion año escoñar 2013
 

Similar to ใบความรู้ที่ 5

2.3 เทคโนโลยีการรับส่งข้อมูลในเครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.3 เทคโนโลยีการรับส่งข้อมูลในเครือข่ายคอมพิวเตอร์2.3 เทคโนโลยีการรับส่งข้อมูลในเครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.3 เทคโนโลยีการรับส่งข้อมูลในเครือข่ายคอมพิวเตอร์Meaw Sukee
 
หน่วยที่ 8 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 8 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์หน่วยที่ 8 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 8 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์jzturbo
 
บทที่ 4 เทคโน ม.6 copy - copy
บทที่ 4 เทคโน ม.6   copy - copyบทที่ 4 เทคโน ม.6   copy - copy
บทที่ 4 เทคโน ม.6 copy - copyครู อินดี้
 
ใบงานหน่วยที่ 2 ทิศทางการส่งและชนิดของสัญญาณข้อมูล
ใบงานหน่วยที่ 2 ทิศทางการส่งและชนิดของสัญญาณข้อมูลใบงานหน่วยที่ 2 ทิศทางการส่งและชนิดของสัญญาณข้อมูล
ใบงานหน่วยที่ 2 ทิศทางการส่งและชนิดของสัญญาณข้อมูลwatnawong
 
Ch4 communication and computer networks
Ch4 communication and computer networksCh4 communication and computer networks
Ch4 communication and computer networksChangnoi Etc
 
เทอม 1 คาบ 8 ตัวกลางในการสื่อสาร
เทอม 1 คาบ 8 ตัวกลางในการสื่อสารเทอม 1 คาบ 8 ตัวกลางในการสื่อสาร
เทอม 1 คาบ 8 ตัวกลางในการสื่อสารMrpopovic Popovic
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลTharathep Chumchuen
 
ใบความรุ้ 2 เรื่อง เครือข่ายคอมพิวเตอร์
ใบความรุ้ 2 เรื่อง เครือข่ายคอมพิวเตอร์ใบความรุ้ 2 เรื่อง เครือข่ายคอมพิวเตอร์
ใบความรุ้ 2 เรื่อง เครือข่ายคอมพิวเตอร์jansaowapa
 
สายคู่บิดเกลียว(Chonnikarn+mutita)401
สายคู่บิดเกลียว(Chonnikarn+mutita)401สายคู่บิดเกลียว(Chonnikarn+mutita)401
สายคู่บิดเกลียว(Chonnikarn+mutita)401Mink Chonnikan
 
บทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่าย
บทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่ายบทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่าย
บทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่ายPokypoky Leonardo
 
การสื่อสารข้อมูล!!
การสื่อสารข้อมูล!!การสื่อสารข้อมูล!!
การสื่อสารข้อมูล!!Nattha Nganpakamongkhol
 
การสื่อสารข้อมูล!!
การสื่อสารข้อมูล!!การสื่อสารข้อมูล!!
การสื่อสารข้อมูล!!Nattha Nganpakamongkhol
 
สื่อกลางในการสื่อสารข้อมูล
สื่อกลางในการสื่อสารข้อมูลสื่อกลางในการสื่อสารข้อมูล
สื่อกลางในการสื่อสารข้อมูลYmalte
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลpookpikdel
 

Similar to ใบความรู้ที่ 5 (20)

2.3 เทคโนโลยีการรับส่งข้อมูลในเครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.3 เทคโนโลยีการรับส่งข้อมูลในเครือข่ายคอมพิวเตอร์2.3 เทคโนโลยีการรับส่งข้อมูลในเครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.3 เทคโนโลยีการรับส่งข้อมูลในเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
รายงาน การสื่อสารข้อมูล
รายงาน การสื่อสารข้อมูลรายงาน การสื่อสารข้อมูล
รายงาน การสื่อสารข้อมูล
 
Communication Concept 3
Communication Concept 3Communication Concept 3
Communication Concept 3
 
หน่วยที่ 8 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 8 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์หน่วยที่ 8 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 8 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
บทที่ 4 เทคโน ม.6 copy - copy
บทที่ 4 เทคโน ม.6   copy - copyบทที่ 4 เทคโน ม.6   copy - copy
บทที่ 4 เทคโน ม.6 copy - copy
 
ใบงานหน่วยที่ 2 ทิศทางการส่งและชนิดของสัญญาณข้อมูล
ใบงานหน่วยที่ 2 ทิศทางการส่งและชนิดของสัญญาณข้อมูลใบงานหน่วยที่ 2 ทิศทางการส่งและชนิดของสัญญาณข้อมูล
ใบงานหน่วยที่ 2 ทิศทางการส่งและชนิดของสัญญาณข้อมูล
 
Ch4 communication and computer networks
Ch4 communication and computer networksCh4 communication and computer networks
Ch4 communication and computer networks
 
เทอม 1 คาบ 8 ตัวกลางในการสื่อสาร
เทอม 1 คาบ 8 ตัวกลางในการสื่อสารเทอม 1 คาบ 8 ตัวกลางในการสื่อสาร
เทอม 1 คาบ 8 ตัวกลางในการสื่อสาร
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูล
 
ใบความรุ้ 2 เรื่อง เครือข่ายคอมพิวเตอร์
ใบความรุ้ 2 เรื่อง เครือข่ายคอมพิวเตอร์ใบความรุ้ 2 เรื่อง เครือข่ายคอมพิวเตอร์
ใบความรุ้ 2 เรื่อง เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
สายคู่บิดเกลียว(Chonnikarn+mutita)401
สายคู่บิดเกลียว(Chonnikarn+mutita)401สายคู่บิดเกลียว(Chonnikarn+mutita)401
สายคู่บิดเกลียว(Chonnikarn+mutita)401
 
บทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่าย
บทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่ายบทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่าย
บทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่าย
 
การสื่อสารข้อมูล!!
การสื่อสารข้อมูล!!การสื่อสารข้อมูล!!
การสื่อสารข้อมูล!!
 
การสื่อสารข้อมูล!!
การสื่อสารข้อมูล!!การสื่อสารข้อมูล!!
การสื่อสารข้อมูล!!
 
Communication
CommunicationCommunication
Communication
 
Communication
CommunicationCommunication
Communication
 
Communication
CommunicationCommunication
Communication
 
Network
NetworkNetwork
Network
 
สื่อกลางในการสื่อสารข้อมูล
สื่อกลางในการสื่อสารข้อมูลสื่อกลางในการสื่อสารข้อมูล
สื่อกลางในการสื่อสารข้อมูล
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูล
 

More from ครูเพชร

ครูเพชร การแทรกรูปภาพลงในโปแกรมPower point
ครูเพชร การแทรกรูปภาพลงในโปแกรมPower pointครูเพชร การแทรกรูปภาพลงในโปแกรมPower point
ครูเพชร การแทรกรูปภาพลงในโปแกรมPower pointครูเพชร
 
ครูเพชร การนำเสนอข้อมูลด้วยตาราง
ครูเพชร การนำเสนอข้อมูลด้วยตารางครูเพชร การนำเสนอข้อมูลด้วยตาราง
ครูเพชร การนำเสนอข้อมูลด้วยตารางครูเพชร
 
สื่อการสอน หน่วยที่ 1
สื่อการสอน หน่วยที่ 1สื่อการสอน หน่วยที่ 1
สื่อการสอน หน่วยที่ 1ครูเพชร
 
ใบความรู้ที่ 7
ใบความรู้ที่ 7ใบความรู้ที่ 7
ใบความรู้ที่ 7ครูเพชร
 
ใบความรู้ที่ 5 เพชร
ใบความรู้ที่ 5 เพชรใบความรู้ที่ 5 เพชร
ใบความรู้ที่ 5 เพชรครูเพชร
 
ใบความรู้ที่ 5 เพชร
ใบความรู้ที่ 5 เพชรใบความรู้ที่ 5 เพชร
ใบความรู้ที่ 5 เพชรครูเพชร
 
ใบความรู้ที่ 5
ใบความรู้ที่ 5ใบความรู้ที่ 5
ใบความรู้ที่ 5ครูเพชร
 
ใบความรู้ที่ 5
ใบความรู้ที่ 5ใบความรู้ที่ 5
ใบความรู้ที่ 5ครูเพชร
 
ใบความรู้ที่ 5 เพชร
ใบความรู้ที่ 5 เพชรใบความรู้ที่ 5 เพชร
ใบความรู้ที่ 5 เพชรครูเพชร
 
2. ใบความรู้ที่ 8
2. ใบความรู้ที่ 82. ใบความรู้ที่ 8
2. ใบความรู้ที่ 8ครูเพชร
 
2. ใบความรู้ที่ 7
2. ใบความรู้ที่ 72. ใบความรู้ที่ 7
2. ใบความรู้ที่ 7ครูเพชร
 
2. ใบความรู้ที่ 6
2. ใบความรู้ที่ 62. ใบความรู้ที่ 6
2. ใบความรู้ที่ 6ครูเพชร
 
2. ใบความรู้ที่ 5
2. ใบความรู้ที่ 52. ใบความรู้ที่ 5
2. ใบความรู้ที่ 5ครูเพชร
 
2. ใบความรู้ที่ 4
2. ใบความรู้ที่ 42. ใบความรู้ที่ 4
2. ใบความรู้ที่ 4ครูเพชร
 
2. ใบความรู้ที่ 4
2. ใบความรู้ที่ 42. ใบความรู้ที่ 4
2. ใบความรู้ที่ 4ครูเพชร
 
2. ใบความรู้ที่ 3
2. ใบความรู้ที่ 32. ใบความรู้ที่ 3
2. ใบความรู้ที่ 3ครูเพชร
 
2. ใบความรู้ที่ 2
2. ใบความรู้ที่ 22. ใบความรู้ที่ 2
2. ใบความรู้ที่ 2ครูเพชร
 

More from ครูเพชร (20)

ครูเพชร การแทรกรูปภาพลงในโปแกรมPower point
ครูเพชร การแทรกรูปภาพลงในโปแกรมPower pointครูเพชร การแทรกรูปภาพลงในโปแกรมPower point
ครูเพชร การแทรกรูปภาพลงในโปแกรมPower point
 
ครูเพชร การนำเสนอข้อมูลด้วยตาราง
ครูเพชร การนำเสนอข้อมูลด้วยตารางครูเพชร การนำเสนอข้อมูลด้วยตาราง
ครูเพชร การนำเสนอข้อมูลด้วยตาราง
 
สื่อการสอน หน่วยที่ 1
สื่อการสอน หน่วยที่ 1สื่อการสอน หน่วยที่ 1
สื่อการสอน หน่วยที่ 1
 
Research02
Research02Research02
Research02
 
ใบความรู้ที่ 7
ใบความรู้ที่ 7ใบความรู้ที่ 7
ใบความรู้ที่ 7
 
ใบความรู้ที่ 5 เพชร
ใบความรู้ที่ 5 เพชรใบความรู้ที่ 5 เพชร
ใบความรู้ที่ 5 เพชร
 
ใบความรู้ที่ 5 เพชร
ใบความรู้ที่ 5 เพชรใบความรู้ที่ 5 เพชร
ใบความรู้ที่ 5 เพชร
 
ใบความรู้ที่ 5
ใบความรู้ที่ 5ใบความรู้ที่ 5
ใบความรู้ที่ 5
 
งานนำเสนอ5
งานนำเสนอ5งานนำเสนอ5
งานนำเสนอ5
 
งานนำเสนอ5
งานนำเสนอ5งานนำเสนอ5
งานนำเสนอ5
 
ใบความรู้ที่ 5
ใบความรู้ที่ 5ใบความรู้ที่ 5
ใบความรู้ที่ 5
 
ใบความรู้ที่ 5 เพชร
ใบความรู้ที่ 5 เพชรใบความรู้ที่ 5 เพชร
ใบความรู้ที่ 5 เพชร
 
2. ใบความรู้ที่ 8
2. ใบความรู้ที่ 82. ใบความรู้ที่ 8
2. ใบความรู้ที่ 8
 
2. ใบความรู้ที่ 7
2. ใบความรู้ที่ 72. ใบความรู้ที่ 7
2. ใบความรู้ที่ 7
 
2. ใบความรู้ที่ 6
2. ใบความรู้ที่ 62. ใบความรู้ที่ 6
2. ใบความรู้ที่ 6
 
2. ใบความรู้ที่ 5
2. ใบความรู้ที่ 52. ใบความรู้ที่ 5
2. ใบความรู้ที่ 5
 
2. ใบความรู้ที่ 4
2. ใบความรู้ที่ 42. ใบความรู้ที่ 4
2. ใบความรู้ที่ 4
 
2. ใบความรู้ที่ 4
2. ใบความรู้ที่ 42. ใบความรู้ที่ 4
2. ใบความรู้ที่ 4
 
2. ใบความรู้ที่ 3
2. ใบความรู้ที่ 32. ใบความรู้ที่ 3
2. ใบความรู้ที่ 3
 
2. ใบความรู้ที่ 2
2. ใบความรู้ที่ 22. ใบความรู้ที่ 2
2. ใบความรู้ที่ 2
 

ใบความรู้ที่ 5

  • 1. ใบความรู้ ที่ 5 เรื่อง รู ปแบบของการส่ งสั ญญาณข้ อมูล และสื่ อกลางในการสื่ อสารข้ อมูล วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสาร รหัส ง22204 ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2556 รู ปแบบของการส่ งสั ญญาณข้ อมูล การสื่ อสารข้อมูลจะต้องมีการส่ งข้อมูลหรื อสัญญาณผ่านสื่ อกลางไปยังผูรับ โดยการกําหนดขั้นตอนและ ้ วิธีการควบคุมทิศทางการส่ งที่แน่นอน แบ่งออกเป็ น 3 รู ปแบบ ได้แก่ 1. แบบทิศทางเดียวหรือซิมเพล็กซ์ ( One-Way หรือ Simplex )ในการส่ งสัญญาณข้อมูล แบบ simplex ข้อมูลจะถูกส่ งไปในทางเดียวเท่านั้น และตลอดเวลา ตัวอย่างเช่น การกระจาย เสี ยงของ สถานีวทยุหรื อการแพร่ ภาพทางโทรทัศน์เป็ นต้น ิ รู ปแบบSimplex 2. แบบกลึงทางกึงทางคู่หรือครึ่งดูเพล็กซ์ ( Half Duplex ) สามารถแลกเปลี่ยนข้อมูลของผูรับและ ่ ่ ้ ผูส่งแต่ตองสลับกันส่ ง จะทําใน เวลาเดียว กันไม่ได้ เช่นการสื่ อสารโดยใช้วทยุสื่อสาร ้ ้ ิ รู ปแบบ ( Half Duplex )
  • 2. 3. แบบทางคู่ (Full-Duplex) ในแบบนี้เราสามารถส่ งข้อมูล ได้พร้อมๆ กันทั้งสองทาง ตัวอย่างเช่น การพูดคุย ่ โทรศัพท์ โดยสามารถ สื่ อสารพร้อมกันได้ท้ งสองฝ้่ าย บางครั้ง เรี ยกการสื่ อสาร แบบทางคูวา Four-Wire Line ั รู ปแบบ Full-Duplex สื่ อกลางในการสื่ อสารข้ อมูล ( Communication Media ) ตัวกลางหรื อสายเชื่อมโยง เป็ นส่ วนที่ทาให้เกิดการเชื่อมต่อระหว่างอุปกรณ์ต่าง ๆ เข้าด้วยกัน และอุปกรณ์ ํ ่ นี้ยอมให้ข่าวสารข้อมูลเดินทางผ่าน จากผูส่งไปสู่ ผรับ สื่ อกลางที่ใช้ในการสื่ อสารข้อมูลมีอยูหลายประเภท แต่ละ ้ ู้ ประเภทมความแตกต่างกันในด้านของปริ มาณข้อมูลที่สื่อกลางนั้น ๆ สามารถนําผ่านไปได้ในเวลาขณะใด ขณะหนึ่ง การวัดปริ มาณหรื อความจุในการนําข้อมูลหรื อ ที่เรี ยกกันว่าแบบด์วดท์ ( bandwidth) มีหน่วยเป็ นจํานวน ิ บิตข้อมูลต่อวินาที ( bit per second : bps ) ลักษณะของตัวกลางต่างๆ มีดงต่อไปนี้ ั สื่ อกลางประเภทสายสั ญญาณ ( Wired Media ) สื่ อกลางประเภทมีสาย หมายถึง สื่ อกลางที่เป็ นสายซึ่ งใช้ในการเชื่อมโยงโดยอุปกรณ์ต่าง ๆ เพื่อใช้ในการ ส่ งผ่านข้อมูลระหว่างอุปกรณ์ และอุปกรณ์ในระยะทางที่ห่างกันไม่มากนัก สายสัญญาณที่นิยมใช้ในปัจจุบน คือ ั สายคู่บิดเกลียว ( twisted pair ) สายโคแอกเชียล ( coaxial ) และสายใยนําแสง (fiber optic) 1) สายคู่บิดเกลียว (twisted pair) ประกอบด้วยเส้นลวดทองแดงที่หุมด้วยฉนวนพลาสติก 2 เส้น พันบิดเป็ นเกลียว ทั้งนี้เพื่อลดการรบกวน ้ จากคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าจากคู่สายข้างเคียงภายในเคเบิล เดียวกันหรื อจากภายนอก เนื่องจากสายคู่บิดเกลียวนี้ยอมให้ ่ ั สัญญาณไฟฟ้ าความถี่สูงผ่านได้ สําหรับอัตราการส่ งข้อมูลผ่านสายคู่บิดเกลียวจะขึ้นอยูกบความหนาของสายด้วย กล่าวคือ สายทองแดงที่มีเส้นผ่านศูนย์กลางกว้าง จะสามารถส่ งสัญญาณไฟฟ้ ากําลังแรงได้ ทําให้สามารถส่ งข้อมูล ด้วยอัตราส่ งสู ง โดยทัวไปแล้วสําหรับการส่ งข้อมูลแบบดิจิทล สัญญาณที่ส่งเป็ นลักษณะคลื่นสี่ เหลี่ยม สายคู่บิด ั ่
  • 3. เกลียวสามารถใช้ส่งข้อมูลได้ถึงร้อยเมกะบิตต่อวินาที ในระยะทางไม่เกินร้อยเมตร เนื่องจากสายคู่บิดเกลียว มีราคา ไม่แพงมาก ใช้ส่งข้อมูลได้ดี จึงมีการใช้งานอย่างกว้างขวาง 1.1 สายคู่บิดเกลียวชนิดหุ้มฉนวน (Shielded Twisted Pair : STP) เป็ นสายคู่บิดเกลียวที่หุมด้วยลวดถักชั้นนอกที่ ้ หนาอีกชั้นเพื่อป้ องกันการรบกวนของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ า มี ลักษณะเป็ นสองเส้น มีแนวแล้วบิดเป็ นเกลียวเข้าด้วยกันเพื่อ ลดเสี ยงรบกวน มีฉนวนหุ มรอบนอก มีราคาถูก ติดตั้งง่าย ้ นํ้าหนักเบาและ การรบกวนทางไฟฟ้ าตํ่า สายโทรศัพท์จดเป็ น ั สายคู่บิดเกลียวแบบหุ มฉนวน ้ 1.2 สายคู่บิดเกลียวชนิดไม่ ห้ ุมฉนวน (Unshielded Twisted Pair : UTP) เป็ น สายคู่บิดเกลียวมีฉนวนชั้นนอกที่บางอีกชั้นทําให้สะดวกในการโค้งงอแต่สามารถ ป้ องกันการรบกวนของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าได้นอย ้ ็ กว่า ชนิดแรก แต่กมีราคาตํ่ากว่า จึงนิยมใช้ในการ เชื่อมต่ออุปกรณ์ในเครื อข่าย ตัวอย่าง ของสายสายคู่ บิดเกลียวชนิดไม่หุมฉนวน ที่เห็นในชีวตประจําวัน ้ ิ ่ คือ สายโทรศัพท์ที่ใช้อยูในบ้าน มีราคาถูกและนิยม ั ั ใช้กนมากที่สุด ส่ วนใหญ่มกใช้กบระบบโทรศัพท์ ั แต่สายแบบนี้มกจะถูกรบกวนได้ง่าย และไม่ค่อย ั ทนทาน 2) สายโคแอกเชียล (coaxial) เป็ นตัวกลางเชื่อมโยงที่มีลกษณะเช่นเดียวกับสายที่ต่อจากเสาอากาศ สายโคแอกเชียลที่ใช้ ั ทัวไปมี 2 ชนิด คือ 50 โอห์มซึ่งใช้ส่งข้อมูลแบบดิจิทล และชนิด 75 โอห์มซึ่งใช้ส่งข้อมูล ั ่ สัญญาณแอนะล็อก สายประกอบด้วยลวดทองแดงที่เป็ นแกนหลักหนึ่งเส้นที่หุมด้วยฉนวน ้ ชั้นหนึ่ง เพื่อป้ องกันกระแสไฟรั่ว จากนั้นจะหุมด้วยตัวนําซึ่งทําจากลวดทองแดงถักเป็ นเปี ย เพื่อ ้ ป้ องกันการรบกวนของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าและสัญญาณรบกวนอื่นๆ ก่อนจะหุมชั้นนอกสุ ดด้วย ้
  • 4. ฉนวนพลาสติก ลวดทองแดงที่ถกเป็ นเปี ยนี้เองเป็ นส่ วนหนึ่งที่ทาให้สายแบบนี้มีช่วงความถี่ ั ํ สัญญาณไฟฟ้ าสามารถผ่านได้สูงมาก และนิยมใช้เป็ นช่องสื่ อสารสัญญาณแอนะล็อกเชื่องโยง ผ่านใต้ทะเลและใต้ดิน 3. เส้ นใยนําแสง (fiber optic) ใย ทําจากแก้วหรื อพลาสติกมีลกษณะเป็ นเส้นบางๆ คล้าย เส้นใยแก้วจะทําตัวเป็ นสื่ อในการส่ งแสง ั เลเซอร์ ที่มีความเร็ วในการส่ งสัญญาณเท่ากับ ความเร็ วของแสง สามารถส่ งสัญญาณที่มีความถี่สูงได้ และ สัญญาณรบกวนภายนอกมีอย่างเดียวคือ แสงจากภายนอก มีราคาค่อนข้างสู งและดูแลรักษายาก
  • 5. สื่ อกลางประเภทไร้ สาย (Wireless Media) การสื่ อสารข้อมูลแบบไร้สายนี้สามารถส่ งข้อมูลได้ทุกทิศทางโดยมีอากาศเป็ นตัวกลางในการ สื่ อสาร 1. สั ญญาณไมโครเวฟ (Microwave) เป็ นสื่ อกลางในการสื่ อสารที่มีความเร็วสู ง ส่ งข้อมูลโดยอาศัยสัญญาณไมโครเวฟ ซึ่งเป็ น สัญญาณคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าไปในอากาศพร้อมกับข้อมูลที่ตองการส่ ง และจะต้องมีสถานีที่ทา ้ ํ หน้าที่ส่งและรับข้อมูล และเนื่องจากสัญญาณไมโครเวฟจะเดินทางเป็ นเส้นตรง ไม่สามารถเลี้ยว หรื อโค้งตามขอบโลกที่มีความโค้งได้ จึงต้องมีการตั้งสถานีรับ - ส่ งข้อมูลเป็ นระยะๆ และส่ งข้อมูล ่ ต่อกันเป็ นทอดๆ ระหว่างสถานีต่อสถานีจนกว่าจะถึงสถานีปลายทาง และแต่ละสถานีจะตั้งอยูในที่ ่ สู ง ซึ่งจะอยูในช่วงความถี่ 108 - 1012 เฮิรตซ์ 2) ดาวเทียม ( satellite System ) ได้รับการพัฒนาขึ้นมาเพื่อหลีกเลี่ยงข้อจํากัดของสถานีรับ - ส่ งไมโครเวฟบนผิวโลก วัตถุประสงค์ในการสร้างดาวเทียมเพื่อเป็ นสถานีรับ - ส่ งสัญญาณไมโครเวฟบนอวกาศ และทวน สัญญาณในแนวโคจรของโลกในการส่ งสัญญาณดาวเทียมจะต้องมีสถานีภาคพื้นดินคอยทําหน้าที่ ่ รับ และส่ งสัญญาณขึ้นไปบนดาวเทียมที่โคจรอยูสูงจากพื้นโลก 22,300 ไมล์ โดยดาวเทียมเหล่านั้น ่ ่ ั จะเคลื่อนที่ดวยความเร็วที่เท่ากับการหมุนของโลก จึงเสมือนกับดาวเทียมนั้นอยูนิ่งอยูกบที่ขณะที่ ้
  • 6. โลกหมุนรอบตัวเอง ทําให้การส่ งสัญญาณไมโครเวฟจากสถานีหนึ่งขึ้นไปบนดาวเทียม และการ กระจายสัญญาณ จากดาวเทียมลงมายังสถานีตามจุดต่างๆ บนผิวโลกเป็ นไปอย่างแม่นยํา ดาวเทียม ่ ่ ั สามารถโคจรอยูได้ โดยมีแผงรับพลังงานจากแสงอาทิตย์ ( Solar cell ) ติดตั้งอยูกบดาวเทียม