SlideShare a Scribd company logo
1 of 45
มิติใหม่ของการจัดการองค์กรเรียนรู้
วิจารณ์ พานิช
ประธานมูลนิธิสถาบันส่งเสริมการจัดการความรู้เพื่อสังคม (สคส.)
KM 4.0
บรรยายในการประชุมวิชาการประจาปี (HA National Forum) ครั้งที่ ๑๘ “Inner Power, Together We Can” ๑๕ มีนาคม ๒๕๖๐ 1
ขั้นตอนการนาเสนอ
• ทฤษฎี / หลักการ KM 4.0 วิจารณ์ พานิช
• การประยุกต์ใช้KM 4.0 ในโครงการนาร่อง KM
4.0 DHS วิชุดา ลิ้มศุภวานิช
2
Inner Power
• Human conscious / conscience
• Power of Connectedness /
Wholeness / Oneness
• Power of Tacit Knowledge
• Power of Experience -> Intuition
• Power of Management
• Power of Freedom / Chaord
3
HA Forum 17
10 มีนาคม 2559
4
KM คือ
• เครื่องมือเรียนรู้ร่วมกันจากการปฏิบัติ
• เพื่อให้การทางานมีการใช้ความริเริ่มสร้างสรรค์
และความรู้ของคนทุกระดับ
• ในการบรรลุเป้าหมายที่กาหนด
• ตัวช่วยพนักงาน ให้ทางานได้ผลดีขึ้น
เสนอในเวที KM 3.0 เพื่อเรียนรู้ สร้างสรรค์สู่คุณภาพ...ทุกลมหายใจ ในงาน HA Forum 17, 10 มี.ค. 595
KM 3.0
• อยู่ในวิถี
• มีเป้าหมาย
• ใช้ไอที
• มีพลังจัดการ “หัวปลา”
• มีการจัดการ ความรู้จากภายนอก
HA Forum 17 6
อยู่ในวิถี
• อยู่ในวิถีชีวิตการทางาน เนียนอยู่ในเนื้องาน ไม่ต้องเอ่ยคาว่า
KM
• เกิดการเรียนรู้จากการทางาน
• มีวิถีของการแลกเปลี่ยนแบ่งปันความรู้ ไม่หวง ร่วมมือ
เป็นวัฒนธรรมองค์กร ไม่ทางานเป็นไซโล
• เกิดการพัฒนางาน พัฒนาคน พัฒนาหน่วยงาน เป็น
Learning Organization
• เกิด “วิถี” การทางานใหม่อย่างต่อเนื่อง
HA Forum 17 7
อยู่ในวิถี (๒)
• มีความรู้ให้ค้นมาใช้ทางานได้ตรงความต้องการ
ตรงเวลา พร้อมใช้
• โทรศัพท์มือถือเป็นเครื่องมือหลัก
HA Forum 17 8
มีเป้าหมาย
• โฟกัสเป้าหมายที่ธุรกิจหลักขององค์กร เพื่อผล
ประกอบการที่ดีขึ้น
• พิสูจน์ได้ว่า ช่วยให้ผลประกอบการดีขึ้น
• โฟกัสที่ Critical Knowledge
• ทาแผนที่ความรู้
• กาหนดการไหลของความรู้ ให้ไหลไปยังจุดใช้งานได้สะดวก
https://www.gotoknow.org/posts/591606HA Forum 17 9
ใช้ IT
• โทรศัพท์มือถือ และ Social Media
• ใช้Big Data Technology
HA Forum 17 10
มีพลังจัดการ “หัวปลา”
• หัวปลา = วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าหมาย
• นาไปใช้ตีความคุณค่าของ ผลงานของแต่ละหน่วย
• กาหนดเป้าหมายผลงาน ดาวเงิน ทอง แพลตินั่ม
ให้รางวัล มีผู้บริหารระดับสูงทาหน้าที่
• มีหน่วยงานแนวราบสนับสนุน/ช่วยเหลือ ให้บรรลุ
• มีการเฉลิมฉลองประจาปี และสังเคราะห์ภาพใหญ่
https://www.gotoknow.org/posts/599809HA Forum 17 11
มีการจัดการความรู้จากภายนอก
HA Forum 17 12
SECI Model
Internalization
Explicit
Explicit
Tacit
Explicit
Explicit
Tacit
Socialization Externalization
Combination
From Nonaka 22 Nov 2010
คภ.
คภ.
HA Forum 17 13
KM คืออะไร
• คือการจัดการให้“ความรู้” ออกฤทธิ์ ส่งผลต่อ
ความสาเร็จของงาน
14
KM คืออะไร
• คือการจัดการให้“ความรู้” ออกฤทธิ์ ส่งผลต่อ
ความสาเร็จของงาน
• คนได้เรียนรู้ ได้HRD
15
KM คืออะไร
• คือการจัดการให้“ความรู้” ออกฤทธิ์ ส่งผลต่อ
ความสาเร็จของงาน
• คนได้เรียนรู้ ได้HRD
• องค์กรมีบรรยากาศที่ดี มีความเข้มแข็ง เป็นองค์กร
เรียนรู้
16
ความรู้เป็น means
• งาน
• คน
• องค์กร
End คือ
17
KM 2.0 : Human KM
• เปิดใจ ยินดี/กล้า แลกเปลี่ยน
• EK, TK, SECI Circle
• สุนทรียสนทนา ฟังอย่างลึก เรื่องเล่าเร้าพลัง AI
(AppreciativeInquiry)
• BAR, DAR, AAR, Retrospect,ถอดความรู้
• Peer Assist
• Etc.
เน้นฝึกทักษะคน
18
KM 4.0 มีแม่ยก
• จับเป้า
• ทาเป็นระบบ
• ทาอย่างเป็นขั้นตอน
• มีการวัดและสื่อสาร
19
KM 4.0 มีแม่ยก
• จับเป้า
• ทาเป็นระบบ
• ทาอย่างเป็นขั้นตอน
• มีการวัดและสื่อสาร
Change Management
20
1. จับ
• ยึดกุมภาพใหญ่ ครอบคลุม
• ทาเล็ก พุ่งเป้า ... ภารกิจหลักขององค์กร
• จัดการ Critical Knowledge เพื่อ
ผลสัมฤทธิ์ของภารกิจหลัก
21
2. ทาเป็นระบบ
มี กรอบงาน KM (KM Framework)
• คน ผู้แสดงบทบาทและรับผิดชอบ (roles)
• กระบวนการที่ใช้(process) ที่เป็นมาตรฐานกลาง
• เทคโนโลยี เพื่อหนุนการ ลปรร. ครบวงจร ใช้ร่วมกันทั้งองค์กร
• กลไกกากับดูแล (governance) : สร้างกติกา ข้อตกลง
22
3. ทาอย่างเป็นขั้นตอน
1. ยุทธศาสตร์ (Strategy Phase)
2. วางแผน (Planning Phase)
3. ทดสอบ & โครงการนาร่อง (Testing & Pilot Phase)
4. ขยายผล (Roll-out Phase)
5. บูรณาการกับงานประจา (Operational Phase)
23
4. มีการวัดและสื่อสาร
• ตั้งเป้า benefit
• สร้างวิธีวัด
• สื่อสารผล
• สร้างการยอมรับ พลังมวลชน พลังนโยบาย
24
ห่วงโซ่อุปทานความรู้สำคัญยิ่งยวด
Doc
Verify
Analysis
Synthesis
Re-use
Capture
Critical Knowledge
25
การจัดการความรู้ฝังในระบบงาน
KM 4.0
องค์กร
Change Management
Critical Knowledge
จับเป้า
งาน
คน
Value Management
> ทาเป็นระบบ
> ทาอย่างเป็นขั้นตอน
> มีการวัดและสื่อสาร
26
การจัดการความรู้ฝังในระบบงาน
KM 4.0
เมื่อ KM ฝังสู่เนื้อในองค์กร
Roles ครบบทบาท ครบหน่วยงาน
Owners ครบทุกจุดสาคัญ ทาหน้าที่ได้ดี
CoP ครบ ทาหน้าที่ได้ดี
KM Process : Use & Deliver values,
Documentation
Lessons learned doc, re-use & value creation
KM Technologies : ใช้ได้ดี มีมาตรฐานสูง
Information Architecture
Policy : Clear expectation
KM Success stories มากมาย
Culture : Learning, Share, CQI
Metrics & Report System
Change Management
Critical Knowledge
งาน คน
Value Management
องค์กร
27
เมื่อ KM ฝังสู่เนื้อในองค์กร
• Roles ครบบทบาท ครบหน่วยงาน
• Owners ครบทุกจุดสาคัญ ทาหน้าที่ได้ดี
• CoP ครบ ทาหน้าที่ได้ดี
• KM Process : Use & Deliver values,
Documentation
• Lessons learned doc, re-use & value creation
28
เมื่อ KM ฝังสู่เนื้อในองค์กร(2)
• KM Technologies : ใช้ได้ดี มีมาตรฐานสูง
• Information Architecture
• Policy : Clear expectation
• KM Success stories มากมาย
• Culture : Learning, Share, CQI
• Metrics & Report System
29
เครือข่ายการเรียนรู้ระบบสุขภาพอาเภอ
โครงการเสริมพลัง
ด้วย การจัดการความรู้ยุคใหม่ (KM 3.0) และ
การจัดการข้อมูลพฤติกรรมสุขภาพ
30
DHS/DHML
/DHSAKM 3.0
BD
(Behavioral
Data)
สิ่งที่หนุนเสริม สิ่งที่มีอยู่
แนวคิดโครงการ
31
วัตถุประสงค์โครงการ
• สร้างต้นแบบ Learning Network ในแต่ละ DHS
พื้นที่นาร่อง ระหว่างผู้ให้และผู้ใช้บริการ
เกิดการเชื่อมโยงการเรียนรู้ ระหว่าง 3 DHS ที่จะเอื้อต่อการ
ขยายผลสู่ DHS พื้นที่อื่นๆ
• ใช้ Big Data Technology หนุนให้เกิดต้นแบบ ระบบ และ
เครื่องมือเชื่อมการเข้าถึง และใช้ข้อมูลในการดูแลสุขภาพ
ของตนเอง
32
ข้อมูลพฤติกรรมของผู้ป่วย
ผู้เชี่ยวชาญด้าน
สุขภาพ
ระบบบริหารจัดการ
โรงพยาบาล
DashboardSmart Health System
ข้อเสนอแนะด้านสุขภาพ
สาหรับแต่ละบุคคล,พื้นที่
Big Data (Behavioral Data) Technology
Big Data คือข้อมูลที่มีปริมาณมาก มีความหลากหลาย
และมีความซับซ้อนสูง
Predictive Modeling สร้างแบบจาลองพยากรณ์ เพื่อให้
ข้อเสนอแนะที่มีประสิทธิภาพและแม่นยา
Cloud Computing คือบริการที่ครอบคลุมการประมวลผล
จัดเก็บข้อมูล และระบบออนไลน์ต่าง ๆ ผ่านอินเตอร์เน็ต33
DHS – KM 4.0
.
Change Management
ผู่ให้บริการพัฒนาวิธีการดูแลผู้ป่วยได้ดียิ่งขึ้น
การ ลปรร. ด้านการจัดการสุขภาพ
ร่วมกันของ DHS
จับเป้า
Learning Network
> ทาเป็นระบบ
> ทาอย่างเป็นขั้นตอน
> มีการวัดและสื่อสาร
DHS- KM
DHS- KM
DHS- KM
Doc
Verify
Analysis
Synthesis
Re-use
Capture
Doc
Verify
Analysis
Synthesis
Re-use
Capture
Doc
Verify
Analysis
Synthesis
Re-use
Capture
“คนในพื้นที่สามารถเรียนรู้และ
ดูแลสุขภาพของตนเองได้อย่าง
ถูกต้องและมีสุขภาพที่ดี” 34
กิจกรรมการดาเนินงาน
ศึกษาข้อมูล Mapping หา DHS พื้นที่นาร่อง
35
การประชุมเชิงปฏิบัติการ Benefits Mapping ความคาดหวัง
ของทีมจัดการระบบสุขภาพอาเภอ (DHS) ต่อเครื่องมือ KM 3.0
และการจัดการข้อมูลพฤติกรรมสุขภาพ (Ownership)
36
ประชุมหารือผู้เชี่ยวชาญด้านโรคเบาหวานและความดันสูง
เพื่อหาพฤติกรรมทางสุขภาพที่มีผลต่อโรค ครั้งที่ 1
37
จัดประชุมเชิงปฏิบัติการออกแบบแผนการสร้างการเรียนรู้
และจัดการข้อมูลพฤติกรรมสุขภาพของ DHS ด้วย KM 3.0
38
จัดประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ NCD Clinic ต้นแบบ
รพ.สต. เครือข่ายอาเภอบางปะอิน
39
จัดประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ NCD Clinic ต้นแบบ
รพ.สต. เครือข่ายอาเภอบางปะอิน
40
แนวทางดาเนินงาน
ศึกษา
ข้อมูล
ลง พท./
เลือก
DHS
พท.
นาร่อง
สนับสนุน DHS พท.นาร่อง จัดทาแผน และดาเนินการใช้ KM 3.0
ต.ค-ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย.
สนับสนุน facilitate กระบวนการเรียนรู้ฯ ให้ DHS แต่ละ พท.
DHS Conference (รวม 3 DHS) 4 ครั้ง)
จัดประชุมผู้เชี่ยวชาญฯ นาข้อมูลพฤติกรรมสุขภาพ มาใช้ประกอบการสร้างModel
DHS Tour / Empower visit (ลงพื้นที่)
จัดประชุมภาคียุทธศาสตร์โครงการ
สนับสนุนก facilitate ลปรร. ผ่าน Online Learning ใน DHS แต่ละ พท./ระหว่าง พท.
ออกแบบและพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อ
สุขภาพ (Health Recommender)
ทดสอบ/ปรับปรุงระบบ จัดอบรมผู้ใช้ระบบ
รวบรวมข้อมูลจากผู้ใช้งานจริงเพื่อนาไปสู่การ
เรียนรู้ (Online Learning Platform)
สร้างโมเดล จัดกลุ่ม/วิเคราะห์พฤติกรรม
(Behavior Pattern Modeling)
41
ผลลัพธ์ที่คาดหวังของโครงการ (Outcome)
คนในพื้นที่สามารถเรียนรู้และดูแลสุขภาพของตนเอง
ได้อย่างถูกต้องและมีสุขภาพที่ดี
2.ได้ต้นแบบระบบและเครื่องมือเชื่อมข้อมูลสุขภาพ
และข้อมูลพฤติกรรมส่วนบุคคล ไปสู่ระบบ DHS
1.เกิดการเรียนรู้ร่วมกัน ภายใน DHS พื้นที่นาร่อง
เพื่อพัฒนาการทางาน อย่างเชื่อมโยงและเป็นระบบ
3.ได้ต้นแบบ Learning Network ระหว่าง 3 DHS พื้นที่นาร่อง
42
43
44
เมื่อเป็น LO
• ไม่รับประกันความราบรื่น
• แต่เมื่อเผชิญความท้าทายใหญ่ มีพลังสู้
• อาจเปลี่ยน วิกฤติ/ความท้าทายใหญ่ เป็นโอกาสก้าว
กระโดด
• ผู้บริหารอาจสร้างความท้าทายเอง เพื่อ
เตรียมพร้อม/ก้าวกระโดด
• สมาชิกอาจเติบโตแบบไม่เป็นเส้นตรง
สรุป
45

More Related Content

What's hot

Organization Culture
Organization CultureOrganization Culture
Organization Culture
Komsun See
 
การสร้างเครือข่ายและการประสานงาน
การสร้างเครือข่ายและการประสานงานการสร้างเครือข่ายและการประสานงาน
การสร้างเครือข่ายและการประสานงาน
Taraya Srivilas
 
บริหารทรัพยากร3
บริหารทรัพยากร3บริหารทรัพยากร3
บริหารทรัพยากร3
Aom Chay
 

What's hot (7)

Borai organizational culture
Borai organizational cultureBorai organizational culture
Borai organizational culture
 
วัฒนธรรมองค์กร (Organizational culture)
วัฒนธรรมองค์กร (Organizational culture)วัฒนธรรมองค์กร (Organizational culture)
วัฒนธรรมองค์กร (Organizational culture)
 
Power point 1 การบริหารทรัพยากรมนุษย์
Power point 1 การบริหารทรัพยากรมนุษย์Power point 1 การบริหารทรัพยากรมนุษย์
Power point 1 การบริหารทรัพยากรมนุษย์
 
Organization Culture
Organization CultureOrganization Culture
Organization Culture
 
การสร้างเครือข่ายและการประสานงาน
การสร้างเครือข่ายและการประสานงานการสร้างเครือข่ายและการประสานงาน
การสร้างเครือข่ายและการประสานงาน
 
บริหารทรัพยากร3
บริหารทรัพยากร3บริหารทรัพยากร3
บริหารทรัพยากร3
 
ภาวะผู้นำทางการศึกษา
ภาวะผู้นำทางการศึกษาภาวะผู้นำทางการศึกษา
ภาวะผู้นำทางการศึกษา
 

Similar to มิติใหม่ของการจัดการองค์กรเรียนรู้

คู่มือการจัดทำแผนการจัดการความรู้
คู่มือการจัดทำแผนการจัดการความรู้  คู่มือการจัดทำแผนการจัดการความรู้
คู่มือการจัดทำแผนการจัดการความรู้
Walaiporn Mahamai
 

Similar to มิติใหม่ของการจัดการองค์กรเรียนรู้ (20)

KM 4.0 : การจัดการความรู้ฝังในระบบงาน
KM 4.0 : การจัดการความรู้ฝังในระบบงานKM 4.0 : การจัดการความรู้ฝังในระบบงาน
KM 4.0 : การจัดการความรู้ฝังในระบบงาน
 
Btg 610208
Btg 610208Btg 610208
Btg 610208
 
Km cream
Km creamKm cream
Km cream
 
ข้อสังเกต การจัดการความรู้ Maruay 17th ha forum
ข้อสังเกต การจัดการความรู้ Maruay 17th ha forum  ข้อสังเกต การจัดการความรู้ Maruay 17th ha forum
ข้อสังเกต การจัดการความรู้ Maruay 17th ha forum
 
R2R_KM4.0Thailand4
R2R_KM4.0Thailand4R2R_KM4.0Thailand4
R2R_KM4.0Thailand4
 
Blog22 feb21
Blog22 feb21Blog22 feb21
Blog22 feb21
 
ยุทธศาสตร์นักจัดการความรู้
ยุทธศาสตร์นักจัดการความรู้ยุทธศาสตร์นักจัดการความรู้
ยุทธศาสตร์นักจัดการความรู้
 
CM in DHS-KM
CM in DHS-KMCM in DHS-KM
CM in DHS-KM
 
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
 
Km3
Km3Km3
Km3
 
R2R
R2RR2R
R2R
 
R2 r thailand 620731_n2
R2 r thailand 620731_n2R2 r thailand 620731_n2
R2 r thailand 620731_n2
 
Lo radiology n2
Lo radiology n2Lo radiology n2
Lo radiology n2
 
คุณค่าของ R2R และ KM แบบหยั่งรากลึก part I
คุณค่าของ R2R และ KM แบบหยั่งรากลึก part Iคุณค่าของ R2R และ KM แบบหยั่งรากลึก part I
คุณค่าของ R2R และ KM แบบหยั่งรากลึก part I
 
กระบวนการและระบบการจัดการความรู้ KM systems and processes
กระบวนการและระบบการจัดการความรู้ KM systems and processesกระบวนการและระบบการจัดการความรู้ KM systems and processes
กระบวนการและระบบการจัดการความรู้ KM systems and processes
 
การบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล โดย ดร.ดนัย เทียนพุฒ
การบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล โดย ดร.ดนัย เทียนพุฒการบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล โดย ดร.ดนัย เทียนพุฒ
การบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล โดย ดร.ดนัย เทียนพุฒ
 
คู่มือการจัดทำแผนการจัดการความรู้
คู่มือการจัดทำแผนการจัดการความรู้  คู่มือการจัดทำแผนการจัดการความรู้
คู่มือการจัดทำแผนการจัดการความรู้
 
KM Handbook
KM HandbookKM Handbook
KM Handbook
 
KM 3.0 เพื่อ พัฒนาและขับเคลื่อนนโยบาย เพื่อสุขภาพ
KM 3.0 เพื่อ พัฒนาและขับเคลื่อนนโยบาย เพื่อสุขภาพKM 3.0 เพื่อ พัฒนาและขับเคลื่อนนโยบาย เพื่อสุขภาพ
KM 3.0 เพื่อ พัฒนาและขับเคลื่อนนโยบาย เพื่อสุขภาพ
 
R2 rppt
R2 rpptR2 rppt
R2 rppt
 

More from Pattie Pattie

More from Pattie Pattie (20)

สรุปการประชุม AAR การเข้าร่วมงาน HA National Forum ครั้งที่ 24 จาก กสศ
สรุปการประชุม AAR การเข้าร่วมงาน HA National Forum ครั้งที่ 24 จาก กสศสรุปการประชุม AAR การเข้าร่วมงาน HA National Forum ครั้งที่ 24 จาก กสศ
สรุปการประชุม AAR การเข้าร่วมงาน HA National Forum ครั้งที่ 24 จาก กสศ
 
สรุป Schools That Matter วันที่ 10 เมษายน 2567
สรุป Schools That Matter วันที่ 10 เมษายน 2567สรุป Schools That Matter วันที่ 10 เมษายน 2567
สรุป Schools That Matter วันที่ 10 เมษายน 2567
 
รูปแบบการขยายผลการจัดการเรียนรู้การแพทย์ฉุกเฉิน
รูปแบบการขยายผลการจัดการเรียนรู้การแพทย์ฉุกเฉินรูปแบบการขยายผลการจัดการเรียนรู้การแพทย์ฉุกเฉิน
รูปแบบการขยายผลการจัดการเรียนรู้การแพทย์ฉุกเฉิน
 
AIforTeaching โดย รศ. ดร. สิริวุฒิ บูรณพิร
AIforTeaching โดย รศ. ดร. สิริวุฒิ บูรณพิรAIforTeaching โดย รศ. ดร. สิริวุฒิ บูรณพิร
AIforTeaching โดย รศ. ดร. สิริวุฒิ บูรณพิร
 
การบริหารวิชาการและหลักสูตร บรรยายโดย ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช
การบริหารวิชาการและหลักสูตร บรรยายโดย ศ.นพ.วิจารณ์ พานิชการบริหารวิชาการและหลักสูตร บรรยายโดย ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช
การบริหารวิชาการและหลักสูตร บรรยายโดย ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช
 
The Lancet Commission on peaceful societies through health equity and gender ...
The Lancet Commission on peaceful societies through health equity and gender ...The Lancet Commission on peaceful societies through health equity and gender ...
The Lancet Commission on peaceful societies through health equity and gender ...
 
คณะพยาบาลศาสตร์ สบช KMSharingforLearningOrganization
คณะพยาบาลศาสตร์ สบช KMSharingforLearningOrganizationคณะพยาบาลศาสตร์ สบช KMSharingforLearningOrganization
คณะพยาบาลศาสตร์ สบช KMSharingforLearningOrganization
 
การประชุมกลุ่มสามพราน ตระกูล ส โดย ศ.นพ.ประเวศ วะสี
การประชุมกลุ่มสามพราน ตระกูล ส โดย ศ.นพ.ประเวศ วะสีการประชุมกลุ่มสามพราน ตระกูล ส โดย ศ.นพ.ประเวศ วะสี
การประชุมกลุ่มสามพราน ตระกูล ส โดย ศ.นพ.ประเวศ วะสี
 
Transformative Education——Pearls in Medical Education 2567
Transformative Education——Pearls in Medical Education 2567Transformative Education——Pearls in Medical Education 2567
Transformative Education——Pearls in Medical Education 2567
 
ResearchfoundationPro.pdf
ResearchfoundationPro.pdfResearchfoundationPro.pdf
ResearchfoundationPro.pdf
 
PMAYP2024_Opening speech (Prof. Vicharn).pdf
PMAYP2024_Opening speech (Prof. Vicharn).pdfPMAYP2024_Opening speech (Prof. Vicharn).pdf
PMAYP2024_Opening speech (Prof. Vicharn).pdf
 
670111_PDF.pdf
670111_PDF.pdf670111_PDF.pdf
670111_PDF.pdf
 
NoteMemoCare.pdf
NoteMemoCare.pdfNoteMemoCare.pdf
NoteMemoCare.pdf
 
KrungthepThaonUniv.pptx
KrungthepThaonUniv.pptxKrungthepThaonUniv.pptx
KrungthepThaonUniv.pptx
 
จาก KM สู่ SLC.pptx
จาก KM สู่ SLC.pptxจาก KM สู่ SLC.pptx
จาก KM สู่ SLC.pptx
 
Udom_Pdf.pdf
Udom_Pdf.pdfUdom_Pdf.pdf
Udom_Pdf.pdf
 
Kregrit_Pdf.pdf
Kregrit_Pdf.pdfKregrit_Pdf.pdf
Kregrit_Pdf.pdf
 
Phuket_sandbox.pdf
Phuket_sandbox.pdfPhuket_sandbox.pdf
Phuket_sandbox.pdf
 
Surin_ppt.pptx
Surin_ppt.pptxSurin_ppt.pptx
Surin_ppt.pptx
 
Nakornsawan.pdf
Nakornsawan.pdfNakornsawan.pdf
Nakornsawan.pdf
 

มิติใหม่ของการจัดการองค์กรเรียนรู้

Editor's Notes

  1. 13
  2. วัตถุประสงค์โครงการ (1 ปี) 1.สร้างต้นแบบ Learning Network ระหว่าง 3 DHS พื้นที่นำร่อง เพื่อโยงการเรียนรู้ 3 แห่งเข้าหากัน เกิดความร่วมมือในการทำงานร่วมกันของหน่วยดูแลสุขภาพในพื้นที่ 2.ใช้ Big Data Technology หนุนให้เกิด ต้นแบบระบบและเครื่องมือเชื่อมการเข้าถึง และ ใช้ ข้อมูลในการดูแลสุขภาพของตนเอง ได้อย่างถูกต้องและมีสุขภาวะที่ดีร่วมกันของหน่วยดูแลสุขภาพในพื้นที่ รพช. รพ.สต. และประชาชน (ที่เป็นโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง)  
  3. แนวทางการดำเนินงาน 1. ค้นหาและศึกษาข้อมูล ลงพื้นที่จับภาพ DHS พื้นที่นำร่อง ที่มีลักษณะหรือความพร้อมที่จะทดลองใช้ KM 3.0 พัฒนาการเรียนรู้และการทำงานของ DHS 2. สนับสนุนให้ DHS พื้นที่นำร่อง จัดทำแผนและดำเนินการใช้ KM 3.0 เพื่อพัฒนาการทำงานตอบโจทย์การสร้างเสริมสุขภาวะในพื้นที่ตนเอง   -ทำความเข้าใจ DHS 3 พื้นที่นำร่อง -ร่วมกันออกแบบแผนการใช้ KM 3.0 หนุนการทำงานของ DHS และสร้างเครือข่ายการเรียนรู้ร่วมกัน -หนุนการประสาน ทำความเข้าใจ และจัดเก็บข้อมูลในพื้นที่ในระหว่างดำเนินโครงการ -หนุนการ facilitate กระบวนการเรียนรู้ร่วมกันภายในและข้าม DHS ในระหว่างการดำเนินโครงการของแต่ละพื้นที่ โดยทีมบริหารโครงการ (ม.สคส.) ทำหน้าที่เป็น facilitator ส่วนกลาง 3. ร่วมมือกับ ICT Strategic Partner พัฒนา วิธีการส่งข้อมูลเชิงพฤติกรรม โดยใช้ Big Data technology มาจัดเก็บและประมวลข้อมูลสำคัญๆ ที่โยงกับสุขภาพหรือสุขภาวะของประชาชนในพื้นที่ -พัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อหาพฤติกรรมทางสุขภาพที่มีผลต่อโรค จากการรายงานสุขภาพตนเอง (โดยผู้ป่วยเบาหวาน และความดันโลหิตสูงของกลุ่มเป้าหมาย/ ผู้ดูแล/ อสม.) ผ่าน smart phone และข้อมูลการรับการรักษาที่โรงพยาบาลจากระบบสารสนเทศโรงพยาบาล (Hospital Information System) ของผู้เข้าร่วมโครงการในพื้นที่ 3 อำเภอ มาประกอบการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงสุขภาพ -นอกจากนี้ยังมีการนำองค์ความรู้ด้านสุขภาพจากผู้เชี่ยวชาญมาใช้ประกอบการ **สร้างโมเดลเพื่อแนะนำ (feedback) การดูแลสุขภาพตนเองที่เหมาะสมของแต่ละบุคคลในท้องที่ (Personalized Recommendation) **สร้างโมเดลเพื่อจัดกลุ่มและวิเคราะห์พฤติกรรม (Behavior Pattern Modeling)  
  4. ผลลัพธ์ที่คาดหวังของโครงการ (Outcome) 1.ได้ต้นแบบ Learning Network ระหว่าง 3 DHS พื้นที่นำร่อง 2.ได้ต้นแบบระบบและเครื่องมือเชื่อมข้อมูลสุขภาพ และข้อมูลพฤติกรรมส่วนบุคคล ไปสู่ระบบ DHS เพื่อให้ผู้ให้บริการสุขภาพในพื้นที่สามารถบริหารจัดการ หาวิธีให้บริการดูแลสุขภาพประชาชน (กลุ่มเป้าหมาย) ในพื้นที่ได้เป็นรายบุคคล (Personal health care) 3.เกิดการทำงานอย่างเชื่อมโยงและเป็นระบบภายใน แต่ละ DHS พื้นที่นำร่อง เพื่อสุขภาวะของคนในระดับอำเภอ