SlideShare a Scribd company logo
1 of 81
Download to read offline
การจัดการความรูู้
(Knowledge Management: KM)
        g      g


               บรรยายโดย อ.ดร.พัชราวดี ศรีบุญเรือง
หัวข้อบรรยาย
(Knowledge Management: KM)
1.   ความหมาย
2.   องค์ประกอบ
3.   Model ปลาทู
4.   บุคคลสําคัญ
       ุ
5.   ประเภทของความรู้
6.   เทคโนโลยทนามาใช
     เทคโนโลยีที่นํามาใช้
7.   ปัญหา
8.
8    ตวอยาง
     ตัวอย่าง
ความหมายของการจัดการความรู้
(Knowledge Management: KM)
Marquardt และ Raynolds (1994)
การบรหารจดการขอมูล ขาวสาร และความร้ จาเปนสาหรบ
การบริหารจัดการข้อมล ข่าวสาร และความรูที่จําเป็นสําหรับ
องค์กร โดยความรู้ที่ได้มาจากการแสวงหาความรู้ จากนั้น
จึงนํามาสร้างเป็นความรู้ขององค์กร จัดเก็็บและรักษาความรู้
                  ็
เหล่านั้นไว้ เพื่อให้ทุกคนสามารถเข้าถึงความรู้ได้ รวมทั้ง
                                              ู
สามารถนําความรู้เหล่านั้นไปใช้ประโยชน์เพื่อให้บรรลุ
วตถุประสงคทตงไว
วัตถประสงค์ที่ตั้งไว้
ความหมายของการจัดการความรู้
(Knowledge Management: KM) (ต่อ)
 Kermally (2002)
 เป็็นการสร้้างสิ่งแวดล้้อมให้เกิดขึ้นภายในองค์กร ซึึ่งจะ
                           ใ ้ ึ         ใ     ์
 นําไปสู่การสร้างสรรค์ ถ่ายทอด และการแบ่งปันความรูู้
         ู
 โดยเฉพาะอย่างยิ่งการนําไปสู่การสร้างวัฒนธรรมองค์กร
 ทเหมาะสมและสรางความเปนผู าของบคลากรในองค์กร
 ที่เหมาะสมและสร้างความเป็นผ้นําของบุคลากรในองคกร
 ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ความหมายของการจัดการความรู้
(Knowledge Management: KM) (ต่อ)
Trapp (1999)
เป็นกระบวนการทีี่ประกอบด้้วยงานทีี่หลากหลายและมีี
 ป็
จํานวนมาก โดยมีการบริหารจัดการความรู้ในลักษณะของ
                                        ู
การบูรณาการความรู้ เพื่อทําให้เกิดคุณประโยชน์ตามที่ได้
คาดหวงไว เรยกไดวา การจดการความรู ปนแนวคด
คาดหวังไว้ เรียกได้ว่า การจัดการความร้เป็นแนวคิด
รวบยอดสําหรับการบริหารจัดการทรัพยากรองค์ความรู้
ในองค์กร
ความหมายของการจัดการความรู้
(Knowledge Management: KM) (ต่อ)
 วิจารณ์ พานิช (2547: 3-4)
 1.
 1 การจดการความรู้ หมายถึึง การรวบรวม การจดระบบ
         ั                                      ั
 การจัดเก็บ และการเข้าถึงข้อมูล เพื่อสร้างเป็นความรู้ เทคโนโลยี
 ด้านข้อมูล และด้านคอมพิวเตอร์ เป็นเครื่องมือช่วยเพิ่มพลังใน
 การจัดการความรูู้ แต่เทคโนโลยีด้านข้อมูลและคอมพิวเตอร์โดย
                                         ู
 ตัวมันเอง ไม่ใช่การจัดการความรู้
ความหมายของการจัดการความรู้
(Knowledge Management: KM) (ต่อ)
 2. การจัดการความรู้เกี่ยวข้องกับการแบ่งปันความรู้
 (Knowledge Sharing) ถ้าไม่มีการแบ่งปันความรู้ ความพยายาม
 ในการจัดการความรู้จะไม่ประสบผลสําเร็จ พฤติกรรมภายใน
                    ู
 องค์กรเกี่ยวกับวัฒนธรรม พลวัต และวิธีปฏิบติมีผลต่อการแบ่งปัน
                                           ั
 ความรู ประเดนดานวฒนธรรม และสังคมมีความสําคัญยิ่งต่อการ
 ความร้ ประเด็นด้านวัฒนธรรม และสงคมมความสาคญยงตอการ
 จัดการความรู้
ความหมายของการจัดการความรู้
(Knowledge Management: KM) (ต่อ)
 3. การจัดการความรู้ต้องการผู้ทรงความรู้ ความสามารถในการ
 ตีความ และการประยุกต์ใช้ความรู้ในการสร้างนวัตกรรม และเป็น
 ผู้นําทางในองค์กร รวมทั้งต้องการผู้เชี่ยวชาญในสาขาใดสาขา
    ู                               ู       ญ
 หนึ่ง สําหรับช่วยแนะนําวิธีประยุกต์ใช้การจัดการความรู้ ดังนั้น
 กจกรรมเกยวกบคน ไดแก การดงดูดคนเกงและคนด การพฒนา
 กิจกรรมเกี่ยวกับคน ได้แก่ การดึงดดคนเก่งและคนดี การพัฒนา
 คน การติดตามความก้าวหน้าของคน
ความหมายของการจัดการความรู้
(Knowledge Management: KM) (ต่อ)

 4. การจัดการความรู้ เป็นเรื่องของการเพิ่มประสิทธิภาพของ
 องค์กร การจัดการความรู้เกิดขึ้น เพราะมีความเชื่อว่าจะช่วย
 สรางความมชวตชวา และความสําเร็จให้แก่องค์กร การปร เมน
 สร้างความมีชีวิตชีวา แล ความสาเรจใหแกองคกร การประเมิน
 “ต้นทุนทางปัญญา” (Intellectual Capital) และผลสําเร็จของ
 การประยุกตใชการจดการความรู ป็นดัชนีบอกว่า องคกรมการ
 การประยกต์ใช้การจัดการความร้เปนดชนบอกวา องค์กรมีการ
 จัดการความรู้อย่างได้ผลหรือไม่
ความหมายของการจัดการความรู้
(Knowledge Management: KM) (ต่อ)

Stair (2001) กล่าวว่า
กระบวนการ รวบรวม จัดการความรู้ ความชํานาญไม่ว่าความรู้
นนจ อยู นคอมพิวเตอร์ ในกระดาษหรือตัวบคคล โดยม
นั้นจะอย่ในคอมพวเตอร ในกร ดาษหรอตวบุคคล โดยมี
จุดมุ่งหมายเพื่อจัดการให้บคลากรได้รับความรู้และแลกเปลี่ยน
                          ุ
ความรู าใหเกดการเปลยนแปลงพฤตกรรมจากเดม โดยให้เกิด
ความร้ทําให้เกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมจากเดิม โดยใหเกด
ประสบการณ์และความชํานาญเพิ่มขึ้น
ความหมายของการจัดการความรู้
(Knowledge Management: KM) (ต่อ)
                               สรุป
         KM เป็นระบบการบริหารจัดการข้อมล ข่าวสาร และความร้
            เปนระบบการบรหารจดการขอมูล ขาวสาร และความรู
ด้วยการการรวบรวมความรู้ จัดระบบ จัดเก็บง่าย เพื่อให้ง่ายต่อการเข้าถึง
รวมทงการบูรณาการความรู โดยอาศยการแบงปนความรู จากผู
รวมทั้งการบรณาการความร้ โดยอาศัยการแบ่งปันความร้ จากผ้ทรง
ความรู้ ในการขับเคลื่อนการจัดการความรู้อย่างมีประสิทธิภาพ เพือให้เกิด
                                                             ่
คุณประโยชน เรยกไดวาการจดการความรู ป็นเครื่องมือและวิธีเพิ่มมลค่า
คณประโยชน์ เรียกได้ว่าการจัดการความร้เปนเครองมอและวธเพมมูลคา
รวมทั้งเป็นแนวคิดรวบยอดในการบริหารจัดการความรู้ในองค์กร/
หนวยงาน และเครือข่าย
หน่วยงาน และเครอขาย
ความหมายของการจัดการความรู้
(Knowledge Management: KM) (ต่อ)
           ดังนั้น การนําการจัดการความรู้มาใช้ในการขับเคลื่อน
เครืือข่่าย จึึงเป็นสิ่ิงทีี่จําเป็นและสําคญมาก เนืื่องจาก หากนํา
                  ป็             ป็      ํ ั                    ํ
ความรู้ของเครือข่ายที่มอยูอย่างกระจัดกระจายมารวบรวมให้เป็น
                                ี ่
ระบบ ระเบียบ และง่ายต่อการเข้าถึง ก็จะเกิดเป็นขุมทรัพย์
ความรู้ที่ทุกคนในเครือข่ายสามารถเข้าถึงและนําไปใช้ได้อย่าง
         ู
มีประสิทธิภาพ
ทําไมต้องนําการจัดการความรู้มาใช้ (Why KM?)

 นภดล สุขสํําราญ, 2554
 1. ความเปลี่ยนแปลงและการแข่งขันทางการตลาด เพื่อให้ลูกค้า
 พึงพอใจจึงต้องมีการพัฒนาฐานความรู้ในองค์กร
 2. ลดความผิดพลาดในการแข่งขันด้านการตลาด เพื่อให้การ
 ทํางานมีประสิทธิภาพมากขึ้น
 3. สรางวธปฏบตเพอชวยลดงบประมาณในการทางาน
 3 สร้างวิธีปฏิบติเพื่อช่วยลดงบประมาณในการทํางาน
                ั
 4. การสร้างนวัตกรรมใหม่ ๆ เพื่อสร้างความสําเร็จในองค์กร
องค์ประกอบของการจัดการความรู้ (Component of KM)

 1.
 1 คน (People) หมายถึง พนกงาน ลูกจาง ลกค้า หรือผ้มีผลกระทบกบ
                   หมายถง พนักงาน ลกจ้าง ลูกคา หรอผู ผลกระทบกับ
 องค์กร KM จะรวบรวมว่าใครเชี่ยวชาญในด้านใดบ้าง
 ถามงานใหมเขามาจะมอบหมายใหใครเปนผู บผิดชอบ
 ถ้ามีงานใหม่เข้ามาจะมอบหมายให้ใครเป็นผ้รับผดชอบ
 2. สถานที่ (Place) หมายถึง ที่ที่ทุกคนในองค์กรสามารถระดมความคิด
 รวมกนได อาจอยู นรูปของเวบบอรด การประชม
 ร่วมกันได้ อาจอย่ในรปของเว็บบอร์ด การประชุม
 ทางไกล หรือ โปรแกรมออนไลน์อื่นๆ ก็ได้
 3. ขอมูล
 3 ข้อมล (Thing) หมายถึง ทกสิ่งที่นําเก็บและให้ผ้ใช้เข้าถึงข้อมล
                    หมายถง ทุกสงทนาเกบและใหผู ชเขาถงขอมูล
 เหล่านั้นได้โดยง่าย การวิเคราะห์ แยกแยะหมวดหมู่ของข้อมูล
 เปนเรองสาคญ
 เป็นเรื่องสําคัญ
องค์ประกอบของการจัดการความรู้: Marquardt,1999
(Knowledge Management Components)
  1. การแสวงหาความรู้ (Knowledge Acquisition)
          การแสวงหาความรู้มีประโยชน์และมีผลต่อการดําเนินงานทั้ง
  ภายในและภายนอกองค์กร ดังนี้ี
       ใ                  ์ ั
          1.1 การแสวงหาและรวบรวมความรู้ภายในองค์กร (Internal
  Collection of Knowledge) เป็็นปััจจัยสํําคััญประการหนึึ่งใ
                                          ั                 ในการช่่วย
  เพิ่มคุณค่าให้แก่องค์กร และเพิมความสามารถในการเรียนรู้ของบุคคล
                                ่
  ส่่วนใหญ่่ในองค์กร รวมทั้งการได้้มาซึ่งความรู้ต่าง ๆ ภายในองค์์กร
       ใ          ์        ั ไ          ึ                 ใ
องค์ประกอบของการจัดการความรู้: Marquardt,1999
(Knowledge Management Components)
   วิธีการแสวงหาความรู้ให้ความรู้แก่บุคลากรในองค์์กร เช่น
                          ้                ใ
   1. การสอนงาน
   2. การฝึกอบรม
   3. การสัมมนา
   4. การประชุม
   5. การจดแสดงผลงาน
   5 การจัดแสดงผลงาน
   6. ระบบพี่เลี้ยง
   7.
   7 การเรีียนรู้จากประสบการณ์์ตรงและการลงมืือป ิบติิ
                    ป                           ปฏิ ั
องค์ประกอบของการจัดการความรู้
(K l d M               tC     t)
(Knowledge Management Components)
 1.2 การแสวงหาและรวบรวมความรู้ภายนอกองค์กร (External
 Collection of Knowledge) หมายถึง การเทียบเคียง (Benchmarking)
 กับองค์กรอื่น ๆ อยู่เสมอ เพื่อนําข้อมูลที่ได้มาปรับปรุงผลงานและสร้าง
 ความคิดใหม่ ๆ ดังนั้น การแข่งขันขององค์กร จึงจําเป็นต้องอาศัยการ
 ประยุกต์ใช้ความคิดและความคิดสร้างสรรค์ เพื่อมุ่งสู่การเติบโต และการ
 เป็นผู้นําการแข่งขันทางในทางการตลาด ซึ่งการจะเป็นผู้นําการแข่งขัน
 ทางการได้ตลาดได้น้ัน จําเป็นต้องอาศัยจากข้อมูลสารสนเทศ รวมทั้ง
 สภาพแวดล้อมภายนอกด้วยวิธีการต่าง ๆ
องค์ประกอบของการจัดการความรู้
(K l d M               tC     t)
(Knowledge Management Components)
         การใช้เทียบเคียงกับองค์กรอื่น การจ้างผู้ให้คําปรึกษา การอ่าน
ข้อมูลข่าวสารจากสื่อสิ่งพิมพ์ สื่ออิเล็กทรอนิกส์ เช่น หนังสือพิมพ์ อีเมล
     ู
บทความ โทรทัศน์ วีดิโอ ภาพยนตร์ การพยากรณ์ตามหลักเศรษฐศาสตร์
สังคม รวมทั้งเทคโนโลยีต่าง ๆ ในการรวบรวมข้อมูลจากลูกค้า คู่แข่งและ
จากแหล่งอื่น ๆ การจ้างพนักงาน การร่วมมือกับองค์กรอื่น ๆ เพื่อนําไปสู่
สร้างพันธมิตรและการหาผู้ร่วมทุนกับองค์กร
องค์ประกอบของการจัดการความรู้
(K l d M               tC     t)
(Knowledge Management Components)
 2. การสร้างความรู้ (Knowledge Creation)
        การสร้างความรู้เป็นสิ่งที่เกิดจากการสร้างสรรค์ (Creative)
                         ู
 การจะสร้างความรู้ขึ้นมาได้นั้นเป็นการสร้างความรู้ขึ้นมาใหม่ที่เกิดขึ้นจาก
 แรงผลักดัน การหยั่งรู้และความเข้าใจอย่างลึกซึงที่เกิดขึ้นกับบุคคลแต่ละ
                                               ้
 บุคคล การสร้างความรู้ใหม่ควรเกิดขึ้นจากองค์กรหรือคนในองค์กร คือ
 ทุก ๆ คนในองค์กรสามารถเป็นผู้สร้างความรู้ได้ โดยมีรูปแบบต่าง ๆ
 ในการสร้างความรู้
องค์ประกอบของการจัดการความรู้
(K l d M
(Knowledge Management Components) ( ่ )
                       tC     t ) (ตอ)
 รูปแบบต่าง ๆ ในการสร้างความรู้
 2.1 การเรียนรู้จากการปฏิบัติ (Action Learning)
                ู
 2.2 การแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ (Systematic Problem Solving)
 2.3 การทดลอง (Experimentation) เป็นการสร้างแรงจูงใจและ
 โอกาสในการเรียนรู้
 2.4 การเรียนรู้จากประสบการณ์ท่ผ่านมาในอดีต (Learning From
                                 ี
 Past Experience)
องค์ประกอบของการจัดการความรู้
(K l d M
(Knowledge Management Components) ( ่ )
                       tC     t ) (ตอ)
3. การจััดเก็บข้อมูลและการค้นคืนความรู้ (Knowledge Storage and
             ็ ้                ้ ื
Retrieval)
         องค์์กรจะต้้องกําหนดว่าสิ่งใ
                         ํ        ่ ิ ใดเหมาะสม สํําคััญ และควรจะเก็็บไ ้
                                                                      ไว้
เป็นความรู้ รวมทั้ง การคํานึงถึงวิธีการในการเก็บรักษา และการนําข้อมูล
และความรู้มาใช้้ให้้เกิิดประโยชน์์ตาม ความต้้องการขององค์์กร โ
               ใ              โ                                  โดยจะต้้อง
เก็บรักษาความรู้ไว้ให้ดีที่สุด ไม่ว่าจะเป็นข้อมูล เช่น การบันทึกฐานข้อมูล
(Database) หรืือการบัันทึึกเป็็นลายลักษณ์อักษรที่ชัดเจน
                                         ั ์          ี
องค์ประกอบของการจัดการความรู้
(K l d M
(Knowledge Management Components) ( ่ )
                       tC     t ) (ตอ)
 1. โครงสร้างและการจัดเก็บความรู้ ควรเป็นระบบที่สามารถค้นหาและ
 ส่งมอบได้อย่างถูกต้องและรวดเร็ว
                  ู
 2. จัดให้มีการจําแนกรายการต่าง ๆ เช่น ข้อเท็จจริง นโยบาย หรือขั้นตอน
 การปฏิบัตงานบนพื้นฐานความจําเป็นในการเรียนรู้
            ิ
 3. อาศัยการจัดการที่สามารถส่งมอบให้ผู้ใช้ได้อย่างชัดเจน กระชับ ถูกต้อง
 ทันเวลาและเหมาะสมตามที่ต้องการ
องค์ประกอบของการจัดการความรู้
(K l d M
(Knowledge Management Components) ( ่ )
                       tC     t ) (ตอ)
     การถายโอนความรู ละการใชประโยชน
  4. การถ่ายโอนความร้และการใช้ประโยชน์ (Knowledge Transfer
  and Utilization) มีวิธีการต่าง ๆ ดังนี้
  1. การสื่อสารด้วยการเขียน (บันทึก รายงาน จดหมาย ข่าวประกาศ)
     การสอสารดวยการเขยน (บนทก                         ขาวประกาศ)
  2. การฝึกอบรม
  3. การประชมภายใน
     การประชุมภายใน
  4. การสรุปข่าวสาร
  5. การสื่อสารภายในองค์กร
     การสอสารภายในองคกร
  6. การเยี่ยมชมงานต่าง ๆ ที่จัดเป็นกลุ่มตามความจําเป็น
  7. การหมนเวียน/ เปลี่ยนงาน
     การหมุนเวยน/ เปลยนงาน
  8. ระบบพี่เลี้ยง
องค์ประกอบของการจัดการความรู้
(K l d M
(Knowledge Management Components) ( ่ )
                       tC     t ) (ตอ)
         ในการการถ่ายโอนความรู้โดยไม่ตั้งใจ จะเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นโดย
 อาจจะไม่รู้ตัวหรือเป็นการเรียนรู้อย่างไม่เป็นทางการ ที่เกิดขึ้นในหน้าที่เป็น
                                  ู
 ประจําและอย่างไม่มีแบบแผนที่แน่นอน โดยวิธีการดังนี้
 1) การสับเปลี่ยนการทํางาน
 2) เรื่องราวต่าง ๆ ที่เล่าต่อกันมา
 3) ถ่ายโอนผ่านคณะทํางาน
 4) ถ่ายโอนผ่านเครือข่ายที่ไม่เป็นทางการ
องค์ประกอบของการจัดการความรู้: Probst, Raub and Romhardt (2000)
(Knowledge Management Components)

        สรุปได้ว่า การจัดการความรู้
        จะประสบผลสําเร็จจําเป็นต้องมีองค์ประกอบที่สําคัญ ได้แก่
        1. การกําหนดเป้าหมายความรู้
        2. การระบุถึงความรู้
        3. การจัดหาความรู้
        4. การพัฒนาความรู้
        5. การแบ่งปันและการกระจายความรู้
        6. การจัดเก็บความรู้
        7. การใช้ความรู้
        8. การประเมินความรู้ ซึ่งสามารถอธิบายได้ดังภาพต่อไปนี้
องค์ประกอบของการจัดการความรู้
(K l d M               tC     t)
(Knowledge Management Components)
องค์ประกอบของการจัดการความรู้: Turban และคณะ
(Knowledge Management Components)

 กระบวนการจัดการความรู้ออกเป็น 6 ประการ คือ การสร้างความรู้
 การจับและเก็บความรูู้ การเลือกหรือกรองความรูู้ การกระจายความรูู้
 การใช้ความรู้ และการติดตามและตรวจสอบกระบวนการ
องค์ประกอบของการจัดการความรู้: โกศล ดีศลธรรม
                                       ี
(Knowledge Management Components)
องค์ประกอบของการจัดการความรู้
(K l d M               tC     t)
(Knowledge Management Components)
สรุปองค์ประกอบของการจัดการความรู้
(K l d M                tC
(Knowledge Management Components) t)
          สรุป การนําการจัดการความรู้มาใช้ในการขับเคลื่อน
  เครือข่าย คือ การที่หน่วยงาน องค์กร เครือข่าย นําเอาองค์ประกอบ
  ของการจัดการความรู้มาประยุกต์ใช้และหล่อหลอมให้เกิดเป็น
  เครือข่ายความรู้ร่วมกัน โดยอาศัยการขับเคลื่อนเครือข่ายด้วยการ
  บริหารจัดการอย่างมีระบบ จากความร่วมมือของทุกคนในเครือข่าย
  สร้างบรรยากาศที่เอื้อต่อการแบ่งปันความรู้ เพื่อให้เกิดการแบ่งปัน
  ความรู้จากบุคคลทีมีความรู้และมีความตั้งใจที่จะแบ่งปันความรู้อย่าง
                     ่
  แท้จริง ด้วยเทคนิคการ เช่น การเสวนา การพูดคุยแบบไม่เป็น
  ทางการ หรือการจัดเวทีแลกเปลี่ยนความรู้รวมกัน
                                            ่
สรุปองค์ประกอบของการจัดการความรู้
(K l d M                tC
(Knowledge Management Components) t)
  ซึ่งความรู้ท่ีได้นั้นจะเป็นข้อมูลที่ผ่านการสกัดรวมกันเป็นข้อมูลที่มี
  ประสิทธิภาพ และหากเครือข่ายนําความรู้เหล่านั้นมาจัดเก็บในรูป
  ของเอกสาร เช่น หนังสือ คู่มือ เป็นต้น หรือ การนําเทคโนโลยี เช่น
  เว็บไซต์ บล็อก เป็นต้น มาใช้เป็นเครื่องมือจัดเก็บข้อมูลอย่างเป็น
  ระบบ เพื่อให้ง่ายต่อแสวงหา จัดเก็บ ค้นคืน การนําความรู้ไปใช้
  รวมถึงทบทวนความรู้ ก็จะทําให้ระบบการจัดการความรู้ของ
  เครือข่ายนั้น ๆ มีประสิทธิภาพ ซึ่งจะนําไปสู่เครือข่ายที่เข้มแข็งและ
  ยั่งยืนต่อไป
ประเภทของความรู้ (Type of Knowledge)

              ความรู้อาจแบ่งใ ๆ ไ ้ ๒ ประเภท คือ
                              ใหญ่ ได้                ื
              1. ความรู้ซ่อนเร้น/ความรู้ฝังลึก (Tacit
              Knowledge) เป็นความรู้ที่แฝงอยู่ในตัวคน
              เป็นประสบการณ์ที่สั่งสมมายาวนาน เป็น
              ภูมิปญญา
                    ั
              2. ความรู ด่นชัด
              2 ความร้เดนชด (Explicit Knowledge)
              เป็นความรู้ที่อยู่ในรูปแบบที่เป็นเอกสาร
              หรืือ วิิชาการ อยูในตารา คู่มือป บัติิงาน
                                 ่ ํ          ปฏิิ
ประเภทของความรู้ (Type of Knowledge)




             * ความรู้ ๒ ประเภทนี้จะสลับปรับเปลี่ยนไปตลอดเวลา
บางครั้ง Tacit ก็ออกมาเป็น Explicit และบางครั้ง Explicit ก็เปลี่ยนไปเป็น Tacit
ประเภทของความรู้ (Type of Knowledge)




       http://www.research.ibm.com/knowsoc/project_summary.html
Model ปลาทูู
Model ปลาทูู




   http://kmi.or.th/5_Link/Article_PVicharn/0001_IntrotoKM.html
Model ปลาทูู
         โมเดลปลาทู เปนโมเดลอยางงาย ทเปรยบการจดการความรู
       “โมเดลปลาท” เป็นโมเดลอย่างง่าย ที่เปรียบการจัดการความร้
เหมือนกับปลาทูหนึ่งตัวที่มี ๓ ส่วน คือ



1. ส่วน “หัวปลา” (Knowledge Vision- KV) หมายถึง ส่วนที่เป็นเป้าหมาย
วิสัยทัศน์ หรือทิศทางของการจัดการความรูู้ โดยก่อนที่จะทําจัดการความรูู้ ต้องตอบ
ให้ได้ว่า “เราจะทํา KM ไปเพื่ออะไร ?” โดย “หัวปลา” นี้จะต้องเป็นของ “คณกิจ”
หรือ ผู้ดําเนินกิจกรรม KM ทังหมด โดยมี “คุณเอื้อ” และ “คุณอํานวย” คอย
                            ้
ช่วยเหลืือ
Model ปลาทูู


2. ส่วน “ตัวปลา” (Knowledge Sharing-KS) เป็นส่วนของการแลกเปลี่ยนเรียนรู้
ซึ่งถือว่าเป็นส่วนสําคัญ ซึ่ง “คุณอํานวย” จะมีบทบาทมากในการช่วยกระตุ้นให้
                                 ุ                                     ุ
“คุณกิจ” มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ความรู้ โดยเฉพาะความรู้ซ่อนเร้นทีมอยูในตัว
                                                                 ่ ี ่
“คุณกิจ” พร้อมอํานวยให้เกิดบรรยากาศในการเรียนรู้แบบเป็นทีม ให้เกิดการ
หมุนเวียนความรู้ ยกระดับความรู้ และเกิดนวัตกรรม
Model ปลาทูู


3. ส่่วน “หางปลา” (Knowledge Assets-KA) เป็นส่วนของ “คลังความรู” หรืือ
              ป                                    ป็ ่           ั      ้
“ขุมความรู้” ทีได้จากการเก็บสะสม “เกร็ดความรู้” ทีได้จากกระบวนการแลกเปลี่ยน
               ่                                        ่
เรยนรู ตวปลา ซงเราอาจเกบสวนของ หางปลา นดวยวธตางๆ เชน
เรียนร้ “ตัวปลา” ซึ่งเราอาจเก็บส่วนของ “หางปลา” นี้ด้วยวิธีต่างๆ เช่น ICT
ซึ่งเป็นการสกัดความรู้ที่ซ่อนเร้นให้เป็นความรูที่เด่นชัด นําไปเผยแพร่และแลกเปลี่ยน
                                              ้
หมุนเวียนใช้ พร้อมยกระดับต่อไป
     ุ
บุคคลสําคัญใน KM: CEO
        1. ผู้บริหารสูงสุด (CEO) ผู้บริหารสูงสุดเป็น
        แชมเปี้ยน คือ เห็นคุณค่า และดําเนินการผลักดัน
        KM) เรื่องที่ว่ายากทั้งหลายก็ง่ายขึ้น ผู้บริหารสูงสุด
        ควรเป็นผู้ริเริ่มกิจกรรมจัดการความรู้ โดยกําหนดตัว
        บุคคลที่จะทําหน้าที่ “คุณเอื้อ (ระบบ)” ของ KM
        ซึ่งควรเป็นผู้บริหารระดับสูง เช่น รองอธิบดี,
        รองผู้อํานวยการ เป็นต้น
บุคคลสําคัญใน KM: CKO
       2. คุณเอื้อ (Chief Knowledge Officer-CKO)
             ุ                          g
       บทบาทคือ เอาหัวปลาไปขายผู้บริหารสูงสุด ให้ผู้บริหาร
       สูงสุุดกลายเป็นเจ้าของ “หัวปลา” บทบาทของคุณเอื้อ
         ู                                                   ุ
       คือ
       1. จัดให้มีการกําหนด “เป้าหมาย/ หัวปลา” วิสัยทัศน์
               พันธกิจ เป้าหมาย และยุทธศาสตร์ ขององค์กร
       2. จัดบรรยากาศแนวราบ และการบริหารงานแบบเอื้อ
               อํานาจ (empowerment), ร่วม share ทักษะใน
               การเรียนรูู้ และแลกเปลี่ยนเรียนรูู้ เพื่อประโยชน์ใน
               การดําเนินการจัดการความรู้โดยตรง
บุคคลสําคัญใน KM: CKO
        3. จััดสรรทรััพยากรสํําหรัับใช้้ในกิิจกรรมจััดการ
                                     ใ
            ความรู้
        4. เชืื่อมโยงการจััดการความรู้เข้ากับกิิจกรรม
                  โ                       ้ ั
            สร้างสรรค์อื่น ๆ ทั้งภายในและนอกองค์กร
        5. ติิดตามความเคลื่อนไหวของการดํําเนินการ
                             ื ไ                   ิ
            ให้คําแนะนําบางเรื่อง และแสดงท่าทีชื่นชม
            ความสํําเร็็จ อาจจััดใ ้มีการยกย่่องในผลสํําเร็็จ
                                 ให้             ใ
            และให้รางวัลที่อาจไม่เน้นสิ่งของ แต่เน้นการสร้าง
            ความภาคภูมิใจในความสําเร็็จ
                             ใ         ํ
บุคคลสําคัญใน KM: KP
      3. คุุณกิจ (Knowledge Practitioner‐ KP) คือ ผู้ดําเนิน
                               g                       )       ู
      กิจกรรมจัดการความรู้ ร้อยละ 90-95 อาจสรุปได้ว่าคุณกิจคือ ผู้จัดการ
      ความรู้ตัวจริง เป็นผู้มีความรู้ (Explicit Knowledge) และเป็นผู้ต้อง
      มาแลกเปลี่ยนเรีียนรู้ ใ ้ หา สร้้าง แปลง ความรู้เพืื่อการปฏิบัติให้บรรลุ
               ป ี           ใช้            ป                  ป ิ       ้
      ถึง “เป้าหมาย/หัวปลา” ที่ต้งไว้
                                    ั
      “คณกิจ” ต้องมีทักษะสําคัญดังนี้
         ุ
      1. ทักษะในการฟัง พร้อมที่จะรับฟังความรู้ใหม่ ๆ หรือเรียนรู้อยู่
      ตลอดเวลา
      2. ทัักษะในการพูด มีีทักษะในการบอกเล่าความคิด ความรู้สึก ความ
                ใ                 ใ
      เข้าใจหรือการตีความของตนเอง
      3. ทักษะในการคิดเชิงบวก เป็นทักษะพื้นฐานของทักษะอื่น ๆ ทงหมด
         ทกษะในการคดเชงบวก เปนทกษะพนฐานของทกษะอน ทั้งหมด
      ต้องฝึกตนเองให้มีนิสัยคิดเชิงบวก เชิงชืนชมยินดี มองโลกในแง่ดี
                                               ่
บุคคลสําคัญใน KM : KP
       4. ทักษะในการนําความรู้ หรือวิธีการใหม่ๆ ไปทดลอง คณกิจที่
                                                             ุ
       เก่ง จะต้องนําความรูใหม่ๆทีได้ ไปทดลองใช้ด้วยวิธีของตนเอง
                           ้      ่
       5. ทักษะในการในการสังเกต วัด นับ เพื่อบันทึกผลการทดลอง
       การจัดการความรูมีเป้าหมายเพื่อให้ ”คุณกิจ” หรือกลุม
                         ้                                 ่
       “คุณกิจ” สร้างความรูขึ้นใช้เองในกิจการของตน
                             ้
       6. ั ใ ป
       6 ทกษะในการประเมิินผลการทดลองด้้วยตนเอง หรือร่่วมกบ
                                                         ื     ั
       เพื่อน “คุณกิจ”ด้วยกัน
       7. ทกษะในการจดบนทก เปนการสรางความตอเนองของการ
       7 ทักษะในการจดบันทึก เป็นการสร้างความต่อเนื่องของการ
       จัดการความรูคุณกิจ แต่ละคนต้องมีทักษะในการจดบันทึก
                       ้
       กิจกรรม ข้อมูล และความรูู้สกของตนไว้ใช้งานด้วย
                     ู              ึ
บุคคลสําคัญใน KM: KF
               4. คุณอํานวย (Knowledge Facilitator , KF)
        ผู้อํานวยความสะดวกในการจัดการความรู้ หรือ
        Nonaka เรียกว่า Knowledge Activist ยังมีผู้นิยม
        เรียกอีกชื่อหนึ่งคือ Knowledge Broker
         หน้าที่หลัก คือ ส่งเสริมให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้
        และอํานวยความสะดวกต่อการแลกเปลียนเรียนรู้ ทั้ง
                                               ่
        ในเชิงกิจกรรม เชิงระบบ และเชิงวัฒนธรรม
บุคคลสําคัญใน KM : KF
         ทักษะที่จําเป็นของ “คณอํานวย” มีดังน้
            ษ       เปนขอ ณอ นวย ม นี
                              ุ
         1. จุดประกายความคิด การสร้างความกระตือรือร้น
         2. การจัดประชม  ุ
         3. การเป็นวิทยากรกระบวนการ ในการประชุม
         แลกเปลี่ยนเรียนร้หรือแบ่งปันความรู้
                           ู
         4. ทักษะในการจับประเด็น และบันทึกขุมความรู้
         จากการแลกเปลี่ยนเรียนรู้
         5. รู้จักและสามารถในการเข้าถึงแหล่งความรู้
         ภายนอก
         6. มีทักษะในการเขียน
บุคคลสําคัญใน KM : KF
        7.. ทักษะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ
               ษ นเ โนโลยส รสนเ
        8. ทักษะในการสร้างบรรยากาศ มุ่งมั่น ชื่นชม
                  ุ
        แบ่งปัน ม่งเป้าหมาย
        9. ทักษะในการเรียนรู้ และ แลกเปลี่ยนเรียนรู้
        หลากหลายรปแบบ ู
        10. ทักษะในการทํางานเป็นทีมร่วมกับ “คุณอํานวย”
        คนอื่นๆ และร่วมกับ “คณเอื้อ”
                               ุ
        11. ส่งเสริม สนับสนุน ให้ “คุณกิจ” ทั้งหลายได้ใช้
        ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์รวมกัน เพื่อบรรลุุ “หัวปลา”
                                 ่
        หรือเป้าหมายองค์กร
บุคคลสําคัญใน KM: NT
                  5. คุุณลิขิต (Note Taker: NT)คือ ผู้ทํา
                                                      ู
        หน้าที่จดบันทึก ในกิจกรรมการจัดการความรู้ อาจทํา
        หน้าที่เป็นการเฉพาะกิจ หรือทําหน้าที่เป็นระยะยาว
        กึ่งถาวรในกิจกรรมจัดการความรู้ของกลุ่ม หรือ
        หน่วยงาน หรือองค์กร สิ่งที่ “คุณลิขิต” จดบันทึก
                                        ุ
        ได้แก่
        1. เรื่องเล่าจากกิจกรรม (Storytelling)
                                       y     g
        2. “ขุมความรู้” (Knowledge Assets) เพื่อการบรรลุ
        เป้าหมายงานแต่ละชิ้น หรือแต่ละกิจกรรมจากเรื่องเล่า
        และกิจกรรมแลกเปลียนเรียนรู้รูปแบบต่าง ๆ
                                ่
บุคคลสําคัญใน KM : NT
        3. “แก่นความรู้” (Core Competence)
        เพื่อการบรรลุผลสัมฤทธิ์ของงานแต่ละชิ้น หรือ
        แต่ละกิจกรรม
        4. บันทึกการประชุมตามที่ตกลงกัน
                            ุ
        5. บันทึกอื่นๆ เพื่อให้การดําเนินการความรู้มี
        ความตอเนอง
        ความต่อเนื่อง
บุคคลสําคัญใน KM: คุณลิขิต
                                  ุ ิ
       ทักษะทีจําเป็นสําหรับ “คณลิขต”
              ่
       1. การจับใจความและการบันทึกเป็นเรื่องเล่า
       2. การสกัดประเด็นเป็นขุมความรู้ ต้องฝึกการจับความให้ได้เร็ว
       จดประเด็นย่อ ๆ ไว้ แล้วค่อยมาต่อเติมถ้อยคําให้สละสลวย
       ภายหลัง หรือใช้ Mind Map
       3.
       3 ต้้องศึกษาเรืื่องราวทีจะประชุมมาล่วงหน้้า
                ึ              ี่ ป        ่
       4. ทักษะด้านภาษามีภาษาที่สละสลวยเข้าใจง่าย
       5. ทกษะดานคอมพวเตอร และการใชซอฟตแวร
       5 ทักษะด้านคอมพิวเตอร์ และการใช้ซอฟต์แวร์
       6. ทักษะในการเข้าไปติดตามแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่าง
       “คุณกิจ” ทั้งที่เป็นการแลกเปลี่ยนแบบ F2F (Face to Face)
          ุ
       หรือ B2B (Blog to Blog)
บุคคลสําคัญใน KM: NM
                    6. คุณประสาน (Network
           Manager: NM) เป็นผู้ที่คอยประสาน
           เชื่อมโยงเครือข่ายการจัดการความรู้
           ระหว่างหน่วยงาน ให้เกิดการ
           แลกเปลี่ยนเรียนรู้ในวงที่กว้างขึ้น
           เกดพลงรวมมอทางเครอขายในการ
           เกิดพลังร่วมมือทางเครือข่ายในการ
           เรียนรู้และยกระดับความรู้แบบทวีคณ  ู
คุณมคุณสมบัตเหมือนใคร
คณมีคณสมบตเหมอนใคร
            ิ
      เพราะอะไร
เทคโนโลยีการสื่อสารที่ใช้ใน KM
   เทคโนโลยการสอสาร                                     ชวยให
1. เทคโนโลยีการสื่อสาร (Communication Technology) ช่วยให้
บุคลากรสามารถเข้าถึงความรู้ได้ง่ายขึ้นรวมถึงสามารถติดต่อสื่อสารกับ
บุคคลอนได
บคคลอื่นได้
2. เทคโนโลยีการทํางานร่วมกัน (Collaboration Technology) ช่วยให้
ประสานการทางานรวมกน ไดอยางมประสทธภาพลดอุปสรรค
ประสานการทํางานร่วมกัน ได้อย่างมีประสิทธิภาพลดอปสรรค
ในเรืองระยะทาง
3. เทคโนโลยีการจัดเก็บ (Storage technology) ช่วยในการจัดเก็บและ
   เทคโนโลยการจดเกบ                            ชวยในการจดเกบและ
จัดการความรู้ต่าง ๆ
เทคโนโลยีการสื่อสารที่ใช้ใน KM
ปัญหาของ KM
1. การถายทอดความรู ะหว่างบคคลกับองค์กร เชน ปัญหาการไม่แบ่งปัน
1 การถ่ายทอดความร้ระหวางบุคคลกบองคกร เช่น ปญหาการไมแบงปน
ความรู้ บริษัทหนึ่งมีการส่งพนักงานไปสัมมนา หรือฝึกอบรม หลังจากที่
กลับมาแล้ว ก็เก็บความรู้เอาไว้คนเดียว หรืออาจจะรายงานให้หัวหน้าทราบ
                         ู
เพียงเท่านั้นแต่พนักงานคนอื่นอีกหลายคนในองค์กรทีไม่ได้ไป
                                                  ่
จะไม่รับรู้เลยว่าคนทีไปฝึกอบรม หรือไปสัมมนามานั้น ได้อะไรกลับมา เพราะ
                     ่
มีไม่การเก็็บบันทึกรายงานหรือสิงที่นาสนใจทีได้จากการอบรม
                               ่ ่         ่
หรือสัมมนาในครั้งนั้น ๆ ไว้ในฐานข้อมูล อินทราเน็ต หรือเว็บไซต์ หากองค์กร
ไมมนโยบายทชดเจนในเรองเชนน ก็จะให้การลงทนไปกับ
ไม่มนโยบายที่ชดเจนในเรื่องเช่นนี้ กจะใหการลงทุนไปกบ
    ี            ั
การส่งพนักงานไปฝึกอบรม หรือเข้าร่วมสัมมนา อาจจะเป็นการ ลงทุนที่สญ   ู
เปล่า
ปัญหาของ KM
2.. การจัดเ บความร้ขององค์กรจัดเก็บไว้หล ล ยแ ลง
      รจ เก็ ว มรู อ อ รจ เ บไว ลากหลายแหล่
หลายรูปแบบ มีทั้งที่เป็นอิเล็กทรอนิกส์ และไม่เป็นอิเล็กทรอนิกส์
กระจัดกระจาย ในยามที่ต้องการข้อมลเพื่อการตัดสินใจแบบด่วน
                                    ู
จะทําไม่ได้ เพราะต้องใช้เวลารวบรวมข้อมูลนาน ทําให้เสียผลประโยชน์
ต่อองค์กร
ปัญหาของ KM
3. การไม่นําความรู้ขององค์กรมาสร้างความสามารถในการแข่งขัน
หรือก่อให้เกิดประโยชน์อย่างแท้จริง ในองค์กรมีความรู้มากมาย ที่ได้
จากการวิจัยหรือประสบการณ์จากการทํางาน แต่วิจัยแล้วก็จบไป
ไม่นําไปประยุกต์เพื่อทําให้เกิดผลทางธุรกิจต่อไป หรืองบโครงการ
หมดก็จบโครงการไปไม่มีการสานต่อหรือองค์กรมีผู้รู้ ผู้เชี่ยวชาญที่
สามารถออกไปสอนองค์กรอื่นให้ประสบความสําเร็จ มีความรู้ แต่ใน
ขณะเดียวกัน ท่านเหล่านั้นกลับยุ่ง และไม่มีเวลาเหลือพอที่จะพัฒนา
คนในองค์กรเดียวกันเลย ก็กลายเป็นความสูญเปล่าที่ไม่น่าจะเกิดขึ้น
ปัญหาของ KM
4. การสร้างความรู้ใหม่ สิ่งนี้จะไม่เกิดขึ้นถ้าไม่มีการสะสมความรู้ที่มี
อยู่เดิมอย่างเป็นระบบ เมื่อไม่เกิดความรูู้ใหม่ อีกทั้งความรูู้เดิมไม่ได้
    ู
เก็บไว้ด้วยแล้ว องค์กรก็จะไม่เหลืออะไร และจะตายลงในที่สุด
5. การไม่นําความรู้ภายนอกมาปรับใช้ อาจจะทําให้ตามสถานการณ์
โลก และคู่แข่งไม่ทัน
6. ความรู้ในองค์กร ความรู้ภายนอกองค์กร ไม่เชื่อมโยงกับงาน และ
ขาดบริบทในการปฏิบัติงาน
ทําอย่่างไรจะทํําใ ้คนแบ่งปัันความรู้?
  ํ      ไ       ให้     ่
Example
E   pl
ตัวอย่างงานวิจย เรื่อง การพัฒนารูปแบบการแบ่งปันความรูดวยวิธีผสมผสานโดยใช้
                ั                                            ้ ้
กระบวนการมีสวนร่วมอย่างสร้างสรรค์เอไอซีเพื่อส่งเสริมการสร้างวิสัยทัศน์ร่วมกันของ
                  ่
นัักเรียนแกนนํา อย.น้้อย (อ.ดร.พััชราวดีี ศรีีบุญเรืือง, 2553)
       ี      ํ
เว็บไซต์ และเครื่องมือทีใช้ในงานวิจัย
                        ่
ตัวอย่างเว็บไซต์ KM: ศิริราช
ตัวอย่างเว็บไซต์ KM: ศิริราช (ต่อ)




   http://www.youtube.com/watch?v=G995jlhuKVo
ตัวอย่าง MIND MAP
ตัวอย่าง MIND MAP
ตัวอย่าง MIND MAP
ตัวอย่างเว็บไซต์ KM: กรมส่งเสริมการเกษตร




           http://km.doae.go.th/index.asp
ตัวอย่างเว็บไซต์ KM: กรมส่งเสริมการเกษตร
ตัวอย่างแผนการจัดการความรู้
แผนการจัดการความรู้ ของ สํานักหอสมุด มหาวิทยาลัยกรุงเทพ ปีการศึกษา 2554
1. หลักการและเหตุผล
              สํานักหอสมุด มหาวิทยาลัยกรุงเทพ ตระหนักถึงความสําคัญของการจัดการความรู้ ซึ่ง
เปนเ รอ มอใน ร ฒนาองค์ รให้เป็นองค์ รแ รเรยนรู นน ส น อสมุ จ ไ
เป็นเครื่องมือในการพัฒน อ กรใ เปนอ กรแห่งการเรียนร้ ดังนั้น สํานักหอสมดจึงได้มีการ     ร
ส่งเสริมการพัฒนาบุคลากรอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้บุคลากรมีความรู้ที่ทันสมัย ก้าวทันกับการ
เปลี่ยนแปลงของโลกปัจจุบน โดยสนับสนุนให้บุคลากรมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ภายในองค์กร และ
                            ั
เขารวมการประชุม
เข้าร่วมการประชม อบรม สัมมนา ในหน่วยงานของภาครัฐและเอกชน เพอนาหลกการและแนวทาง
                            สมมนา ในหนวยงานของภาครฐและเอกชน เพื่อนําหลักการและแนวทาง
ปฏิบัติที่ดี (Best Practice) มาพัฒนาบุคลากรให้มีความรู้เพิ่มมากขึ้น และนําความรู้มาประยุกต์ใช้
ในการพัฒนาองค์กร ปีการศึกษา 2554 สํานักหอสมุดกําหนดแผนพัฒนาการจัดการความรู้ของ
บุคลากรให้สอดคล้องกับแผนการจัดการความรู้ของมหาวิทยาลัย โดยนําความรู้ท่มีอยู่ในตัวบุคคล
                                                                              ี
(Tacit Knowledge) และความรู้จากการเรียนรู้ (Explicit Knowledge) รวบรวมจัดเก็บให้เป็น
ระบบ สามารถสืบค้นนํามาใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และเผยแพร่สู่บุคลากรอย่างทั่วถึง
ตัวอย่างแผนการจัดการความรู้ (ต่อ)
2. ขอบเขตการจัดการความรู้
ขอบเขตการจััดการความรู้ (KM Focus Area) ทีี่สนัับสนุนประเด็็นยุทธศาสตร์์
ทังหมด ประกอบด้วย
    ้
1. การรวบรวมองคความรู างดานบรรณารกษศาสตรและสารสนเทศศาสตร
1 การรวบรวมองค์ความร้ทางด้านบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์ และ
ศาสตร์อื่นๆ ให้เป็นหมวดหมู่ สามารถสืบค้นข้อมูลได้จากเว็บไซต์การจัดการ
ความรูของสํานักหอสมุุด
        ู้
2. การจัดการประชุม อบรม สัมมนา และศึกษาดูงาน เพื่อเพิ่มพูนความรูให้
                                                                  ้
บุคลากรและนําไปใช้ในการปฏิบติงานให้เกิดทักษะและประสิทธิภาพในการทํางาน
                              ั
ยิงขึ้น
  ่
3. การจัดให้มการนําความรูในการปฏิบติงานจากบุคลากรทีมีประสบการณ์และ
             ี           ้          ั                  ่
ความรู นองค์กร มาแลกเปลี่ยนเรียนร้ เพอใหบุคลากรนาความรู ความเชยวชาญ
ความร้ในองคกร มาแลกเปลยนเรยนรู เพื่อให้บคลากรนําความร้ ความเชี่ยวชาญ
และทักษะเฉพาะด้าน มาพัฒนาการทํางานให้มีประสิทธิภาพ
ตัวอย่างแผนการจัดการความรู้ (ต่อ)
3. เป้าหมาย
1. เพื่อให้บุคลากรสํานักหอสมุดมีวัฒนธรรมในการเรียนรู้ร่วมกัน
2. เพื่อให้สานักหอสมุดมีคลังความรูทหลากหลายและเป็นแหล่งเรียนรู้รวมกัน
            ํ                      ้ ี่                         ่
3. เพื่อสร้างเครือข่ายชุมชนแห่งการเรียนรู้ทงภายในและภายนอกหน่วยงาน
                                           ้ั
4. เพื่อให้สานักหอสมุดเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้อย่างสร้างสรรค์
              ํ
4.
4 การดํําเนิินการ
รายละเอียดปรากฏตามแผนการจัดการความรู้ (แผนปฏิบัติการ KM)
5. ระยะเวลาในการดาเนนการ
5 ระยะเวลาในการดําเนินการ
ปีการศึกษา 2554 (มิถุนายน 2554 – พฤษภาคม 2555)
ตัวอย่างแผนการจัดการความรู้ (ต่อ)
6. ผูู้รับผิดชอบ
คณะกรรมการการจัดการความรู้ สํานักหอสมุด มหาวิทยาลัยกรุงเทพ ปีการศึกษา
2554
7. งบประมาณ/ทรััพยากรทีจาเป็น
                            ่ี ํ ็
งบประมาณประจําปี ของสํานักหอสมุด มหาวิทยาลัยกรุงเทพ ปีการศึกษา 2554
8. การประเมนผล
8 การประเมินผล
ประเมินผลจากแบบประเมิน แบบสอบถาม และผลการดําเนินงาน
9. ดัชนีชี้วัดความสําเร็จ
มีระบบการจัดการความรูที่บุคลากรทุกคนสามารถเข้ามารับความรูในด้านต่างๆ
                          ้                              ้
ได้อย่างครบถ้วน
ตัวอย่างแผนการจัดการความรู้ (ต่อ)
ตัวอย่างแผนการจัดการความรู้ (ต่อ)
ตัวอย่างแผนการจัดการความรู้ (ต่อ)
ตัวอย่างแผนการจัดการความรู้ (ต่อ)
สรุุป KM: ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช




http://kmi.or.th/5_Link/Article_PVicharn/0001_IntrotoKM.html
References
              สถาบันส่งเสริมการจัดการความรู้เพื่อสังคม
http://kmi.or.th/5_Link/Article_PVicharn/0001_IntrotoKM.html

  บทบาทการดาเนนงาน และทกษะ คุณเออ คุณอานวย คุณกจ คุณลขต
  บทบาทการดําเนินงาน และทักษะ คณเอื้อ คณอํานวย คณกิจ คณลิขิต
                  http://kmlibrary.bu.ac.th.

  แผนการดําเนินงานการจัดการความรู้ ปีการศึกษา 2554 สํานักหอสมุด
                        มหาวิทยาลัยกรุงเทพ
http://kmlibrary.bu.ac.th/index.php?option=com_content&view
        =article&id=114:-2554&catid=15:km&Itemid=26
Thank You
Th k Y
QUIZ
                Q
ท่านจะประยุกต์ใช้การจัดการความรูู้ (KM)
           ุ
    ในการส่งเสริมการเกษตรอย่างไร?
              (5 คะแนน)

More Related Content

What's hot

แนวคิดทฤษฏีเกี่ยวกับการจัดการความรู้
แนวคิดทฤษฏีเกี่ยวกับการจัดการความรู้ แนวคิดทฤษฏีเกี่ยวกับการจัดการความรู้
แนวคิดทฤษฏีเกี่ยวกับการจัดการความรู้ Somsiri Rattanarat
 
การสืบพันธุ์ของพืช
การสืบพันธุ์ของพืชการสืบพันธุ์ของพืช
การสืบพันธุ์ของพืชchiralak
 
ใบกิจกรรมที่ 8การรักษาดุลยภาพของอุณหภูมิภายในร่างกาย
ใบกิจกรรมที่ 8การรักษาดุลยภาพของอุณหภูมิภายในร่างกายใบกิจกรรมที่ 8การรักษาดุลยภาพของอุณหภูมิภายในร่างกาย
ใบกิจกรรมที่ 8การรักษาดุลยภาพของอุณหภูมิภายในร่างกายAomiko Wipaporn
 
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือหลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือwatdang
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมpanupong
 
ทฤษฏีการบริหาร
ทฤษฏีการบริหารทฤษฏีการบริหาร
ทฤษฏีการบริหารguest6b6fea3
 
Chapter 3 พฤติกรรมศาสตร์กับการพัฒนาองค์การ
Chapter 3 พฤติกรรมศาสตร์กับการพัฒนาองค์การChapter 3 พฤติกรรมศาสตร์กับการพัฒนาองค์การ
Chapter 3 พฤติกรรมศาสตร์กับการพัฒนาองค์การwanna2728
 
Chapter 5 กระบวนการพัฒนาองค์การ
Chapter 5 กระบวนการพัฒนาองค์การChapter 5 กระบวนการพัฒนาองค์การ
Chapter 5 กระบวนการพัฒนาองค์การwanna2728
 
บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่
บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่
บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่Aj.Mallika Phongphaew
 
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช การคายน้ำ (5)
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช   การคายน้ำ (5)บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช   การคายน้ำ (5)
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช การคายน้ำ (5)Pinutchaya Nakchumroon
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 12 โจทย์ปัญหาการหารเศษส่วน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 12 โจทย์ปัญหาการหารเศษส่วนชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 12 โจทย์ปัญหาการหารเศษส่วน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 12 โจทย์ปัญหาการหารเศษส่วนKanlayaratKotaboot
 
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสAomiko Wipaporn
 
การหาร ใบงาน
การหาร ใบงานการหาร ใบงาน
การหาร ใบงานNattapong Peenasa
 
ทฤษฎีระบบราชการ
ทฤษฎีระบบราชการทฤษฎีระบบราชการ
ทฤษฎีระบบราชการwiraja
 
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียนโครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียนพัน พัน
 
โครงงาน เรื่อง มะพร้าว
โครงงาน เรื่อง มะพร้าวโครงงาน เรื่อง มะพร้าว
โครงงาน เรื่อง มะพร้าวsakuntra
 
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1prayut2516
 
ใบงาน 17.1 17.3
ใบงาน 17.1 17.3ใบงาน 17.1 17.3
ใบงาน 17.1 17.3oraneehussem
 

What's hot (20)

แนวคิดทฤษฏีเกี่ยวกับการจัดการความรู้
แนวคิดทฤษฏีเกี่ยวกับการจัดการความรู้ แนวคิดทฤษฏีเกี่ยวกับการจัดการความรู้
แนวคิดทฤษฏีเกี่ยวกับการจัดการความรู้
 
ไตรสิกขา
ไตรสิกขาไตรสิกขา
ไตรสิกขา
 
เอกสารแสดงวิสัยทัศน์และผลงาน
เอกสารแสดงวิสัยทัศน์และผลงานเอกสารแสดงวิสัยทัศน์และผลงาน
เอกสารแสดงวิสัยทัศน์และผลงาน
 
การสืบพันธุ์ของพืช
การสืบพันธุ์ของพืชการสืบพันธุ์ของพืช
การสืบพันธุ์ของพืช
 
ใบกิจกรรมที่ 8การรักษาดุลยภาพของอุณหภูมิภายในร่างกาย
ใบกิจกรรมที่ 8การรักษาดุลยภาพของอุณหภูมิภายในร่างกายใบกิจกรรมที่ 8การรักษาดุลยภาพของอุณหภูมิภายในร่างกาย
ใบกิจกรรมที่ 8การรักษาดุลยภาพของอุณหภูมิภายในร่างกาย
 
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือหลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโม
 
ทฤษฏีการบริหาร
ทฤษฏีการบริหารทฤษฏีการบริหาร
ทฤษฏีการบริหาร
 
Chapter 3 พฤติกรรมศาสตร์กับการพัฒนาองค์การ
Chapter 3 พฤติกรรมศาสตร์กับการพัฒนาองค์การChapter 3 พฤติกรรมศาสตร์กับการพัฒนาองค์การ
Chapter 3 พฤติกรรมศาสตร์กับการพัฒนาองค์การ
 
Chapter 5 กระบวนการพัฒนาองค์การ
Chapter 5 กระบวนการพัฒนาองค์การChapter 5 กระบวนการพัฒนาองค์การ
Chapter 5 กระบวนการพัฒนาองค์การ
 
บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่
บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่
บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่
 
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช การคายน้ำ (5)
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช   การคายน้ำ (5)บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช   การคายน้ำ (5)
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช การคายน้ำ (5)
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 12 โจทย์ปัญหาการหารเศษส่วน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 12 โจทย์ปัญหาการหารเศษส่วนชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 12 โจทย์ปัญหาการหารเศษส่วน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 12 โจทย์ปัญหาการหารเศษส่วน
 
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
 
การหาร ใบงาน
การหาร ใบงานการหาร ใบงาน
การหาร ใบงาน
 
ทฤษฎีระบบราชการ
ทฤษฎีระบบราชการทฤษฎีระบบราชการ
ทฤษฎีระบบราชการ
 
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียนโครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
 
โครงงาน เรื่อง มะพร้าว
โครงงาน เรื่อง มะพร้าวโครงงาน เรื่อง มะพร้าว
โครงงาน เรื่อง มะพร้าว
 
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
 
ใบงาน 17.1 17.3
ใบงาน 17.1 17.3ใบงาน 17.1 17.3
ใบงาน 17.1 17.3
 

Viewers also liked

2016 baldrige award recipients รางวัล baldrige 2016
2016 baldrige award recipients รางวัล  baldrige 20162016 baldrige award recipients รางวัล  baldrige 2016
2016 baldrige award recipients รางวัล baldrige 2016maruay songtanin
 
Km 2.0 การจัดการความรู้ 2.0
Km 2.0 การจัดการความรู้ 2.0Km 2.0 การจัดการความรู้ 2.0
Km 2.0 การจัดการความรู้ 2.0maruay songtanin
 
How to write application report (part 2 of 4)
How to write application report (part 2 of 4)How to write application report (part 2 of 4)
How to write application report (part 2 of 4)maruay songtanin
 
Cumulative advantage ความได้เปรียบจากการสะสม
Cumulative advantage ความได้เปรียบจากการสะสมCumulative advantage ความได้เปรียบจากการสะสม
Cumulative advantage ความได้เปรียบจากการสะสมmaruay songtanin
 
Frontier economies เศรษฐกิจชายแดน
Frontier economies เศรษฐกิจชายแดนFrontier economies เศรษฐกิจชายแดน
Frontier economies เศรษฐกิจชายแดนmaruay songtanin
 
Do you hate your boss เมื่อคุณเบื่อเจ้านาย
Do you hate your boss เมื่อคุณเบื่อเจ้านายDo you hate your boss เมื่อคุณเบื่อเจ้านาย
Do you hate your boss เมื่อคุณเบื่อเจ้านายmaruay songtanin
 
Value chain analysis การวิเคราะห์ห่วงโซ่คุณค่า
Value chain analysis การวิเคราะห์ห่วงโซ่คุณค่าValue chain analysis การวิเคราะห์ห่วงโซ่คุณค่า
Value chain analysis การวิเคราะห์ห่วงโซ่คุณค่าmaruay songtanin
 
The truth about blockchain ห่วงโซ่การบันทึกทางธุรกรรม
The truth about blockchain ห่วงโซ่การบันทึกทางธุรกรรมThe truth about blockchain ห่วงโซ่การบันทึกทางธุรกรรม
The truth about blockchain ห่วงโซ่การบันทึกทางธุรกรรมmaruay songtanin
 
Effective interviewing steps ขั้นตอนการสัมภาษณ์
Effective interviewing steps ขั้นตอนการสัมภาษณ์Effective interviewing steps ขั้นตอนการสัมภาษณ์
Effective interviewing steps ขั้นตอนการสัมภาษณ์maruay songtanin
 
Item integration & expected results การบูรณาการหัวข้อและผลลัพธ์
Item integration & expected results การบูรณาการหัวข้อและผลลัพธ์Item integration & expected results การบูรณาการหัวข้อและผลลัพธ์
Item integration & expected results การบูรณาการหัวข้อและผลลัพธ์maruay songtanin
 
Key factors linkage การเชื่อมโยงปัจจัยสำคัญ
Key factors linkage การเชื่อมโยงปัจจัยสำคัญKey factors linkage การเชื่อมโยงปัจจัยสำคัญ
Key factors linkage การเชื่อมโยงปัจจัยสำคัญmaruay songtanin
 
Changes to the 2017–2018 baldrige excellence framework การเปลี่ยนแปลงเกณฑ์ Ba...
Changes to the 2017–2018 baldrige excellence framework การเปลี่ยนแปลงเกณฑ์ Ba...Changes to the 2017–2018 baldrige excellence framework การเปลี่ยนแปลงเกณฑ์ Ba...
Changes to the 2017–2018 baldrige excellence framework การเปลี่ยนแปลงเกณฑ์ Ba...maruay songtanin
 

Viewers also liked (18)

Red5 streaming template
Red5 streaming templateRed5 streaming template
Red5 streaming template
 
Km(Pongsak)1
Km(Pongsak)1Km(Pongsak)1
Km(Pongsak)1
 
1 intro
1 intro1 intro
1 intro
 
Intro to TS-16949
Intro to TS-16949Intro to TS-16949
Intro to TS-16949
 
2016 baldrige award recipients รางวัล baldrige 2016
2016 baldrige award recipients รางวัล  baldrige 20162016 baldrige award recipients รางวัล  baldrige 2016
2016 baldrige award recipients รางวัล baldrige 2016
 
Km 2.0 การจัดการความรู้ 2.0
Km 2.0 การจัดการความรู้ 2.0Km 2.0 การจัดการความรู้ 2.0
Km 2.0 การจัดการความรู้ 2.0
 
How to write application report (part 2 of 4)
How to write application report (part 2 of 4)How to write application report (part 2 of 4)
How to write application report (part 2 of 4)
 
2 tpm edit
2 tpm edit2 tpm edit
2 tpm edit
 
Cumulative advantage ความได้เปรียบจากการสะสม
Cumulative advantage ความได้เปรียบจากการสะสมCumulative advantage ความได้เปรียบจากการสะสม
Cumulative advantage ความได้เปรียบจากการสะสม
 
Frontier economies เศรษฐกิจชายแดน
Frontier economies เศรษฐกิจชายแดนFrontier economies เศรษฐกิจชายแดน
Frontier economies เศรษฐกิจชายแดน
 
Do you hate your boss เมื่อคุณเบื่อเจ้านาย
Do you hate your boss เมื่อคุณเบื่อเจ้านายDo you hate your boss เมื่อคุณเบื่อเจ้านาย
Do you hate your boss เมื่อคุณเบื่อเจ้านาย
 
Iqa iso9001 dark style
Iqa iso9001 dark styleIqa iso9001 dark style
Iqa iso9001 dark style
 
Value chain analysis การวิเคราะห์ห่วงโซ่คุณค่า
Value chain analysis การวิเคราะห์ห่วงโซ่คุณค่าValue chain analysis การวิเคราะห์ห่วงโซ่คุณค่า
Value chain analysis การวิเคราะห์ห่วงโซ่คุณค่า
 
The truth about blockchain ห่วงโซ่การบันทึกทางธุรกรรม
The truth about blockchain ห่วงโซ่การบันทึกทางธุรกรรมThe truth about blockchain ห่วงโซ่การบันทึกทางธุรกรรม
The truth about blockchain ห่วงโซ่การบันทึกทางธุรกรรม
 
Effective interviewing steps ขั้นตอนการสัมภาษณ์
Effective interviewing steps ขั้นตอนการสัมภาษณ์Effective interviewing steps ขั้นตอนการสัมภาษณ์
Effective interviewing steps ขั้นตอนการสัมภาษณ์
 
Item integration & expected results การบูรณาการหัวข้อและผลลัพธ์
Item integration & expected results การบูรณาการหัวข้อและผลลัพธ์Item integration & expected results การบูรณาการหัวข้อและผลลัพธ์
Item integration & expected results การบูรณาการหัวข้อและผลลัพธ์
 
Key factors linkage การเชื่อมโยงปัจจัยสำคัญ
Key factors linkage การเชื่อมโยงปัจจัยสำคัญKey factors linkage การเชื่อมโยงปัจจัยสำคัญ
Key factors linkage การเชื่อมโยงปัจจัยสำคัญ
 
Changes to the 2017–2018 baldrige excellence framework การเปลี่ยนแปลงเกณฑ์ Ba...
Changes to the 2017–2018 baldrige excellence framework การเปลี่ยนแปลงเกณฑ์ Ba...Changes to the 2017–2018 baldrige excellence framework การเปลี่ยนแปลงเกณฑ์ Ba...
Changes to the 2017–2018 baldrige excellence framework การเปลี่ยนแปลงเกณฑ์ Ba...
 

Similar to Km3

คู่มือการจัดทำแผนการจัดการความรู้
คู่มือการจัดทำแผนการจัดการความรู้  คู่มือการจัดทำแผนการจัดการความรู้
คู่มือการจัดทำแผนการจัดการความรู้ Walaiporn Mahamai
 
Maruay 17th ha forum ข้อสังเกต การจัดการความรู้
Maruay 17th ha forum ข้อสังเกต การจัดการความรู้ Maruay 17th ha forum ข้อสังเกต การจัดการความรู้
Maruay 17th ha forum ข้อสังเกต การจัดการความรู้ maruay songtanin
 
การจัดการการเรียนรู้
การจัดการการเรียนรู้การจัดการการเรียนรู้
การจัดการการเรียนรู้uncasanova
 
ยุทธศาสตร์นักจัดการความรู้
ยุทธศาสตร์นักจัดการความรู้ยุทธศาสตร์นักจัดการความรู้
ยุทธศาสตร์นักจัดการความรู้Utai Sukviwatsirikul
 
Km systems and processes กระบวนการและระบบการจัดการความรู้
Km systems and processes กระบวนการและระบบการจัดการความรู้Km systems and processes กระบวนการและระบบการจัดการความรู้
Km systems and processes กระบวนการและระบบการจัดการความรู้maruay songtanin
 
Km 4.0 beyond knowledge
Km 4.0  beyond knowledgeKm 4.0  beyond knowledge
Km 4.0 beyond knowledgePattie Pattie
 
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้Nona Khet
 
Ha forum gotoknow 2018 สานต่อ คุณธรรม คุณค่า และคุณภาพ สังคม Online
Ha forum gotoknow 2018 สานต่อ คุณธรรม คุณค่า และคุณภาพ สังคม Online Ha forum gotoknow 2018 สานต่อ คุณธรรม คุณค่า และคุณภาพ สังคม Online
Ha forum gotoknow 2018 สานต่อ คุณธรรม คุณค่า และคุณภาพ สังคม Online maruay songtanin
 
บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้
บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้
บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้Weerachat Martluplao
 
บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้
บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้
บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้Weerachat Martluplao
 
องค์กรแห่งการเรียนรู้
องค์กรแห่งการเรียนรู้องค์กรแห่งการเรียนรู้
องค์กรแห่งการเรียนรู้looktao
 
การจัดการ
การจัดการการจัดการ
การจัดการguest6a1ba26
 

Similar to Km3 (20)

คู่มือการจัดทำแผนการจัดการความรู้
คู่มือการจัดทำแผนการจัดการความรู้  คู่มือการจัดทำแผนการจัดการความรู้
คู่มือการจัดทำแผนการจัดการความรู้
 
Km cream
Km creamKm cream
Km cream
 
Maruay 17th ha forum ข้อสังเกต การจัดการความรู้
Maruay 17th ha forum ข้อสังเกต การจัดการความรู้ Maruay 17th ha forum ข้อสังเกต การจัดการความรู้
Maruay 17th ha forum ข้อสังเกต การจัดการความรู้
 
Introduction to Knowledge Management
Introduction to Knowledge ManagementIntroduction to Knowledge Management
Introduction to Knowledge Management
 
การจัดการการเรียนรู้
การจัดการการเรียนรู้การจัดการการเรียนรู้
การจัดการการเรียนรู้
 
Km beyond40
Km beyond40Km beyond40
Km beyond40
 
Chap2
Chap2Chap2
Chap2
 
Chap2
Chap2Chap2
Chap2
 
ยุทธศาสตร์นักจัดการความรู้
ยุทธศาสตร์นักจัดการความรู้ยุทธศาสตร์นักจัดการความรู้
ยุทธศาสตร์นักจัดการความรู้
 
Km systems and processes กระบวนการและระบบการจัดการความรู้
Km systems and processes กระบวนการและระบบการจัดการความรู้Km systems and processes กระบวนการและระบบการจัดการความรู้
Km systems and processes กระบวนการและระบบการจัดการความรู้
 
Km 4.0 beyond knowledge
Km 4.0  beyond knowledgeKm 4.0  beyond knowledge
Km 4.0 beyond knowledge
 
K M Model
K M  ModelK M  Model
K M Model
 
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
 
KM Handbook
KM HandbookKM Handbook
KM Handbook
 
R2R
R2RR2R
R2R
 
Ha forum gotoknow 2018 สานต่อ คุณธรรม คุณค่า และคุณภาพ สังคม Online
Ha forum gotoknow 2018 สานต่อ คุณธรรม คุณค่า และคุณภาพ สังคม Online Ha forum gotoknow 2018 สานต่อ คุณธรรม คุณค่า และคุณภาพ สังคม Online
Ha forum gotoknow 2018 สานต่อ คุณธรรม คุณค่า และคุณภาพ สังคม Online
 
บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้
บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้
บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้
 
บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้
บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้
บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้
 
องค์กรแห่งการเรียนรู้
องค์กรแห่งการเรียนรู้องค์กรแห่งการเรียนรู้
องค์กรแห่งการเรียนรู้
 
การจัดการ
การจัดการการจัดการ
การจัดการ
 

Km3

  • 1. การจัดการความรูู้ (Knowledge Management: KM) g g บรรยายโดย อ.ดร.พัชราวดี ศรีบุญเรือง
  • 2. หัวข้อบรรยาย (Knowledge Management: KM) 1. ความหมาย 2. องค์ประกอบ 3. Model ปลาทู 4. บุคคลสําคัญ ุ 5. ประเภทของความรู้ 6. เทคโนโลยทนามาใช เทคโนโลยีที่นํามาใช้ 7. ปัญหา 8. 8 ตวอยาง ตัวอย่าง
  • 3. ความหมายของการจัดการความรู้ (Knowledge Management: KM) Marquardt และ Raynolds (1994) การบรหารจดการขอมูล ขาวสาร และความร้ จาเปนสาหรบ การบริหารจัดการข้อมล ข่าวสาร และความรูที่จําเป็นสําหรับ องค์กร โดยความรู้ที่ได้มาจากการแสวงหาความรู้ จากนั้น จึงนํามาสร้างเป็นความรู้ขององค์กร จัดเก็็บและรักษาความรู้ ็ เหล่านั้นไว้ เพื่อให้ทุกคนสามารถเข้าถึงความรู้ได้ รวมทั้ง ู สามารถนําความรู้เหล่านั้นไปใช้ประโยชน์เพื่อให้บรรลุ วตถุประสงคทตงไว วัตถประสงค์ที่ตั้งไว้
  • 4. ความหมายของการจัดการความรู้ (Knowledge Management: KM) (ต่อ) Kermally (2002) เป็็นการสร้้างสิ่งแวดล้้อมให้เกิดขึ้นภายในองค์กร ซึึ่งจะ ใ ้ ึ ใ ์ นําไปสู่การสร้างสรรค์ ถ่ายทอด และการแบ่งปันความรูู้ ู โดยเฉพาะอย่างยิ่งการนําไปสู่การสร้างวัฒนธรรมองค์กร ทเหมาะสมและสรางความเปนผู าของบคลากรในองค์กร ที่เหมาะสมและสร้างความเป็นผ้นําของบุคลากรในองคกร ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
  • 5. ความหมายของการจัดการความรู้ (Knowledge Management: KM) (ต่อ) Trapp (1999) เป็นกระบวนการทีี่ประกอบด้้วยงานทีี่หลากหลายและมีี ป็ จํานวนมาก โดยมีการบริหารจัดการความรู้ในลักษณะของ ู การบูรณาการความรู้ เพื่อทําให้เกิดคุณประโยชน์ตามที่ได้ คาดหวงไว เรยกไดวา การจดการความรู ปนแนวคด คาดหวังไว้ เรียกได้ว่า การจัดการความร้เป็นแนวคิด รวบยอดสําหรับการบริหารจัดการทรัพยากรองค์ความรู้ ในองค์กร
  • 6. ความหมายของการจัดการความรู้ (Knowledge Management: KM) (ต่อ) วิจารณ์ พานิช (2547: 3-4) 1. 1 การจดการความรู้ หมายถึึง การรวบรวม การจดระบบ ั ั การจัดเก็บ และการเข้าถึงข้อมูล เพื่อสร้างเป็นความรู้ เทคโนโลยี ด้านข้อมูล และด้านคอมพิวเตอร์ เป็นเครื่องมือช่วยเพิ่มพลังใน การจัดการความรูู้ แต่เทคโนโลยีด้านข้อมูลและคอมพิวเตอร์โดย ู ตัวมันเอง ไม่ใช่การจัดการความรู้
  • 7. ความหมายของการจัดการความรู้ (Knowledge Management: KM) (ต่อ) 2. การจัดการความรู้เกี่ยวข้องกับการแบ่งปันความรู้ (Knowledge Sharing) ถ้าไม่มีการแบ่งปันความรู้ ความพยายาม ในการจัดการความรู้จะไม่ประสบผลสําเร็จ พฤติกรรมภายใน ู องค์กรเกี่ยวกับวัฒนธรรม พลวัต และวิธีปฏิบติมีผลต่อการแบ่งปัน ั ความรู ประเดนดานวฒนธรรม และสังคมมีความสําคัญยิ่งต่อการ ความร้ ประเด็นด้านวัฒนธรรม และสงคมมความสาคญยงตอการ จัดการความรู้
  • 8. ความหมายของการจัดการความรู้ (Knowledge Management: KM) (ต่อ) 3. การจัดการความรู้ต้องการผู้ทรงความรู้ ความสามารถในการ ตีความ และการประยุกต์ใช้ความรู้ในการสร้างนวัตกรรม และเป็น ผู้นําทางในองค์กร รวมทั้งต้องการผู้เชี่ยวชาญในสาขาใดสาขา ู ู ญ หนึ่ง สําหรับช่วยแนะนําวิธีประยุกต์ใช้การจัดการความรู้ ดังนั้น กจกรรมเกยวกบคน ไดแก การดงดูดคนเกงและคนด การพฒนา กิจกรรมเกี่ยวกับคน ได้แก่ การดึงดดคนเก่งและคนดี การพัฒนา คน การติดตามความก้าวหน้าของคน
  • 9. ความหมายของการจัดการความรู้ (Knowledge Management: KM) (ต่อ) 4. การจัดการความรู้ เป็นเรื่องของการเพิ่มประสิทธิภาพของ องค์กร การจัดการความรู้เกิดขึ้น เพราะมีความเชื่อว่าจะช่วย สรางความมชวตชวา และความสําเร็จให้แก่องค์กร การปร เมน สร้างความมีชีวิตชีวา แล ความสาเรจใหแกองคกร การประเมิน “ต้นทุนทางปัญญา” (Intellectual Capital) และผลสําเร็จของ การประยุกตใชการจดการความรู ป็นดัชนีบอกว่า องคกรมการ การประยกต์ใช้การจัดการความร้เปนดชนบอกวา องค์กรมีการ จัดการความรู้อย่างได้ผลหรือไม่
  • 10. ความหมายของการจัดการความรู้ (Knowledge Management: KM) (ต่อ) Stair (2001) กล่าวว่า กระบวนการ รวบรวม จัดการความรู้ ความชํานาญไม่ว่าความรู้ นนจ อยู นคอมพิวเตอร์ ในกระดาษหรือตัวบคคล โดยม นั้นจะอย่ในคอมพวเตอร ในกร ดาษหรอตวบุคคล โดยมี จุดมุ่งหมายเพื่อจัดการให้บคลากรได้รับความรู้และแลกเปลี่ยน ุ ความรู าใหเกดการเปลยนแปลงพฤตกรรมจากเดม โดยให้เกิด ความร้ทําให้เกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมจากเดิม โดยใหเกด ประสบการณ์และความชํานาญเพิ่มขึ้น
  • 11. ความหมายของการจัดการความรู้ (Knowledge Management: KM) (ต่อ) สรุป KM เป็นระบบการบริหารจัดการข้อมล ข่าวสาร และความร้ เปนระบบการบรหารจดการขอมูล ขาวสาร และความรู ด้วยการการรวบรวมความรู้ จัดระบบ จัดเก็บง่าย เพื่อให้ง่ายต่อการเข้าถึง รวมทงการบูรณาการความรู โดยอาศยการแบงปนความรู จากผู รวมทั้งการบรณาการความร้ โดยอาศัยการแบ่งปันความร้ จากผ้ทรง ความรู้ ในการขับเคลื่อนการจัดการความรู้อย่างมีประสิทธิภาพ เพือให้เกิด ่ คุณประโยชน เรยกไดวาการจดการความรู ป็นเครื่องมือและวิธีเพิ่มมลค่า คณประโยชน์ เรียกได้ว่าการจัดการความร้เปนเครองมอและวธเพมมูลคา รวมทั้งเป็นแนวคิดรวบยอดในการบริหารจัดการความรู้ในองค์กร/ หนวยงาน และเครือข่าย หน่วยงาน และเครอขาย
  • 12. ความหมายของการจัดการความรู้ (Knowledge Management: KM) (ต่อ) ดังนั้น การนําการจัดการความรู้มาใช้ในการขับเคลื่อน เครืือข่่าย จึึงเป็นสิ่ิงทีี่จําเป็นและสําคญมาก เนืื่องจาก หากนํา ป็ ป็ ํ ั ํ ความรู้ของเครือข่ายที่มอยูอย่างกระจัดกระจายมารวบรวมให้เป็น ี ่ ระบบ ระเบียบ และง่ายต่อการเข้าถึง ก็จะเกิดเป็นขุมทรัพย์ ความรู้ที่ทุกคนในเครือข่ายสามารถเข้าถึงและนําไปใช้ได้อย่าง ู มีประสิทธิภาพ
  • 13. ทําไมต้องนําการจัดการความรู้มาใช้ (Why KM?) นภดล สุขสํําราญ, 2554 1. ความเปลี่ยนแปลงและการแข่งขันทางการตลาด เพื่อให้ลูกค้า พึงพอใจจึงต้องมีการพัฒนาฐานความรู้ในองค์กร 2. ลดความผิดพลาดในการแข่งขันด้านการตลาด เพื่อให้การ ทํางานมีประสิทธิภาพมากขึ้น 3. สรางวธปฏบตเพอชวยลดงบประมาณในการทางาน 3 สร้างวิธีปฏิบติเพื่อช่วยลดงบประมาณในการทํางาน ั 4. การสร้างนวัตกรรมใหม่ ๆ เพื่อสร้างความสําเร็จในองค์กร
  • 14. องค์ประกอบของการจัดการความรู้ (Component of KM) 1. 1 คน (People) หมายถึง พนกงาน ลูกจาง ลกค้า หรือผ้มีผลกระทบกบ หมายถง พนักงาน ลกจ้าง ลูกคา หรอผู ผลกระทบกับ องค์กร KM จะรวบรวมว่าใครเชี่ยวชาญในด้านใดบ้าง ถามงานใหมเขามาจะมอบหมายใหใครเปนผู บผิดชอบ ถ้ามีงานใหม่เข้ามาจะมอบหมายให้ใครเป็นผ้รับผดชอบ 2. สถานที่ (Place) หมายถึง ที่ที่ทุกคนในองค์กรสามารถระดมความคิด รวมกนได อาจอยู นรูปของเวบบอรด การประชม ร่วมกันได้ อาจอย่ในรปของเว็บบอร์ด การประชุม ทางไกล หรือ โปรแกรมออนไลน์อื่นๆ ก็ได้ 3. ขอมูล 3 ข้อมล (Thing) หมายถึง ทกสิ่งที่นําเก็บและให้ผ้ใช้เข้าถึงข้อมล หมายถง ทุกสงทนาเกบและใหผู ชเขาถงขอมูล เหล่านั้นได้โดยง่าย การวิเคราะห์ แยกแยะหมวดหมู่ของข้อมูล เปนเรองสาคญ เป็นเรื่องสําคัญ
  • 15. องค์ประกอบของการจัดการความรู้: Marquardt,1999 (Knowledge Management Components) 1. การแสวงหาความรู้ (Knowledge Acquisition) การแสวงหาความรู้มีประโยชน์และมีผลต่อการดําเนินงานทั้ง ภายในและภายนอกองค์กร ดังนี้ี ใ ์ ั 1.1 การแสวงหาและรวบรวมความรู้ภายในองค์กร (Internal Collection of Knowledge) เป็็นปััจจัยสํําคััญประการหนึึ่งใ ั ในการช่่วย เพิ่มคุณค่าให้แก่องค์กร และเพิมความสามารถในการเรียนรู้ของบุคคล ่ ส่่วนใหญ่่ในองค์กร รวมทั้งการได้้มาซึ่งความรู้ต่าง ๆ ภายในองค์์กร ใ ์ ั ไ ึ ใ
  • 16. องค์ประกอบของการจัดการความรู้: Marquardt,1999 (Knowledge Management Components) วิธีการแสวงหาความรู้ให้ความรู้แก่บุคลากรในองค์์กร เช่น ้ ใ 1. การสอนงาน 2. การฝึกอบรม 3. การสัมมนา 4. การประชุม 5. การจดแสดงผลงาน 5 การจัดแสดงผลงาน 6. ระบบพี่เลี้ยง 7. 7 การเรีียนรู้จากประสบการณ์์ตรงและการลงมืือป ิบติิ ป ปฏิ ั
  • 17. องค์ประกอบของการจัดการความรู้ (K l d M tC t) (Knowledge Management Components) 1.2 การแสวงหาและรวบรวมความรู้ภายนอกองค์กร (External Collection of Knowledge) หมายถึง การเทียบเคียง (Benchmarking) กับองค์กรอื่น ๆ อยู่เสมอ เพื่อนําข้อมูลที่ได้มาปรับปรุงผลงานและสร้าง ความคิดใหม่ ๆ ดังนั้น การแข่งขันขององค์กร จึงจําเป็นต้องอาศัยการ ประยุกต์ใช้ความคิดและความคิดสร้างสรรค์ เพื่อมุ่งสู่การเติบโต และการ เป็นผู้นําการแข่งขันทางในทางการตลาด ซึ่งการจะเป็นผู้นําการแข่งขัน ทางการได้ตลาดได้น้ัน จําเป็นต้องอาศัยจากข้อมูลสารสนเทศ รวมทั้ง สภาพแวดล้อมภายนอกด้วยวิธีการต่าง ๆ
  • 18. องค์ประกอบของการจัดการความรู้ (K l d M tC t) (Knowledge Management Components) การใช้เทียบเคียงกับองค์กรอื่น การจ้างผู้ให้คําปรึกษา การอ่าน ข้อมูลข่าวสารจากสื่อสิ่งพิมพ์ สื่ออิเล็กทรอนิกส์ เช่น หนังสือพิมพ์ อีเมล ู บทความ โทรทัศน์ วีดิโอ ภาพยนตร์ การพยากรณ์ตามหลักเศรษฐศาสตร์ สังคม รวมทั้งเทคโนโลยีต่าง ๆ ในการรวบรวมข้อมูลจากลูกค้า คู่แข่งและ จากแหล่งอื่น ๆ การจ้างพนักงาน การร่วมมือกับองค์กรอื่น ๆ เพื่อนําไปสู่ สร้างพันธมิตรและการหาผู้ร่วมทุนกับองค์กร
  • 19. องค์ประกอบของการจัดการความรู้ (K l d M tC t) (Knowledge Management Components) 2. การสร้างความรู้ (Knowledge Creation) การสร้างความรู้เป็นสิ่งที่เกิดจากการสร้างสรรค์ (Creative) ู การจะสร้างความรู้ขึ้นมาได้นั้นเป็นการสร้างความรู้ขึ้นมาใหม่ที่เกิดขึ้นจาก แรงผลักดัน การหยั่งรู้และความเข้าใจอย่างลึกซึงที่เกิดขึ้นกับบุคคลแต่ละ ้ บุคคล การสร้างความรู้ใหม่ควรเกิดขึ้นจากองค์กรหรือคนในองค์กร คือ ทุก ๆ คนในองค์กรสามารถเป็นผู้สร้างความรู้ได้ โดยมีรูปแบบต่าง ๆ ในการสร้างความรู้
  • 20. องค์ประกอบของการจัดการความรู้ (K l d M (Knowledge Management Components) ( ่ ) tC t ) (ตอ) รูปแบบต่าง ๆ ในการสร้างความรู้ 2.1 การเรียนรู้จากการปฏิบัติ (Action Learning) ู 2.2 การแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ (Systematic Problem Solving) 2.3 การทดลอง (Experimentation) เป็นการสร้างแรงจูงใจและ โอกาสในการเรียนรู้ 2.4 การเรียนรู้จากประสบการณ์ท่ผ่านมาในอดีต (Learning From ี Past Experience)
  • 21. องค์ประกอบของการจัดการความรู้ (K l d M (Knowledge Management Components) ( ่ ) tC t ) (ตอ) 3. การจััดเก็บข้อมูลและการค้นคืนความรู้ (Knowledge Storage and ็ ้ ้ ื Retrieval) องค์์กรจะต้้องกําหนดว่าสิ่งใ ํ ่ ิ ใดเหมาะสม สํําคััญ และควรจะเก็็บไ ้ ไว้ เป็นความรู้ รวมทั้ง การคํานึงถึงวิธีการในการเก็บรักษา และการนําข้อมูล และความรู้มาใช้้ให้้เกิิดประโยชน์์ตาม ความต้้องการขององค์์กร โ ใ โ โดยจะต้้อง เก็บรักษาความรู้ไว้ให้ดีที่สุด ไม่ว่าจะเป็นข้อมูล เช่น การบันทึกฐานข้อมูล (Database) หรืือการบัันทึึกเป็็นลายลักษณ์อักษรที่ชัดเจน ั ์ ี
  • 22. องค์ประกอบของการจัดการความรู้ (K l d M (Knowledge Management Components) ( ่ ) tC t ) (ตอ) 1. โครงสร้างและการจัดเก็บความรู้ ควรเป็นระบบที่สามารถค้นหาและ ส่งมอบได้อย่างถูกต้องและรวดเร็ว ู 2. จัดให้มีการจําแนกรายการต่าง ๆ เช่น ข้อเท็จจริง นโยบาย หรือขั้นตอน การปฏิบัตงานบนพื้นฐานความจําเป็นในการเรียนรู้ ิ 3. อาศัยการจัดการที่สามารถส่งมอบให้ผู้ใช้ได้อย่างชัดเจน กระชับ ถูกต้อง ทันเวลาและเหมาะสมตามที่ต้องการ
  • 23. องค์ประกอบของการจัดการความรู้ (K l d M (Knowledge Management Components) ( ่ ) tC t ) (ตอ) การถายโอนความรู ละการใชประโยชน 4. การถ่ายโอนความร้และการใช้ประโยชน์ (Knowledge Transfer and Utilization) มีวิธีการต่าง ๆ ดังนี้ 1. การสื่อสารด้วยการเขียน (บันทึก รายงาน จดหมาย ข่าวประกาศ) การสอสารดวยการเขยน (บนทก ขาวประกาศ) 2. การฝึกอบรม 3. การประชมภายใน การประชุมภายใน 4. การสรุปข่าวสาร 5. การสื่อสารภายในองค์กร การสอสารภายในองคกร 6. การเยี่ยมชมงานต่าง ๆ ที่จัดเป็นกลุ่มตามความจําเป็น 7. การหมนเวียน/ เปลี่ยนงาน การหมุนเวยน/ เปลยนงาน 8. ระบบพี่เลี้ยง
  • 24. องค์ประกอบของการจัดการความรู้ (K l d M (Knowledge Management Components) ( ่ ) tC t ) (ตอ) ในการการถ่ายโอนความรู้โดยไม่ตั้งใจ จะเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นโดย อาจจะไม่รู้ตัวหรือเป็นการเรียนรู้อย่างไม่เป็นทางการ ที่เกิดขึ้นในหน้าที่เป็น ู ประจําและอย่างไม่มีแบบแผนที่แน่นอน โดยวิธีการดังนี้ 1) การสับเปลี่ยนการทํางาน 2) เรื่องราวต่าง ๆ ที่เล่าต่อกันมา 3) ถ่ายโอนผ่านคณะทํางาน 4) ถ่ายโอนผ่านเครือข่ายที่ไม่เป็นทางการ
  • 25. องค์ประกอบของการจัดการความรู้: Probst, Raub and Romhardt (2000) (Knowledge Management Components) สรุปได้ว่า การจัดการความรู้ จะประสบผลสําเร็จจําเป็นต้องมีองค์ประกอบที่สําคัญ ได้แก่ 1. การกําหนดเป้าหมายความรู้ 2. การระบุถึงความรู้ 3. การจัดหาความรู้ 4. การพัฒนาความรู้ 5. การแบ่งปันและการกระจายความรู้ 6. การจัดเก็บความรู้ 7. การใช้ความรู้ 8. การประเมินความรู้ ซึ่งสามารถอธิบายได้ดังภาพต่อไปนี้
  • 27. องค์ประกอบของการจัดการความรู้: Turban และคณะ (Knowledge Management Components) กระบวนการจัดการความรู้ออกเป็น 6 ประการ คือ การสร้างความรู้ การจับและเก็บความรูู้ การเลือกหรือกรองความรูู้ การกระจายความรูู้ การใช้ความรู้ และการติดตามและตรวจสอบกระบวนการ
  • 30. สรุปองค์ประกอบของการจัดการความรู้ (K l d M tC (Knowledge Management Components) t) สรุป การนําการจัดการความรู้มาใช้ในการขับเคลื่อน เครือข่าย คือ การที่หน่วยงาน องค์กร เครือข่าย นําเอาองค์ประกอบ ของการจัดการความรู้มาประยุกต์ใช้และหล่อหลอมให้เกิดเป็น เครือข่ายความรู้ร่วมกัน โดยอาศัยการขับเคลื่อนเครือข่ายด้วยการ บริหารจัดการอย่างมีระบบ จากความร่วมมือของทุกคนในเครือข่าย สร้างบรรยากาศที่เอื้อต่อการแบ่งปันความรู้ เพื่อให้เกิดการแบ่งปัน ความรู้จากบุคคลทีมีความรู้และมีความตั้งใจที่จะแบ่งปันความรู้อย่าง ่ แท้จริง ด้วยเทคนิคการ เช่น การเสวนา การพูดคุยแบบไม่เป็น ทางการ หรือการจัดเวทีแลกเปลี่ยนความรู้รวมกัน ่
  • 31. สรุปองค์ประกอบของการจัดการความรู้ (K l d M tC (Knowledge Management Components) t) ซึ่งความรู้ท่ีได้นั้นจะเป็นข้อมูลที่ผ่านการสกัดรวมกันเป็นข้อมูลที่มี ประสิทธิภาพ และหากเครือข่ายนําความรู้เหล่านั้นมาจัดเก็บในรูป ของเอกสาร เช่น หนังสือ คู่มือ เป็นต้น หรือ การนําเทคโนโลยี เช่น เว็บไซต์ บล็อก เป็นต้น มาใช้เป็นเครื่องมือจัดเก็บข้อมูลอย่างเป็น ระบบ เพื่อให้ง่ายต่อแสวงหา จัดเก็บ ค้นคืน การนําความรู้ไปใช้ รวมถึงทบทวนความรู้ ก็จะทําให้ระบบการจัดการความรู้ของ เครือข่ายนั้น ๆ มีประสิทธิภาพ ซึ่งจะนําไปสู่เครือข่ายที่เข้มแข็งและ ยั่งยืนต่อไป
  • 32. ประเภทของความรู้ (Type of Knowledge) ความรู้อาจแบ่งใ ๆ ไ ้ ๒ ประเภท คือ ใหญ่ ได้ ื 1. ความรู้ซ่อนเร้น/ความรู้ฝังลึก (Tacit Knowledge) เป็นความรู้ที่แฝงอยู่ในตัวคน เป็นประสบการณ์ที่สั่งสมมายาวนาน เป็น ภูมิปญญา ั 2. ความรู ด่นชัด 2 ความร้เดนชด (Explicit Knowledge) เป็นความรู้ที่อยู่ในรูปแบบที่เป็นเอกสาร หรืือ วิิชาการ อยูในตารา คู่มือป บัติิงาน ่ ํ ปฏิิ
  • 33. ประเภทของความรู้ (Type of Knowledge) * ความรู้ ๒ ประเภทนี้จะสลับปรับเปลี่ยนไปตลอดเวลา บางครั้ง Tacit ก็ออกมาเป็น Explicit และบางครั้ง Explicit ก็เปลี่ยนไปเป็น Tacit
  • 34. ประเภทของความรู้ (Type of Knowledge) http://www.research.ibm.com/knowsoc/project_summary.html
  • 36. Model ปลาทูู http://kmi.or.th/5_Link/Article_PVicharn/0001_IntrotoKM.html
  • 37. Model ปลาทูู โมเดลปลาทู เปนโมเดลอยางงาย ทเปรยบการจดการความรู “โมเดลปลาท” เป็นโมเดลอย่างง่าย ที่เปรียบการจัดการความร้ เหมือนกับปลาทูหนึ่งตัวที่มี ๓ ส่วน คือ 1. ส่วน “หัวปลา” (Knowledge Vision- KV) หมายถึง ส่วนที่เป็นเป้าหมาย วิสัยทัศน์ หรือทิศทางของการจัดการความรูู้ โดยก่อนที่จะทําจัดการความรูู้ ต้องตอบ ให้ได้ว่า “เราจะทํา KM ไปเพื่ออะไร ?” โดย “หัวปลา” นี้จะต้องเป็นของ “คณกิจ” หรือ ผู้ดําเนินกิจกรรม KM ทังหมด โดยมี “คุณเอื้อ” และ “คุณอํานวย” คอย ้ ช่วยเหลืือ
  • 38. Model ปลาทูู 2. ส่วน “ตัวปลา” (Knowledge Sharing-KS) เป็นส่วนของการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ซึ่งถือว่าเป็นส่วนสําคัญ ซึ่ง “คุณอํานวย” จะมีบทบาทมากในการช่วยกระตุ้นให้ ุ ุ “คุณกิจ” มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ความรู้ โดยเฉพาะความรู้ซ่อนเร้นทีมอยูในตัว ่ ี ่ “คุณกิจ” พร้อมอํานวยให้เกิดบรรยากาศในการเรียนรู้แบบเป็นทีม ให้เกิดการ หมุนเวียนความรู้ ยกระดับความรู้ และเกิดนวัตกรรม
  • 39. Model ปลาทูู 3. ส่่วน “หางปลา” (Knowledge Assets-KA) เป็นส่วนของ “คลังความรู” หรืือ ป ป็ ่ ั ้ “ขุมความรู้” ทีได้จากการเก็บสะสม “เกร็ดความรู้” ทีได้จากกระบวนการแลกเปลี่ยน ่ ่ เรยนรู ตวปลา ซงเราอาจเกบสวนของ หางปลา นดวยวธตางๆ เชน เรียนร้ “ตัวปลา” ซึ่งเราอาจเก็บส่วนของ “หางปลา” นี้ด้วยวิธีต่างๆ เช่น ICT ซึ่งเป็นการสกัดความรู้ที่ซ่อนเร้นให้เป็นความรูที่เด่นชัด นําไปเผยแพร่และแลกเปลี่ยน ้ หมุนเวียนใช้ พร้อมยกระดับต่อไป ุ
  • 40. บุคคลสําคัญใน KM: CEO 1. ผู้บริหารสูงสุด (CEO) ผู้บริหารสูงสุดเป็น แชมเปี้ยน คือ เห็นคุณค่า และดําเนินการผลักดัน KM) เรื่องที่ว่ายากทั้งหลายก็ง่ายขึ้น ผู้บริหารสูงสุด ควรเป็นผู้ริเริ่มกิจกรรมจัดการความรู้ โดยกําหนดตัว บุคคลที่จะทําหน้าที่ “คุณเอื้อ (ระบบ)” ของ KM ซึ่งควรเป็นผู้บริหารระดับสูง เช่น รองอธิบดี, รองผู้อํานวยการ เป็นต้น
  • 41. บุคคลสําคัญใน KM: CKO 2. คุณเอื้อ (Chief Knowledge Officer-CKO) ุ g บทบาทคือ เอาหัวปลาไปขายผู้บริหารสูงสุด ให้ผู้บริหาร สูงสุุดกลายเป็นเจ้าของ “หัวปลา” บทบาทของคุณเอื้อ ู ุ คือ 1. จัดให้มีการกําหนด “เป้าหมาย/ หัวปลา” วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าหมาย และยุทธศาสตร์ ขององค์กร 2. จัดบรรยากาศแนวราบ และการบริหารงานแบบเอื้อ อํานาจ (empowerment), ร่วม share ทักษะใน การเรียนรูู้ และแลกเปลี่ยนเรียนรูู้ เพื่อประโยชน์ใน การดําเนินการจัดการความรู้โดยตรง
  • 42. บุคคลสําคัญใน KM: CKO 3. จััดสรรทรััพยากรสํําหรัับใช้้ในกิิจกรรมจััดการ ใ ความรู้ 4. เชืื่อมโยงการจััดการความรู้เข้ากับกิิจกรรม โ ้ ั สร้างสรรค์อื่น ๆ ทั้งภายในและนอกองค์กร 5. ติิดตามความเคลื่อนไหวของการดํําเนินการ ื ไ ิ ให้คําแนะนําบางเรื่อง และแสดงท่าทีชื่นชม ความสํําเร็็จ อาจจััดใ ้มีการยกย่่องในผลสํําเร็็จ ให้ ใ และให้รางวัลที่อาจไม่เน้นสิ่งของ แต่เน้นการสร้าง ความภาคภูมิใจในความสําเร็็จ ใ ํ
  • 43. บุคคลสําคัญใน KM: KP 3. คุุณกิจ (Knowledge Practitioner‐ KP) คือ ผู้ดําเนิน g ) ู กิจกรรมจัดการความรู้ ร้อยละ 90-95 อาจสรุปได้ว่าคุณกิจคือ ผู้จัดการ ความรู้ตัวจริง เป็นผู้มีความรู้ (Explicit Knowledge) และเป็นผู้ต้อง มาแลกเปลี่ยนเรีียนรู้ ใ ้ หา สร้้าง แปลง ความรู้เพืื่อการปฏิบัติให้บรรลุ ป ี ใช้ ป ป ิ ้ ถึง “เป้าหมาย/หัวปลา” ที่ต้งไว้ ั “คณกิจ” ต้องมีทักษะสําคัญดังนี้ ุ 1. ทักษะในการฟัง พร้อมที่จะรับฟังความรู้ใหม่ ๆ หรือเรียนรู้อยู่ ตลอดเวลา 2. ทัักษะในการพูด มีีทักษะในการบอกเล่าความคิด ความรู้สึก ความ ใ ใ เข้าใจหรือการตีความของตนเอง 3. ทักษะในการคิดเชิงบวก เป็นทักษะพื้นฐานของทักษะอื่น ๆ ทงหมด ทกษะในการคดเชงบวก เปนทกษะพนฐานของทกษะอน ทั้งหมด ต้องฝึกตนเองให้มีนิสัยคิดเชิงบวก เชิงชืนชมยินดี มองโลกในแง่ดี ่
  • 44. บุคคลสําคัญใน KM : KP 4. ทักษะในการนําความรู้ หรือวิธีการใหม่ๆ ไปทดลอง คณกิจที่ ุ เก่ง จะต้องนําความรูใหม่ๆทีได้ ไปทดลองใช้ด้วยวิธีของตนเอง ้ ่ 5. ทักษะในการในการสังเกต วัด นับ เพื่อบันทึกผลการทดลอง การจัดการความรูมีเป้าหมายเพื่อให้ ”คุณกิจ” หรือกลุม ้ ่ “คุณกิจ” สร้างความรูขึ้นใช้เองในกิจการของตน ้ 6. ั ใ ป 6 ทกษะในการประเมิินผลการทดลองด้้วยตนเอง หรือร่่วมกบ ื ั เพื่อน “คุณกิจ”ด้วยกัน 7. ทกษะในการจดบนทก เปนการสรางความตอเนองของการ 7 ทักษะในการจดบันทึก เป็นการสร้างความต่อเนื่องของการ จัดการความรูคุณกิจ แต่ละคนต้องมีทักษะในการจดบันทึก ้ กิจกรรม ข้อมูล และความรูู้สกของตนไว้ใช้งานด้วย ู ึ
  • 45. บุคคลสําคัญใน KM: KF 4. คุณอํานวย (Knowledge Facilitator , KF) ผู้อํานวยความสะดวกในการจัดการความรู้ หรือ Nonaka เรียกว่า Knowledge Activist ยังมีผู้นิยม เรียกอีกชื่อหนึ่งคือ Knowledge Broker หน้าที่หลัก คือ ส่งเสริมให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และอํานวยความสะดวกต่อการแลกเปลียนเรียนรู้ ทั้ง ่ ในเชิงกิจกรรม เชิงระบบ และเชิงวัฒนธรรม
  • 46. บุคคลสําคัญใน KM : KF ทักษะที่จําเป็นของ “คณอํานวย” มีดังน้ ษ เปนขอ ณอ นวย ม นี ุ 1. จุดประกายความคิด การสร้างความกระตือรือร้น 2. การจัดประชม ุ 3. การเป็นวิทยากรกระบวนการ ในการประชุม แลกเปลี่ยนเรียนร้หรือแบ่งปันความรู้ ู 4. ทักษะในการจับประเด็น และบันทึกขุมความรู้ จากการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 5. รู้จักและสามารถในการเข้าถึงแหล่งความรู้ ภายนอก 6. มีทักษะในการเขียน
  • 47. บุคคลสําคัญใน KM : KF 7.. ทักษะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ษ นเ โนโลยส รสนเ 8. ทักษะในการสร้างบรรยากาศ มุ่งมั่น ชื่นชม ุ แบ่งปัน ม่งเป้าหมาย 9. ทักษะในการเรียนรู้ และ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ หลากหลายรปแบบ ู 10. ทักษะในการทํางานเป็นทีมร่วมกับ “คุณอํานวย” คนอื่นๆ และร่วมกับ “คณเอื้อ” ุ 11. ส่งเสริม สนับสนุน ให้ “คุณกิจ” ทั้งหลายได้ใช้ ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์รวมกัน เพื่อบรรลุุ “หัวปลา” ่ หรือเป้าหมายองค์กร
  • 48. บุคคลสําคัญใน KM: NT 5. คุุณลิขิต (Note Taker: NT)คือ ผู้ทํา ู หน้าที่จดบันทึก ในกิจกรรมการจัดการความรู้ อาจทํา หน้าที่เป็นการเฉพาะกิจ หรือทําหน้าที่เป็นระยะยาว กึ่งถาวรในกิจกรรมจัดการความรู้ของกลุ่ม หรือ หน่วยงาน หรือองค์กร สิ่งที่ “คุณลิขิต” จดบันทึก ุ ได้แก่ 1. เรื่องเล่าจากกิจกรรม (Storytelling) y g 2. “ขุมความรู้” (Knowledge Assets) เพื่อการบรรลุ เป้าหมายงานแต่ละชิ้น หรือแต่ละกิจกรรมจากเรื่องเล่า และกิจกรรมแลกเปลียนเรียนรู้รูปแบบต่าง ๆ ่
  • 49. บุคคลสําคัญใน KM : NT 3. “แก่นความรู้” (Core Competence) เพื่อการบรรลุผลสัมฤทธิ์ของงานแต่ละชิ้น หรือ แต่ละกิจกรรม 4. บันทึกการประชุมตามที่ตกลงกัน ุ 5. บันทึกอื่นๆ เพื่อให้การดําเนินการความรู้มี ความตอเนอง ความต่อเนื่อง
  • 50. บุคคลสําคัญใน KM: คุณลิขิต ุ ิ ทักษะทีจําเป็นสําหรับ “คณลิขต” ่ 1. การจับใจความและการบันทึกเป็นเรื่องเล่า 2. การสกัดประเด็นเป็นขุมความรู้ ต้องฝึกการจับความให้ได้เร็ว จดประเด็นย่อ ๆ ไว้ แล้วค่อยมาต่อเติมถ้อยคําให้สละสลวย ภายหลัง หรือใช้ Mind Map 3. 3 ต้้องศึกษาเรืื่องราวทีจะประชุมมาล่วงหน้้า ึ ี่ ป ่ 4. ทักษะด้านภาษามีภาษาที่สละสลวยเข้าใจง่าย 5. ทกษะดานคอมพวเตอร และการใชซอฟตแวร 5 ทักษะด้านคอมพิวเตอร์ และการใช้ซอฟต์แวร์ 6. ทักษะในการเข้าไปติดตามแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่าง “คุณกิจ” ทั้งที่เป็นการแลกเปลี่ยนแบบ F2F (Face to Face) ุ หรือ B2B (Blog to Blog)
  • 51. บุคคลสําคัญใน KM: NM 6. คุณประสาน (Network Manager: NM) เป็นผู้ที่คอยประสาน เชื่อมโยงเครือข่ายการจัดการความรู้ ระหว่างหน่วยงาน ให้เกิดการ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ในวงที่กว้างขึ้น เกดพลงรวมมอทางเครอขายในการ เกิดพลังร่วมมือทางเครือข่ายในการ เรียนรู้และยกระดับความรู้แบบทวีคณ ู
  • 53. เทคโนโลยีการสื่อสารที่ใช้ใน KM เทคโนโลยการสอสาร ชวยให 1. เทคโนโลยีการสื่อสาร (Communication Technology) ช่วยให้ บุคลากรสามารถเข้าถึงความรู้ได้ง่ายขึ้นรวมถึงสามารถติดต่อสื่อสารกับ บุคคลอนได บคคลอื่นได้ 2. เทคโนโลยีการทํางานร่วมกัน (Collaboration Technology) ช่วยให้ ประสานการทางานรวมกน ไดอยางมประสทธภาพลดอุปสรรค ประสานการทํางานร่วมกัน ได้อย่างมีประสิทธิภาพลดอปสรรค ในเรืองระยะทาง 3. เทคโนโลยีการจัดเก็บ (Storage technology) ช่วยในการจัดเก็บและ เทคโนโลยการจดเกบ ชวยในการจดเกบและ จัดการความรู้ต่าง ๆ
  • 55. ปัญหาของ KM 1. การถายทอดความรู ะหว่างบคคลกับองค์กร เชน ปัญหาการไม่แบ่งปัน 1 การถ่ายทอดความร้ระหวางบุคคลกบองคกร เช่น ปญหาการไมแบงปน ความรู้ บริษัทหนึ่งมีการส่งพนักงานไปสัมมนา หรือฝึกอบรม หลังจากที่ กลับมาแล้ว ก็เก็บความรู้เอาไว้คนเดียว หรืออาจจะรายงานให้หัวหน้าทราบ ู เพียงเท่านั้นแต่พนักงานคนอื่นอีกหลายคนในองค์กรทีไม่ได้ไป ่ จะไม่รับรู้เลยว่าคนทีไปฝึกอบรม หรือไปสัมมนามานั้น ได้อะไรกลับมา เพราะ ่ มีไม่การเก็็บบันทึกรายงานหรือสิงที่นาสนใจทีได้จากการอบรม ่ ่ ่ หรือสัมมนาในครั้งนั้น ๆ ไว้ในฐานข้อมูล อินทราเน็ต หรือเว็บไซต์ หากองค์กร ไมมนโยบายทชดเจนในเรองเชนน ก็จะให้การลงทนไปกับ ไม่มนโยบายที่ชดเจนในเรื่องเช่นนี้ กจะใหการลงทุนไปกบ ี ั การส่งพนักงานไปฝึกอบรม หรือเข้าร่วมสัมมนา อาจจะเป็นการ ลงทุนที่สญ ู เปล่า
  • 56. ปัญหาของ KM 2.. การจัดเ บความร้ขององค์กรจัดเก็บไว้หล ล ยแ ลง รจ เก็ ว มรู อ อ รจ เ บไว ลากหลายแหล่ หลายรูปแบบ มีทั้งที่เป็นอิเล็กทรอนิกส์ และไม่เป็นอิเล็กทรอนิกส์ กระจัดกระจาย ในยามที่ต้องการข้อมลเพื่อการตัดสินใจแบบด่วน ู จะทําไม่ได้ เพราะต้องใช้เวลารวบรวมข้อมูลนาน ทําให้เสียผลประโยชน์ ต่อองค์กร
  • 57. ปัญหาของ KM 3. การไม่นําความรู้ขององค์กรมาสร้างความสามารถในการแข่งขัน หรือก่อให้เกิดประโยชน์อย่างแท้จริง ในองค์กรมีความรู้มากมาย ที่ได้ จากการวิจัยหรือประสบการณ์จากการทํางาน แต่วิจัยแล้วก็จบไป ไม่นําไปประยุกต์เพื่อทําให้เกิดผลทางธุรกิจต่อไป หรืองบโครงการ หมดก็จบโครงการไปไม่มีการสานต่อหรือองค์กรมีผู้รู้ ผู้เชี่ยวชาญที่ สามารถออกไปสอนองค์กรอื่นให้ประสบความสําเร็จ มีความรู้ แต่ใน ขณะเดียวกัน ท่านเหล่านั้นกลับยุ่ง และไม่มีเวลาเหลือพอที่จะพัฒนา คนในองค์กรเดียวกันเลย ก็กลายเป็นความสูญเปล่าที่ไม่น่าจะเกิดขึ้น
  • 58. ปัญหาของ KM 4. การสร้างความรู้ใหม่ สิ่งนี้จะไม่เกิดขึ้นถ้าไม่มีการสะสมความรู้ที่มี อยู่เดิมอย่างเป็นระบบ เมื่อไม่เกิดความรูู้ใหม่ อีกทั้งความรูู้เดิมไม่ได้ ู เก็บไว้ด้วยแล้ว องค์กรก็จะไม่เหลืออะไร และจะตายลงในที่สุด 5. การไม่นําความรู้ภายนอกมาปรับใช้ อาจจะทําให้ตามสถานการณ์ โลก และคู่แข่งไม่ทัน 6. ความรู้ในองค์กร ความรู้ภายนอกองค์กร ไม่เชื่อมโยงกับงาน และ ขาดบริบทในการปฏิบัติงาน
  • 60. Example E pl
  • 61. ตัวอย่างงานวิจย เรื่อง การพัฒนารูปแบบการแบ่งปันความรูดวยวิธีผสมผสานโดยใช้ ั ้ ้ กระบวนการมีสวนร่วมอย่างสร้างสรรค์เอไอซีเพื่อส่งเสริมการสร้างวิสัยทัศน์ร่วมกันของ ่ นัักเรียนแกนนํา อย.น้้อย (อ.ดร.พััชราวดีี ศรีีบุญเรืือง, 2553) ี ํ
  • 64. ตัวอย่างเว็บไซต์ KM: ศิริราช (ต่อ) http://www.youtube.com/watch?v=G995jlhuKVo
  • 70. ตัวอย่างแผนการจัดการความรู้ แผนการจัดการความรู้ ของ สํานักหอสมุด มหาวิทยาลัยกรุงเทพ ปีการศึกษา 2554 1. หลักการและเหตุผล สํานักหอสมุด มหาวิทยาลัยกรุงเทพ ตระหนักถึงความสําคัญของการจัดการความรู้ ซึ่ง เปนเ รอ มอใน ร ฒนาองค์ รให้เป็นองค์ รแ รเรยนรู นน ส น อสมุ จ ไ เป็นเครื่องมือในการพัฒน อ กรใ เปนอ กรแห่งการเรียนร้ ดังนั้น สํานักหอสมดจึงได้มีการ ร ส่งเสริมการพัฒนาบุคลากรอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้บุคลากรมีความรู้ที่ทันสมัย ก้าวทันกับการ เปลี่ยนแปลงของโลกปัจจุบน โดยสนับสนุนให้บุคลากรมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ภายในองค์กร และ ั เขารวมการประชุม เข้าร่วมการประชม อบรม สัมมนา ในหน่วยงานของภาครัฐและเอกชน เพอนาหลกการและแนวทาง สมมนา ในหนวยงานของภาครฐและเอกชน เพื่อนําหลักการและแนวทาง ปฏิบัติที่ดี (Best Practice) มาพัฒนาบุคลากรให้มีความรู้เพิ่มมากขึ้น และนําความรู้มาประยุกต์ใช้ ในการพัฒนาองค์กร ปีการศึกษา 2554 สํานักหอสมุดกําหนดแผนพัฒนาการจัดการความรู้ของ บุคลากรให้สอดคล้องกับแผนการจัดการความรู้ของมหาวิทยาลัย โดยนําความรู้ท่มีอยู่ในตัวบุคคล ี (Tacit Knowledge) และความรู้จากการเรียนรู้ (Explicit Knowledge) รวบรวมจัดเก็บให้เป็น ระบบ สามารถสืบค้นนํามาใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และเผยแพร่สู่บุคลากรอย่างทั่วถึง
  • 71. ตัวอย่างแผนการจัดการความรู้ (ต่อ) 2. ขอบเขตการจัดการความรู้ ขอบเขตการจััดการความรู้ (KM Focus Area) ทีี่สนัับสนุนประเด็็นยุทธศาสตร์์ ทังหมด ประกอบด้วย ้ 1. การรวบรวมองคความรู างดานบรรณารกษศาสตรและสารสนเทศศาสตร 1 การรวบรวมองค์ความร้ทางด้านบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์ และ ศาสตร์อื่นๆ ให้เป็นหมวดหมู่ สามารถสืบค้นข้อมูลได้จากเว็บไซต์การจัดการ ความรูของสํานักหอสมุุด ู้ 2. การจัดการประชุม อบรม สัมมนา และศึกษาดูงาน เพื่อเพิ่มพูนความรูให้ ้ บุคลากรและนําไปใช้ในการปฏิบติงานให้เกิดทักษะและประสิทธิภาพในการทํางาน ั ยิงขึ้น ่ 3. การจัดให้มการนําความรูในการปฏิบติงานจากบุคลากรทีมีประสบการณ์และ ี ้ ั ่ ความรู นองค์กร มาแลกเปลี่ยนเรียนร้ เพอใหบุคลากรนาความรู ความเชยวชาญ ความร้ในองคกร มาแลกเปลยนเรยนรู เพื่อให้บคลากรนําความร้ ความเชี่ยวชาญ และทักษะเฉพาะด้าน มาพัฒนาการทํางานให้มีประสิทธิภาพ
  • 72. ตัวอย่างแผนการจัดการความรู้ (ต่อ) 3. เป้าหมาย 1. เพื่อให้บุคลากรสํานักหอสมุดมีวัฒนธรรมในการเรียนรู้ร่วมกัน 2. เพื่อให้สานักหอสมุดมีคลังความรูทหลากหลายและเป็นแหล่งเรียนรู้รวมกัน ํ ้ ี่ ่ 3. เพื่อสร้างเครือข่ายชุมชนแห่งการเรียนรู้ทงภายในและภายนอกหน่วยงาน ้ั 4. เพื่อให้สานักหอสมุดเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้อย่างสร้างสรรค์ ํ 4. 4 การดํําเนิินการ รายละเอียดปรากฏตามแผนการจัดการความรู้ (แผนปฏิบัติการ KM) 5. ระยะเวลาในการดาเนนการ 5 ระยะเวลาในการดําเนินการ ปีการศึกษา 2554 (มิถุนายน 2554 – พฤษภาคม 2555)
  • 73. ตัวอย่างแผนการจัดการความรู้ (ต่อ) 6. ผูู้รับผิดชอบ คณะกรรมการการจัดการความรู้ สํานักหอสมุด มหาวิทยาลัยกรุงเทพ ปีการศึกษา 2554 7. งบประมาณ/ทรััพยากรทีจาเป็น ่ี ํ ็ งบประมาณประจําปี ของสํานักหอสมุด มหาวิทยาลัยกรุงเทพ ปีการศึกษา 2554 8. การประเมนผล 8 การประเมินผล ประเมินผลจากแบบประเมิน แบบสอบถาม และผลการดําเนินงาน 9. ดัชนีชี้วัดความสําเร็จ มีระบบการจัดการความรูที่บุคลากรทุกคนสามารถเข้ามารับความรูในด้านต่างๆ ้ ้ ได้อย่างครบถ้วน
  • 78. สรุุป KM: ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช http://kmi.or.th/5_Link/Article_PVicharn/0001_IntrotoKM.html
  • 79. References สถาบันส่งเสริมการจัดการความรู้เพื่อสังคม http://kmi.or.th/5_Link/Article_PVicharn/0001_IntrotoKM.html บทบาทการดาเนนงาน และทกษะ คุณเออ คุณอานวย คุณกจ คุณลขต บทบาทการดําเนินงาน และทักษะ คณเอื้อ คณอํานวย คณกิจ คณลิขิต http://kmlibrary.bu.ac.th. แผนการดําเนินงานการจัดการความรู้ ปีการศึกษา 2554 สํานักหอสมุด มหาวิทยาลัยกรุงเทพ http://kmlibrary.bu.ac.th/index.php?option=com_content&view =article&id=114:-2554&catid=15:km&Itemid=26
  • 81. QUIZ Q ท่านจะประยุกต์ใช้การจัดการความรูู้ (KM) ุ ในการส่งเสริมการเกษตรอย่างไร? (5 คะแนน)