SlideShare a Scribd company logo
1 of 32
การจัดการความรู้ในศตวรรษที่ ๒๑
วิจารณ์ พานิช
ประธานมูลนิธิสถาบันส่งเสริมการจัดการความรู้เพื่อสังคม (สคส.)
บรรยายในการประชุมวิชาการ การจัดการความรู้ระดับชาติ สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ ครั้งที่ ๑ วันที่ ๑๐ พฤษภาคม ๒๕๖๑
KM คืออะไร
• คือการจัดการให้ “ความรู้” ออกฤทธิ์ ส่งผลต่อความสาเร็จของงาน
• คนได้เรียนรู้ ได้HRD
• องค์กรมีบรรยากาศที่ดี มีความเข้มแข็ง เป็นองค์กรเรียนรู้ เกิด OD
KM คืออะไร (๒)
• คือเครื่องมือของการเรียนรู้จากการปฏิบัติ
• เรียนรู้จากการปฏิบัติและสะท้อนคิดร่วมกัน
• คือการจัดให้มีความรู้พร้อมใช้ในการทางาน
• และหมุนเกลียวความรู้ยกระดับต่อเนื่อง
คือ การจัดการสินทรัพย์ที่จับต้องไม่ได้
• Knowledge Management
• Brand Management
• Reputation Management
• Quality Management
• Talent Management
• Safety Management
• Risk Management
• Customer Relationship
Management
Intangible Assets
แปลง ค. เป็นรายได้/กาไร/ผลประกอบการ
ช่วยให้กิจการพัฒนาต่อเนื่องตามการ ปป.
ภายนอก
• เรียนรู้ได้เร็ว
• พัฒนาต่อเนื่อง
• กาหนดเป็นมาตรฐาน
• ข้อมูลเชิงลึกช่วยการตัดสินใจ
• พัฒนาสินค้าหรือบริการที่ล้าหน้า
KM
ความรู้เป็น means
• งาน
• คน
• องค์กร
End คือ
KM 1.0 สร้างถังใส่ความรู้
KM 2.0 Human KM
KM 3.0 อยู่ในวิถี มีเป้าหมาย ใช้IT
KM 4.0 มี Framework มีการจัดการระบบ
KM 2.0 : Human KM
• เปิดใจ ยินดี/กล้า แลกเปลี่ยน ยิ่งให้ยิ่งได้
• EK, TK, SECI Cycle
• ฟังอย่างลึก เรื่องเล่าเร้าพลัง AI (Appreciative Inquiry)
• BAR, DAR, AAR, Retrospect, ถอดความรู้
• Peer Assist
เน้นฝึกทักษะคน
หลักการ
สาคัญ• อยู่ในวิถี
• มีเป้าหมาย
• ใช้IT อย่างมีระบบ
• มีการจัดการ “หัวปลา” (เป้าหมาย) และ สารสนเทศ
• มีการจัดการความรู้จากภายนอก
ของ KM 3.0
https://www.gotoknow.org/posts/599304
https://www.gotoknow.org/posts/603647
http://kmi.or.th/wp-content/uploads/2015/11/new-sky-of-km.pdf
KM 4.0 มีแม่ยก
• จับเป้า
• ทาเป็นระบบ
• ทาอย่างเป็นขั้นตอน
• มีการวัดและสื่อสาร
https://www.gotoknow.org/posts/tags/milton
KM 4.0 มีแม่ยก
• จับเป้า
• ทาเป็นระบบ
• ทาอย่างเป็นขั้นตอน
• มีการวัดและสื่อสาร
Change Management
1. จับ
• ยึดกุมภาพใหญ่ ครอบคลุม
• ทาเล็ก พุ่งเป้า ... ภารกิจหลักขององค์กร
• จัดการ Critical Knowledge เพื่อ
ผลสัมฤทธิ์ของภารกิจหลัก
2. ทาเป็นระบบ
มี กรอบงาน KM (KM Framework)
• คน ผู้แสดงบทบาทและรับผิดชอบ (roles)
• กระบวนการที่ใช้(process) ที่เป็นมาตรฐานกลาง
• เทคโนโลยี เพื่อหนุนการ ลปรร. ครบวงจร ใช้ร่วมกันทั้งองค์กร
• กลไกกากับดูแล (governance) : สร้างกติกา ข้อตกลง
KM Framework
3. ทาอย่างเป็นขั้นตอน
1. ยุทธศาสตร์ (Strategy Phase)
2. วางแผน (Planning Phase)
3. ทดสอบ & โครงการนาร่อง (Testing & Pilot Phase)
4. ขยายผล (Roll-out Phase)
5. บูรณาการกับงานประจา (Operational Phase)
4. มีการวัดและสื่อสาร
• ตั้งเป้า benefit
• สร้างวิธีวัด
• สื่อสารผล
• สร้างการยอมรับ พลังมวลชน พลังนโยบาย
ห่วงโซ่อุปทานความรู้สำคัญยิ่งยวด
Doc
Verify
Analysis
SynthesisOrganize
Re-use
Capture
Critical Knowledge
เมื่อ KM ฝังสู่เนื้อในองค์กร
• Roles ครบบทบาท ครบหน่วยงาน
• Owners ครบทุกจุดสาคัญ ทาหน้าที่ได้ดี
• CoP ครบ ทาหน้าที่ได้ดี
• KM Process : Use & Deliver values, Documentation
• Lessons learned doc, re-use & value creation
เมื่อ KM ฝังสู่เนื้อในองค์กร(2)
• KM Technologies : ใช้ได้ดี มีมาตรฐานสูง
• Information Architecture
• Policy : Clear expectation
• KM Success stories มากมาย
• Culture : Learning, Share, CQI
• Metrics & Report System
เมื่อ KM ฝังสู่เนื้อในองค์กร(3)
• KM Management ฝังอยู่ใน Organization
Management
๖ องค์ประกอบของการจัดการความรู้
• เชื่อมโยงคนเข้าหากัน
• เรียนจากประสบการณ์
• เพิ่มโอกาสเข้าถึงเอกสาร (ความรู้)
• เก็บความรู้ไม่ให้สูญหาย
• สร้าง (และใช้) วิธีการที่เป็นเลิศ
• นวัตกรรม
๔ องค์ประกอบของการดาเนินการ
• ด้านเทคโนโลยี : portal, collaboration tools, search engine, lesson management
system
• ด้านบทบาทรับผิดชอบ (roles) : sponsor, ผู้นา COP, ผู้ดูแลระบบความรู้
• ด้านกระบวนการ (เครื่องมือ) : BAR, AAR, storytelling, Appreciative
Inquiry , knowledge assets capture, River Diagram, Peer Assist, etc.
• ด้านการกากับดูแล (governance) : กาหนดนโยบายและความคาดหวัง,
กาหนดการวัดผลและแรงจูงใจ, กาหนดหมวดหมู่ความรู้, กาหนดสิ่งสนับสนุน
พลังทั้ง ๔
บทบาทของผู้บริหาร
• กาหนด KM Vision ตย. ของรัฐสภาฟินแลนด์ “The Parliament is an open
and competent knowledge organization with a cooperation-oriented
work culture and the capacity and will to learn”
• กาหนดขอบเขตของการใช้KM ซึ่งควรครอบคลุมกิจการทั้งหมด
• กาหนด critical knowledge ขององค์กร
• ให้ความเห็นชอบ KM Framework
• ให้ความเห็นชอบยุทธศาสตร์ Change Management
บทบาทของผู้บริหาร (2)
• กาหนดให้มีการประเมินผลกระทบต่อธุรกิจ อาจเริ่มด้วยการศึกษา
สถานภาพ และคาดการณ์ผลกระทบ
task force ในบริษัท BP (British Petroleum) ในปี ๒๕๔๐ ประกอบด้วยผู้บริหาร ๕ - ๑๐
คน ทาหน้าที่ประเมินสถานการณ์ KM ภายในองค์กร และเสนอแนะ รายงานจากคณะทางานระบุว่า
บรรยากาศหลายด้านใน BP เหมาะสมต่อ KM แต่ต้องการความพยายามอย่างมากในการยกระดับความเร็ว
และผลดีจากการเปลี่ยน BP ไปเป็นองค์กรเรียนรู้ หากทาได้ จะมีผลลด ค่าใช้จ่ายปีละ ๕๐๐ ล้านดอลล่าร์
ทักษะ ๗ ประการของทีม KM
• เชิงธุรกิจ
• “คุณอำนวย”
• จัดระบบควำมรู้
• จัดกำรกำรเปลี่ยนแปลง
• จับใจควำมและเขียน
• ไอซีที
• จัดกำรโครงกำร
บทบาทของสมาชิกทีม KM
• Project Director
• Project Manager ดูแลงำนด้ำนกำรจัดกำร
• Knowledge Manager ดูแลระบบควำมรู้
• Communications Lead
• KM Workers and Coaches ช่วยหน่วยงำนย่อยด้ำนกระบวนกำร
หลักการเชิงยุทธศาสตร์ในการประยุกต์ KM
• ควรเริ่มในระดับองค์กร และสนองยุทธศาสตร์ขององค์กร
• ควรเน้นที่ความรู้ที่มีคุณค่าสูง และสนองการตัดสินใจที่มีมูลค่าสูง
• ควรถือเป็นการดาเนินการเพื่อเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม
• เป้าหมายสุดท้ายคือเพื่อให้มีการประยุกต์กรอบ KM ที่ครบถ้วน
• กรอบ KM ต้องบูรณาการอยู่ในโครงสร้างองค์กร
หลักการเชิงยุทธศาสตร์ในการประยุกต์ KM (2)
• กรอบ KM ต้องมีส่วนของการกากับดูแล (governance) เพื่อความ
ต่อเนื่องยั่งยืน
• กรอบ KM เป็นสิ่งที่วางแผนพัฒนาขึ้น ไม่ใช่ปล่อยให้ผุดบังเกิดขึ้นเอง
• ขั้นตอนการดาเนินการ KM ควรมีเป็นขั้นๆ ที่ต้องการการตัดสินใจเป็น
ระยะๆ
• การริเริ่มดาเนินการ KM ควรมีขั้นตอนโครงการนาร่อง
• การริเริ่มดาเนินการ KM ควรทาเป็นโครงการ
ภารกิจด้าน KM 4.0
• K Engineer : กำหนด critical k, ถอด ค., จัดระบบ K Assets, จัดประเมิน ค.
• Lessons-Learned Facilitator : จัดกำรประชุม, จัดเสวนำจน ค. สำคัญ โผล่,
ตรวจจับ, ทำเป็นเอกสำรที่ใช้ง่ำย (Lessons Management Systems), ติดตำมผลกำรใช้งำน สู่
กำรเปลี่ยนวิธีปฏิบัติงำน
• Learning Historian : สัมภำษณ์เก็บข้อมูล, กลั่นกรองร้อยเรียง, เขียนเป็นพรรณนำ
โวหำร, ตรวจควำมแม่นยำ, เผยแพร่
• K Base Publisher : เขียนบทควำมเผยแพร่ออกภำยนอก
ตัวอย่าง
นอกเหนือจากที่เรารู้จักกันอยู่แล้ว
โจทย์ KM สาหรับสถาบันอุดมศึกษา
• โจทย์ตามภารกิจหลัก วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าหมายตามแผน
ยุทธศาสตร์
• PLC – Professional Learning Communities ของ อจ. และเจ้าหน้าที่
เรียนรู้จากการปฏิบัติ เพื่อทาหน้าที่ได้ดีขึ้น ง่ายขึ้น
สรุป KM ในศตวรรษที่ ๒๑
• ทาแล้วได้ผลลัพธ์ / ผลกระทบ ที่ต้องการ
• มีเป้าหมายชัดเจน
• มีการจัดการอย่างเป็นระบบ เป็นส่วนหนึ่งของการจัดการองค์กร
• มีการวัดและปรับตัวสม่าเสมอ
• เป็นยุทธศาสตร์ระยะยาว
• เพื่อการเปลี่ยนวัฒนธรรมองค์กร

More Related Content

Similar to Pattana sil

Km_facilitator_btg_610228_part2
Km_facilitator_btg_610228_part2Km_facilitator_btg_610228_part2
Km_facilitator_btg_610228_part2Pattie Pattie
 
KM 4.0 : การจัดการความรู้ฝังในระบบงาน
KM 4.0 : การจัดการความรู้ฝังในระบบงานKM 4.0 : การจัดการความรู้ฝังในระบบงาน
KM 4.0 : การจัดการความรู้ฝังในระบบงานPattie Pattie
 
W2 conceptระบบkm
W2 conceptระบบkmW2 conceptระบบkm
W2 conceptระบบkmSumniang Na
 
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้Nona Khet
 
คุณค่าของ R2R และ KM แบบหยั่งรากลึก part I
คุณค่าของ R2R และ KM แบบหยั่งรากลึก part Iคุณค่าของ R2R และ KM แบบหยั่งรากลึก part I
คุณค่าของ R2R และ KM แบบหยั่งรากลึก part IPattie Pattie
 
ยุทธศาสตร์นักจัดการความรู้
ยุทธศาสตร์นักจัดการความรู้ยุทธศาสตร์นักจัดการความรู้
ยุทธศาสตร์นักจัดการความรู้Utai Sukviwatsirikul
 
การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 และการพัฒนาการเรียนการสอน
การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 และการพัฒนาการเรียนการสอนการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 และการพัฒนาการเรียนการสอน
การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 และการพัฒนาการเรียนการสอนTeacher Sophonnawit
 
คู่มือการจัดทำแผนการจัดการความรู้
คู่มือการจัดทำแผนการจัดการความรู้  คู่มือการจัดทำแผนการจัดการความรู้
คู่มือการจัดทำแผนการจัดการความรู้ Walaiporn Mahamai
 
การจัดการความรู้ด้านการวิจัยเพื่อพัฒนาท้องถิ่น
การจัดการความรู้ด้านการวิจัยเพื่อพัฒนาท้องถิ่นการจัดการความรู้ด้านการวิจัยเพื่อพัฒนาท้องถิ่น
การจัดการความรู้ด้านการวิจัยเพื่อพัฒนาท้องถิ่นKorawan Sangkakorn
 
Basic K M1 Sept05 2
Basic K M1 Sept05 2Basic K M1 Sept05 2
Basic K M1 Sept05 2Black Coffee
 

Similar to Pattana sil (20)

Btg 610208
Btg 610208Btg 610208
Btg 610208
 
Km_facilitator_btg_610228_part2
Km_facilitator_btg_610228_part2Km_facilitator_btg_610228_part2
Km_facilitator_btg_610228_part2
 
KM 4.0 : การจัดการความรู้ฝังในระบบงาน
KM 4.0 : การจัดการความรู้ฝังในระบบงานKM 4.0 : การจัดการความรู้ฝังในระบบงาน
KM 4.0 : การจัดการความรู้ฝังในระบบงาน
 
W2 conceptระบบkm
W2 conceptระบบkmW2 conceptระบบkm
W2 conceptระบบkm
 
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
 
Km3
Km3Km3
Km3
 
คุณค่าของ R2R และ KM แบบหยั่งรากลึก part I
คุณค่าของ R2R และ KM แบบหยั่งรากลึก part Iคุณค่าของ R2R และ KM แบบหยั่งรากลึก part I
คุณค่าของ R2R และ KM แบบหยั่งรากลึก part I
 
Km cream
Km creamKm cream
Km cream
 
ยุทธศาสตร์นักจัดการความรู้
ยุทธศาสตร์นักจัดการความรู้ยุทธศาสตร์นักจัดการความรู้
ยุทธศาสตร์นักจัดการความรู้
 
Thai edu21n1
Thai edu21n1Thai edu21n1
Thai edu21n1
 
Lectures 14 2.2
Lectures 14 2.2Lectures 14 2.2
Lectures 14 2.2
 
การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 และการพัฒนาการเรียนการสอน
การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 และการพัฒนาการเรียนการสอนการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 และการพัฒนาการเรียนการสอน
การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 และการพัฒนาการเรียนการสอน
 
Introduction to Knowledge Management
Introduction to Knowledge ManagementIntroduction to Knowledge Management
Introduction to Knowledge Management
 
คู่มือการจัดทำแผนการจัดการความรู้
คู่มือการจัดทำแผนการจัดการความรู้  คู่มือการจัดทำแผนการจัดการความรู้
คู่มือการจัดทำแผนการจัดการความรู้
 
การจัดการความรู้ด้านการวิจัยเพื่อพัฒนาท้องถิ่น
การจัดการความรู้ด้านการวิจัยเพื่อพัฒนาท้องถิ่นการจัดการความรู้ด้านการวิจัยเพื่อพัฒนาท้องถิ่น
การจัดการความรู้ด้านการวิจัยเพื่อพัฒนาท้องถิ่น
 
Km
KmKm
Km
 
Km
KmKm
Km
 
Chapter 6
Chapter 6Chapter 6
Chapter 6
 
R2 rppt
R2 rpptR2 rppt
R2 rppt
 
Basic K M1 Sept05 2
Basic K M1 Sept05 2Basic K M1 Sept05 2
Basic K M1 Sept05 2
 

More from Pattie Pattie

สรุปการประชุม AAR การเข้าร่วมงาน HA National Forum ครั้งที่ 24 จาก กสศ
สรุปการประชุม AAR การเข้าร่วมงาน HA National Forum ครั้งที่ 24 จาก กสศสรุปการประชุม AAR การเข้าร่วมงาน HA National Forum ครั้งที่ 24 จาก กสศ
สรุปการประชุม AAR การเข้าร่วมงาน HA National Forum ครั้งที่ 24 จาก กสศPattie Pattie
 
สรุป Schools That Matter วันที่ 10 เมษายน 2567
สรุป Schools That Matter วันที่ 10 เมษายน 2567สรุป Schools That Matter วันที่ 10 เมษายน 2567
สรุป Schools That Matter วันที่ 10 เมษายน 2567Pattie Pattie
 
รูปแบบการขยายผลการจัดการเรียนรู้การแพทย์ฉุกเฉิน
รูปแบบการขยายผลการจัดการเรียนรู้การแพทย์ฉุกเฉินรูปแบบการขยายผลการจัดการเรียนรู้การแพทย์ฉุกเฉิน
รูปแบบการขยายผลการจัดการเรียนรู้การแพทย์ฉุกเฉินPattie Pattie
 
AIforTeaching โดย รศ. ดร. สิริวุฒิ บูรณพิร
AIforTeaching โดย รศ. ดร. สิริวุฒิ บูรณพิรAIforTeaching โดย รศ. ดร. สิริวุฒิ บูรณพิร
AIforTeaching โดย รศ. ดร. สิริวุฒิ บูรณพิรPattie Pattie
 
การบริหารวิชาการและหลักสูตร บรรยายโดย ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช
การบริหารวิชาการและหลักสูตร บรรยายโดย ศ.นพ.วิจารณ์ พานิชการบริหารวิชาการและหลักสูตร บรรยายโดย ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช
การบริหารวิชาการและหลักสูตร บรรยายโดย ศ.นพ.วิจารณ์ พานิชPattie Pattie
 
The Lancet Commission on peaceful societies through health equity and gender ...
The Lancet Commission on peaceful societies through health equity and gender ...The Lancet Commission on peaceful societies through health equity and gender ...
The Lancet Commission on peaceful societies through health equity and gender ...Pattie Pattie
 
คณะพยาบาลศาสตร์ สบช KMSharingforLearningOrganization
คณะพยาบาลศาสตร์ สบช KMSharingforLearningOrganizationคณะพยาบาลศาสตร์ สบช KMSharingforLearningOrganization
คณะพยาบาลศาสตร์ สบช KMSharingforLearningOrganizationPattie Pattie
 
การประชุมกลุ่มสามพราน ตระกูล ส โดย ศ.นพ.ประเวศ วะสี
การประชุมกลุ่มสามพราน ตระกูล ส โดย ศ.นพ.ประเวศ วะสีการประชุมกลุ่มสามพราน ตระกูล ส โดย ศ.นพ.ประเวศ วะสี
การประชุมกลุ่มสามพราน ตระกูล ส โดย ศ.นพ.ประเวศ วะสีPattie Pattie
 
Transformative Education——Pearls in Medical Education 2567
Transformative Education——Pearls in Medical Education 2567Transformative Education——Pearls in Medical Education 2567
Transformative Education——Pearls in Medical Education 2567Pattie Pattie
 
ResearchfoundationPro.pdf
ResearchfoundationPro.pdfResearchfoundationPro.pdf
ResearchfoundationPro.pdfPattie Pattie
 
PMAYP2024_Opening speech (Prof. Vicharn).pdf
PMAYP2024_Opening speech (Prof. Vicharn).pdfPMAYP2024_Opening speech (Prof. Vicharn).pdf
PMAYP2024_Opening speech (Prof. Vicharn).pdfPattie Pattie
 
KrungthepThaonUniv.pptx
KrungthepThaonUniv.pptxKrungthepThaonUniv.pptx
KrungthepThaonUniv.pptxPattie Pattie
 
จาก KM สู่ SLC.pptx
จาก KM สู่ SLC.pptxจาก KM สู่ SLC.pptx
จาก KM สู่ SLC.pptxPattie Pattie
 

More from Pattie Pattie (20)

สรุปการประชุม AAR การเข้าร่วมงาน HA National Forum ครั้งที่ 24 จาก กสศ
สรุปการประชุม AAR การเข้าร่วมงาน HA National Forum ครั้งที่ 24 จาก กสศสรุปการประชุม AAR การเข้าร่วมงาน HA National Forum ครั้งที่ 24 จาก กสศ
สรุปการประชุม AAR การเข้าร่วมงาน HA National Forum ครั้งที่ 24 จาก กสศ
 
สรุป Schools That Matter วันที่ 10 เมษายน 2567
สรุป Schools That Matter วันที่ 10 เมษายน 2567สรุป Schools That Matter วันที่ 10 เมษายน 2567
สรุป Schools That Matter วันที่ 10 เมษายน 2567
 
รูปแบบการขยายผลการจัดการเรียนรู้การแพทย์ฉุกเฉิน
รูปแบบการขยายผลการจัดการเรียนรู้การแพทย์ฉุกเฉินรูปแบบการขยายผลการจัดการเรียนรู้การแพทย์ฉุกเฉิน
รูปแบบการขยายผลการจัดการเรียนรู้การแพทย์ฉุกเฉิน
 
AIforTeaching โดย รศ. ดร. สิริวุฒิ บูรณพิร
AIforTeaching โดย รศ. ดร. สิริวุฒิ บูรณพิรAIforTeaching โดย รศ. ดร. สิริวุฒิ บูรณพิร
AIforTeaching โดย รศ. ดร. สิริวุฒิ บูรณพิร
 
การบริหารวิชาการและหลักสูตร บรรยายโดย ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช
การบริหารวิชาการและหลักสูตร บรรยายโดย ศ.นพ.วิจารณ์ พานิชการบริหารวิชาการและหลักสูตร บรรยายโดย ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช
การบริหารวิชาการและหลักสูตร บรรยายโดย ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช
 
The Lancet Commission on peaceful societies through health equity and gender ...
The Lancet Commission on peaceful societies through health equity and gender ...The Lancet Commission on peaceful societies through health equity and gender ...
The Lancet Commission on peaceful societies through health equity and gender ...
 
คณะพยาบาลศาสตร์ สบช KMSharingforLearningOrganization
คณะพยาบาลศาสตร์ สบช KMSharingforLearningOrganizationคณะพยาบาลศาสตร์ สบช KMSharingforLearningOrganization
คณะพยาบาลศาสตร์ สบช KMSharingforLearningOrganization
 
การประชุมกลุ่มสามพราน ตระกูล ส โดย ศ.นพ.ประเวศ วะสี
การประชุมกลุ่มสามพราน ตระกูล ส โดย ศ.นพ.ประเวศ วะสีการประชุมกลุ่มสามพราน ตระกูล ส โดย ศ.นพ.ประเวศ วะสี
การประชุมกลุ่มสามพราน ตระกูล ส โดย ศ.นพ.ประเวศ วะสี
 
Transformative Education——Pearls in Medical Education 2567
Transformative Education——Pearls in Medical Education 2567Transformative Education——Pearls in Medical Education 2567
Transformative Education——Pearls in Medical Education 2567
 
ResearchfoundationPro.pdf
ResearchfoundationPro.pdfResearchfoundationPro.pdf
ResearchfoundationPro.pdf
 
PMAYP2024_Opening speech (Prof. Vicharn).pdf
PMAYP2024_Opening speech (Prof. Vicharn).pdfPMAYP2024_Opening speech (Prof. Vicharn).pdf
PMAYP2024_Opening speech (Prof. Vicharn).pdf
 
670111_PDF.pdf
670111_PDF.pdf670111_PDF.pdf
670111_PDF.pdf
 
NoteMemoCare.pdf
NoteMemoCare.pdfNoteMemoCare.pdf
NoteMemoCare.pdf
 
KrungthepThaonUniv.pptx
KrungthepThaonUniv.pptxKrungthepThaonUniv.pptx
KrungthepThaonUniv.pptx
 
จาก KM สู่ SLC.pptx
จาก KM สู่ SLC.pptxจาก KM สู่ SLC.pptx
จาก KM สู่ SLC.pptx
 
Udom_Pdf.pdf
Udom_Pdf.pdfUdom_Pdf.pdf
Udom_Pdf.pdf
 
Kregrit_Pdf.pdf
Kregrit_Pdf.pdfKregrit_Pdf.pdf
Kregrit_Pdf.pdf
 
Phuket_sandbox.pdf
Phuket_sandbox.pdfPhuket_sandbox.pdf
Phuket_sandbox.pdf
 
Surin_ppt.pptx
Surin_ppt.pptxSurin_ppt.pptx
Surin_ppt.pptx
 
Nakornsawan.pdf
Nakornsawan.pdfNakornsawan.pdf
Nakornsawan.pdf
 

Pattana sil

  • 1. การจัดการความรู้ในศตวรรษที่ ๒๑ วิจารณ์ พานิช ประธานมูลนิธิสถาบันส่งเสริมการจัดการความรู้เพื่อสังคม (สคส.) บรรยายในการประชุมวิชาการ การจัดการความรู้ระดับชาติ สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ ครั้งที่ ๑ วันที่ ๑๐ พฤษภาคม ๒๕๖๑
  • 2. KM คืออะไร • คือการจัดการให้ “ความรู้” ออกฤทธิ์ ส่งผลต่อความสาเร็จของงาน • คนได้เรียนรู้ ได้HRD • องค์กรมีบรรยากาศที่ดี มีความเข้มแข็ง เป็นองค์กรเรียนรู้ เกิด OD
  • 3. KM คืออะไร (๒) • คือเครื่องมือของการเรียนรู้จากการปฏิบัติ • เรียนรู้จากการปฏิบัติและสะท้อนคิดร่วมกัน • คือการจัดให้มีความรู้พร้อมใช้ในการทางาน • และหมุนเกลียวความรู้ยกระดับต่อเนื่อง
  • 4. คือ การจัดการสินทรัพย์ที่จับต้องไม่ได้ • Knowledge Management • Brand Management • Reputation Management • Quality Management • Talent Management • Safety Management • Risk Management • Customer Relationship Management Intangible Assets แปลง ค. เป็นรายได้/กาไร/ผลประกอบการ
  • 5. ช่วยให้กิจการพัฒนาต่อเนื่องตามการ ปป. ภายนอก • เรียนรู้ได้เร็ว • พัฒนาต่อเนื่อง • กาหนดเป็นมาตรฐาน • ข้อมูลเชิงลึกช่วยการตัดสินใจ • พัฒนาสินค้าหรือบริการที่ล้าหน้า KM
  • 6. ความรู้เป็น means • งาน • คน • องค์กร End คือ
  • 7. KM 1.0 สร้างถังใส่ความรู้ KM 2.0 Human KM KM 3.0 อยู่ในวิถี มีเป้าหมาย ใช้IT KM 4.0 มี Framework มีการจัดการระบบ
  • 8. KM 2.0 : Human KM • เปิดใจ ยินดี/กล้า แลกเปลี่ยน ยิ่งให้ยิ่งได้ • EK, TK, SECI Cycle • ฟังอย่างลึก เรื่องเล่าเร้าพลัง AI (Appreciative Inquiry) • BAR, DAR, AAR, Retrospect, ถอดความรู้ • Peer Assist เน้นฝึกทักษะคน
  • 9. หลักการ สาคัญ• อยู่ในวิถี • มีเป้าหมาย • ใช้IT อย่างมีระบบ • มีการจัดการ “หัวปลา” (เป้าหมาย) และ สารสนเทศ • มีการจัดการความรู้จากภายนอก ของ KM 3.0 https://www.gotoknow.org/posts/599304 https://www.gotoknow.org/posts/603647 http://kmi.or.th/wp-content/uploads/2015/11/new-sky-of-km.pdf
  • 10. KM 4.0 มีแม่ยก • จับเป้า • ทาเป็นระบบ • ทาอย่างเป็นขั้นตอน • มีการวัดและสื่อสาร https://www.gotoknow.org/posts/tags/milton
  • 11. KM 4.0 มีแม่ยก • จับเป้า • ทาเป็นระบบ • ทาอย่างเป็นขั้นตอน • มีการวัดและสื่อสาร Change Management
  • 12. 1. จับ • ยึดกุมภาพใหญ่ ครอบคลุม • ทาเล็ก พุ่งเป้า ... ภารกิจหลักขององค์กร • จัดการ Critical Knowledge เพื่อ ผลสัมฤทธิ์ของภารกิจหลัก
  • 13. 2. ทาเป็นระบบ มี กรอบงาน KM (KM Framework) • คน ผู้แสดงบทบาทและรับผิดชอบ (roles) • กระบวนการที่ใช้(process) ที่เป็นมาตรฐานกลาง • เทคโนโลยี เพื่อหนุนการ ลปรร. ครบวงจร ใช้ร่วมกันทั้งองค์กร • กลไกกากับดูแล (governance) : สร้างกติกา ข้อตกลง
  • 15. 3. ทาอย่างเป็นขั้นตอน 1. ยุทธศาสตร์ (Strategy Phase) 2. วางแผน (Planning Phase) 3. ทดสอบ & โครงการนาร่อง (Testing & Pilot Phase) 4. ขยายผล (Roll-out Phase) 5. บูรณาการกับงานประจา (Operational Phase)
  • 16. 4. มีการวัดและสื่อสาร • ตั้งเป้า benefit • สร้างวิธีวัด • สื่อสารผล • สร้างการยอมรับ พลังมวลชน พลังนโยบาย
  • 18. เมื่อ KM ฝังสู่เนื้อในองค์กร • Roles ครบบทบาท ครบหน่วยงาน • Owners ครบทุกจุดสาคัญ ทาหน้าที่ได้ดี • CoP ครบ ทาหน้าที่ได้ดี • KM Process : Use & Deliver values, Documentation • Lessons learned doc, re-use & value creation
  • 19. เมื่อ KM ฝังสู่เนื้อในองค์กร(2) • KM Technologies : ใช้ได้ดี มีมาตรฐานสูง • Information Architecture • Policy : Clear expectation • KM Success stories มากมาย • Culture : Learning, Share, CQI • Metrics & Report System
  • 20. เมื่อ KM ฝังสู่เนื้อในองค์กร(3) • KM Management ฝังอยู่ใน Organization Management
  • 21. ๖ องค์ประกอบของการจัดการความรู้ • เชื่อมโยงคนเข้าหากัน • เรียนจากประสบการณ์ • เพิ่มโอกาสเข้าถึงเอกสาร (ความรู้) • เก็บความรู้ไม่ให้สูญหาย • สร้าง (และใช้) วิธีการที่เป็นเลิศ • นวัตกรรม
  • 22. ๔ องค์ประกอบของการดาเนินการ • ด้านเทคโนโลยี : portal, collaboration tools, search engine, lesson management system • ด้านบทบาทรับผิดชอบ (roles) : sponsor, ผู้นา COP, ผู้ดูแลระบบความรู้ • ด้านกระบวนการ (เครื่องมือ) : BAR, AAR, storytelling, Appreciative Inquiry , knowledge assets capture, River Diagram, Peer Assist, etc. • ด้านการกากับดูแล (governance) : กาหนดนโยบายและความคาดหวัง, กาหนดการวัดผลและแรงจูงใจ, กาหนดหมวดหมู่ความรู้, กาหนดสิ่งสนับสนุน พลังทั้ง ๔
  • 23. บทบาทของผู้บริหาร • กาหนด KM Vision ตย. ของรัฐสภาฟินแลนด์ “The Parliament is an open and competent knowledge organization with a cooperation-oriented work culture and the capacity and will to learn” • กาหนดขอบเขตของการใช้KM ซึ่งควรครอบคลุมกิจการทั้งหมด • กาหนด critical knowledge ขององค์กร • ให้ความเห็นชอบ KM Framework • ให้ความเห็นชอบยุทธศาสตร์ Change Management
  • 24. บทบาทของผู้บริหาร (2) • กาหนดให้มีการประเมินผลกระทบต่อธุรกิจ อาจเริ่มด้วยการศึกษา สถานภาพ และคาดการณ์ผลกระทบ task force ในบริษัท BP (British Petroleum) ในปี ๒๕๔๐ ประกอบด้วยผู้บริหาร ๕ - ๑๐ คน ทาหน้าที่ประเมินสถานการณ์ KM ภายในองค์กร และเสนอแนะ รายงานจากคณะทางานระบุว่า บรรยากาศหลายด้านใน BP เหมาะสมต่อ KM แต่ต้องการความพยายามอย่างมากในการยกระดับความเร็ว และผลดีจากการเปลี่ยน BP ไปเป็นองค์กรเรียนรู้ หากทาได้ จะมีผลลด ค่าใช้จ่ายปีละ ๕๐๐ ล้านดอลล่าร์
  • 25. ทักษะ ๗ ประการของทีม KM • เชิงธุรกิจ • “คุณอำนวย” • จัดระบบควำมรู้ • จัดกำรกำรเปลี่ยนแปลง • จับใจควำมและเขียน • ไอซีที • จัดกำรโครงกำร
  • 26. บทบาทของสมาชิกทีม KM • Project Director • Project Manager ดูแลงำนด้ำนกำรจัดกำร • Knowledge Manager ดูแลระบบควำมรู้ • Communications Lead • KM Workers and Coaches ช่วยหน่วยงำนย่อยด้ำนกระบวนกำร
  • 27. หลักการเชิงยุทธศาสตร์ในการประยุกต์ KM • ควรเริ่มในระดับองค์กร และสนองยุทธศาสตร์ขององค์กร • ควรเน้นที่ความรู้ที่มีคุณค่าสูง และสนองการตัดสินใจที่มีมูลค่าสูง • ควรถือเป็นการดาเนินการเพื่อเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม • เป้าหมายสุดท้ายคือเพื่อให้มีการประยุกต์กรอบ KM ที่ครบถ้วน • กรอบ KM ต้องบูรณาการอยู่ในโครงสร้างองค์กร
  • 28. หลักการเชิงยุทธศาสตร์ในการประยุกต์ KM (2) • กรอบ KM ต้องมีส่วนของการกากับดูแล (governance) เพื่อความ ต่อเนื่องยั่งยืน • กรอบ KM เป็นสิ่งที่วางแผนพัฒนาขึ้น ไม่ใช่ปล่อยให้ผุดบังเกิดขึ้นเอง • ขั้นตอนการดาเนินการ KM ควรมีเป็นขั้นๆ ที่ต้องการการตัดสินใจเป็น ระยะๆ • การริเริ่มดาเนินการ KM ควรมีขั้นตอนโครงการนาร่อง • การริเริ่มดาเนินการ KM ควรทาเป็นโครงการ
  • 29.
  • 30. ภารกิจด้าน KM 4.0 • K Engineer : กำหนด critical k, ถอด ค., จัดระบบ K Assets, จัดประเมิน ค. • Lessons-Learned Facilitator : จัดกำรประชุม, จัดเสวนำจน ค. สำคัญ โผล่, ตรวจจับ, ทำเป็นเอกสำรที่ใช้ง่ำย (Lessons Management Systems), ติดตำมผลกำรใช้งำน สู่ กำรเปลี่ยนวิธีปฏิบัติงำน • Learning Historian : สัมภำษณ์เก็บข้อมูล, กลั่นกรองร้อยเรียง, เขียนเป็นพรรณนำ โวหำร, ตรวจควำมแม่นยำ, เผยแพร่ • K Base Publisher : เขียนบทควำมเผยแพร่ออกภำยนอก ตัวอย่าง นอกเหนือจากที่เรารู้จักกันอยู่แล้ว
  • 31. โจทย์ KM สาหรับสถาบันอุดมศึกษา • โจทย์ตามภารกิจหลัก วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าหมายตามแผน ยุทธศาสตร์ • PLC – Professional Learning Communities ของ อจ. และเจ้าหน้าที่ เรียนรู้จากการปฏิบัติ เพื่อทาหน้าที่ได้ดีขึ้น ง่ายขึ้น
  • 32. สรุป KM ในศตวรรษที่ ๒๑ • ทาแล้วได้ผลลัพธ์ / ผลกระทบ ที่ต้องการ • มีเป้าหมายชัดเจน • มีการจัดการอย่างเป็นระบบ เป็นส่วนหนึ่งของการจัดการองค์กร • มีการวัดและปรับตัวสม่าเสมอ • เป็นยุทธศาสตร์ระยะยาว • เพื่อการเปลี่ยนวัฒนธรรมองค์กร